ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ม. 3 ppt

การสร้างสรรค์ภมู ิปัญญา และวัฒนธรรมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์

ความหมายของภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา หมายถึง ความรู้ ความคดิ ความเชอ่ื ความสามารถ ทก่ี ลมุ่ ชน ไดจ้ ากการสงั่ สมประสบการณ์ ในการปรบั ตวั และดารงชีวติ วัฒนธรรม หมายถงึ ระบบความเชอื่ ระบบคุณคา่ และวิถชี วี ติ ทงั้ หมด

ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการสรา้ งสรรคภ์ ูมิปญั ญา • แต่ละภมู ิภาคของประเทศมีสภาพภูมิศาสตรแ์ ละอากาศ ทแ่ี ตกต่างกัน สภาพภูมศิ าสตร์และสภาพแวดลอ้ ม • ทาใหค้ นไทยตอ้ งแก้ปัญหาให้สอดคล้องกับสภาพภมู ศิ าสตร์ ส่งิ แวดล้อม ลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรม • สังคมไทยเปน็ สงั คมแหง่ ความเสมอภาคภายใต้รัฐธรรมนูญ • คนไทยส่วนใหญน่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา มีวงั และวดั เป็น ศนู ย์กลางการสรา้ งสรรค์ศลิ ปวฒั นธรรม

การแพทย์แผนไทย • การใช้สมุนไพรในการรกั ษาโรค ได้มาจากการทดลองคดิ คน้ คณุ สมบัตขิ องพชื สัตว์ และธาตุทมี่ อี ยตู่ ามธรรมชาติ • การบรหิ ารรา่ งกาย เรยี กวา่ ฤๅษดี ัดตน • การนวดประคบ เปน็ การจบั เส้นดว้ ยมอื หรือใชอ้ ุปกรณ์ต่างๆ เพือ่ ชว่ ย บาบดั รักษาโรค

การทอผ้าพ้นื บา้ น เปน็ หัตถกรรมในครวั เรือนทส่ี บื ทอดต่อกนั มา สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ วฒั นธรรมไทย ดงั น้ี • รู้จกั นาวัสดธุ รรมชาตทิ มี่ อี ยู่ในท้องถิน่ มาใช้ในการทอผ้า • ร้จู ักประดิษฐล์ วดลายลงบนผนื ผา้ • อาศยั แรงงานคนในครอบครัวแทนเครอื่ งจักรในการทอเคร่ืองนุ่งห่มใช้ใน ครอบครัว

ขา้ วในวฒั นธรรมไทย • ข้าวเป็นบอ่ เกดิ ของความเช่อื ประเพณี และพิธกี รรมต่างๆ เชน่ พิธไี หวแ้ มโ่ พสพ พิธีเล้ยี งผตี าแฮก พิธบี ชู าแม่ธรณี • พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวญั เพอื่ เปน็ สิรมิ งคลและขวัญกาลงั ใจ ใหแ้ กเ่ กษตรกร

งานเครือ่ งไมจ้ าหลกั • ใชเ้ พอื่ ประดบั ตกแต่งสถาปตั ยกรรมตา่ งๆ ภาพจาหลกั ส่วนใหญเ่ ป็นเทพยดา รกั ษาประตโู บสถ์ หรือรักษาโบสถ์ • สะท้อนถงึ ความสามารถของช่างไทยทีส่ รา้ งสรรค์ผลงานด้วยความประณตี เปน็ พเิ ศษ และได้สบื ทอดมาถงึ อนชุ นรนุ่ หลงั

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช • ทรงส่งเสรมิ ศิลปวัฒนธรรมไทยทกุ แขนง รวมทั้งภาษาไทยซง่ึ เปน็ ภาษาประจาชาติ • ทรงพระอกั ษรและทรงพระราชนิพนธห์ นังสือแปลหลายเร่ือง • ทรงฟ้ืนฟูพระราชพธิ สี าคญั เชน่ พระราชพธิ จี รดพระนังคัลแรกนาขวญั พระราชพธิ ีเสดจ็ พระราชดาเนนิ ถวายผา้ พระกฐนิ โดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เป็นตน้

สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงฟนื้ ฟูลายมัดหมี่แบบโบราณ • ภาคใต้ ทรงฟืน้ ฟศู ลิ ปะการจกั สานยา่ นลเิ ภา การถมเงิน ถมทอง การแกะสลกั หนังตะลงุ • ภาคเหนือ ทรงฟ้ืนฟูการทอผ้าไหม ผ้ายก ผ้าตีนจก และงานเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย • ภาคกลาง ทรงฟน้ื ฟูการปัน้ ตกุ๊ ตาชาววัง

มลู นิธสิ ่งเสริมศิลปาชีพในสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ • สง่ เสริมสนับสนนุ การดาเนนิ งานของศูนย์ศลิ ปาชพี มศี ูนย์ใหญ่ 2 แห่ง คอื ศนู ย์ศลิ ปาชพี สวนจิตรลดา และศูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร

พระยาอนมุ านราชธน (เสถียรโกเศศ) • เป็นประธานกรรมการชาระปทานกุ รม ทาอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย บญั ญตั ศิ พั ท์ ภาษาตา่ งประเทศเปน็ ภาษาไทย และทาสารานกุ รมไทย • ผลงานที่สาคญั เชน่ หนงั สือชีวิตชาวไทยสมยั ก่อนและการศกึ ษาเร่ืองประเพณไี ทย หนงั สือการศกึ ษาวรรณคดีแงว่ รรณศลิ ป์ หนังสือศาสนาเปรียบเทียบ

ในสมัยรัตนโกสินทร์ คนไทยได้สร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยเพื่อประโยชน์สำหรับการแก้ปัญหาในการดำรงชีวิตมานานแล้ว  และยังทีอิทธิพลต่อการพัฒนาประเทศได้เป็นอย่างดี ซึ่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ในที่นี้จะยกมาศึกษาเพียงบางตัวอย่าง

การแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนไทย หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บำบัด หรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์หรือสัตว์ การผดุงครรภ์ การนวดไทย และหมายความรวมถึงการเตรียมการผลิตยาแผนไทย ประดิษฐ์อุปกรณ์ และเครื่องมือทางการแพทย์ โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและสืบต่อกันมา

การทอผ้าพื้นบ้าน การทอผ้าพื้นบ้านของไทยเป็นหัตคกรรมในครัวเรือนที่ได้ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษสู่คนรุ่นหลัง ซึ่งเกิดขึ้นจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ในการทอผ้าด้วนตนเองในประณีต สวยงาม จนเกิดเป็นภูมิปัญญาไทยในภูมิปัญญาไทยในการทอผ้า โดยที่ลวดลายต่างๆ บนผืนผ้านั้นล้วนได้รับแรงบันดาลใจมาจากสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและจินตนาการของผู้ทอ จนสามารถสร้างสรรค์ลวดลายที่มีความสวยงาม ดังนั้น การทอผ้าพื้นบ้านจึงกลายเป็นวัฒนธรรมไทยอันเป็นมรดกล้ำค่าของคนไทยในท้องถิ่นและของชาติไทย

ข้าวในวัฒนธรรมไทย ข้าวนับว่ามีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็นระยะเวลายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์มาจนถึงปัจจุบัน ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทยและเป็นบ่อเกิดของความเชื่อ ประเพณีและพิิธีกรรมต่างๆ เช่น พิธีไหว้แม่โพสพ ซึ่งเป็นเทพยาดาประจำต้นข้าวเพื่อรักษาต้านข้าวให้สมบูรณ์แข็งแรงและออกรวงในปริมาณมาก พิธีเลี้ยงผีตาแฮก ซึ่งเป็นผีประจำไร่นา คอยดูแลต้นกล้าและนาข้าว พิธีบูชาแม่ธรณี เมื่อแรกไถนา แรกหว่านข้าว และแรกดำนา แม้แต่พิธีไหว้พระหรือไหว้บรรพบุรุษในเทศกาลต่างๆ

งานเครื่องไม้จำหลัก งานศิลปกรรมที่กระทำบนเนื้อไม้  ด้วยวิธีการสลัก  ฉลัก  หรือจำหลัก  ให้เป็นรูปร่าง  ลวดลาย  ด้วยเครื่องมือต่างๆ  เป็นงานประณีตศิลป์อย่างหนึ่งที่ช่างผู้ดำเนินงานต้องมีความรู้ความชำนาญเฉพาะตัว  เพราะต้องใช้ความประณีตในการถ่ายทอดรูปแบบและลวดลายลงบนวัสดุที่เป็นไม้  ด้วยการใช้เครื่องมือที่ทำจากโลหะในการแกะสลัก  ดังนั้น  ช่างจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในลวดลายต่างๆ พอสมควร  จึงจะสามารถทำงานให้เกิดความงดงามถูกต้องได้  ในปัจจุบันมักเรียกวิธีการทำงานแบบนี้ว่า  การแกะสลัก  และเรียกช่างผู้ทำงานด้านนี้ว่า ช่างแกะสลัก เรียกงานศิลปกรรมที่เกี่ยวกับการแกะสลักไม้นี้ว่า  เครื่องไม้จำหลัก