ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่

ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่

06 ส.ค. 2565 เวลา 11:39 น.14.8k

ผู้ประกันตนเช็คเลย เงินสมทบประกันสังคม 2565 มาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคม เดือนสิงหาคม เท่าไหร่

จากกรณีที่ล่าสุด ประกันสังคม ได้ประกาศลดเงินสมทบประกันสังคม ในช่วงเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2565 ซึ่งทำให้ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 จะต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคม เดือนสิงหาคม แบบเต็มจำนวน เพราะไม่ได้ลดเงินประกันสังคมแล้ว โดยเริ่มเดือนสิงหาคม 2565 แต่ละมาตราจ่ายเป็นจำนวนเท่าไหร่ มีคำตอบ

ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่

เงินสมทบประกันสังคม เดือนสิงหาคม 2565
 

ผู้ประกันตนมาตรา 33

ส่งเงินสมทบประกันสังคมมาตรา 33 เป็นจำนวน 5% ต่อเดือน หรือจ่ายในอัตรา 750 บาทต่อเดือน เช่น

- เงินเดือน 9,000 บาท (เงินเดือน) x 5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 450 บาท ต้องหักเข้าประกันสังคม
- เงินเดือน 15,000 บาท (เงินเดือน) x 5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 750 บาท ต้องหักเข้าประกันสังคม

ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่

ผู้ประกันตนมาตรา 39

ส่งเงินสมทบประกันสังคมมาตรา 39 เป็นจำนวน 9% ต่อเดือน หรือจ่ายในอัตรา 432 บาทต่อเดือน เช่น

- เงินเดือน 4,800 บาท (ฐานเงินที่ใช้คำนวณ) x 9% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 432 บาท

ผู้ประกันตนมาตรา 40

- ทางเลือกที่ 1 จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน ในกรณีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย จากเดิมจ่ายในอัตรา 70 บาทต่อเดือน
- ทางเลือกที่ 2 จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน ในกรณีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย และกรณีชราภาพ จากเดิมจ่ายในอัตรา 100 บาทต่อเดือน
- ทางเลือกที่ 3 จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย ชราภาพ และกรณีสงเคราะห์บุตร จากเดิมจ่ายในอัตรา 300 บาทต่อเดือน

ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่
ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ tnews

ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่

เปิดรายละเอียดการลดจ่าย "เงินสมทบประกันสังคมมาตรา 39" พร้อมเช็คลิสต์สิทธิ์ที่ผู้ประกันตนจะได้รับ

หลังจากที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขให้ลดการออกเงินสมทบของนายจ้างและผู้ประกันตน กรณีการระบาดของโรคโควิด-19 โดยลดการออกเงินสมทบเข้า "กองทุนประกันสังคม" ฝ่ายนายจ้างและฝ่าย "ผู้ประกันตนตามมาตรา 33" จากปกติฝ่ายละ 5% เหลือฝ่ายละ 2% ของค่าจ้างผู้ประกันตน

นอกจากนี้ ยังให้ความช่วยเหลือ "ผู้ประกันตนตามมาตรา 39" ให้ส่งเงินสมทบเดือนละ 96 บาท จากปกติที่ต้องจ่ายเดือนละ 432 บาท เป็นระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่งวดค่าจ้างเดือน ก.ย.–พ.ย. 63

อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง: 

  • ลดประกันสังคมเหลือ 2% อัดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ 2.4 หมื่นล้าน
  • ประกันสังคม 101 | พนักงานประจำ จ่ายประกันสังคมทุกเดือน ได้สิทธิ์อะไรบ้าง?
  • 'ประกันสังคม' มีแล้วต้องใช้ คุณเป็นผู้ประกันตนมาตราอะไร?

ถึงแม้จะลดเงินสมทบเหลือเพียงเดือนละ 96 บาท ในช่วงเวลาที่กำหนด แต่กลุ่มผู้ประกันตนมาตรา 39 จะยังคงได้สิทธิ์ในความคุ้มครอง 6 กรณี ได้แก่ เจ็บป่วย ตาย คลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ทุพพลภาพ และชราภาพ โดย "กรุงเทพธุรกิจออนไลน์" พาไปดูรายละเอียดสิทธิประโยชน์ต่างๆ ในฐานะผู้ประกันตน ดังนี้

ประกันสังคม มาตรา 39 เดือนนี้ จ่าย เท่า ไหร่

  •  สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ สำหรับ "ผู้ประกันตนมาตรา 39" 

สิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้ มี 6 กรณี คือ

1. กรณีเจ็บป่วย หากเป็นการเจ็บป่วยปกติ มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามสิทธิการรักษาพยาบาล ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรืออุบัติเหตุสปส.จะเป็นผู้จ่ายค่ารักษาพยาบาล

2. กรณีทุพพลภาพ ค่ารักษาพยาบาล กรณีเข้ารับบริการทางการแพทย์ในสถานพยาบาลของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ หากรักษาในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยนอกจ่ายค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท กรณีผู้ป่วยในจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเดือนละ 4,000 บาท

3. กรณีคลอดบุตร ฝากครรภ์และคลอดบุตรได้ทุกโรงพยาบาล ในการเบิกค่าคลอด ผู้ประกันตนชาย-หญิง สามารถเบิกค่าคลอดแบบเหมาจ่าย 13,000 บาทไม่จำกัดจำนวนครั้ง และผู้ประกันตนหญิงจะได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอด 50% ของค่าจ้างเป็นระยะเวลา 90 วัน

4. กรณีสงเคราะห์บุตร เหมาจ่ายเดือนละ 600 บาทต่อบุตรหนึ่งคน โดยสามารถรับได้เมื่อบุตรมีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ จำนวนคราวละไม่เกิน 3 คน

5. กรณีชราภาพ หากผู้ประกันตนมีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ ก็จะได้รับเงินบำเหน็จหรือเงินบำนาญ เงินบำเหน็จชราภาพ หากจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน ก็จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับเงินสมทบที่ผู้ประกันตนได้จ่ายไป หากจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป แต่จ่ายเงินสมทบไม่ถึง 180 เดือน ก็จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ

ส่วนเงินบำนาญชราภาพ หากจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน จะได้รับเงินบำนาญชราภาพ ในอัตรา 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย แต่ถ้าจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอัตราบำนาญชราภาพอีก 1.5% ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบที่เพิ่มขึ้นทุก 12 เดือน

6.กรณีเสียชีวิต หากจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 1 เดือน ภายในระยะเวลา 6 เดือน โดยจะได้รับเงินค่าทำศพ 40,000 บาท และได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตาย หากผู้ประกันตนได้ส่งเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่ 36 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึง 120 เดือน ได้รับอัตรา 50% ของค่าจ้างเฉลี่ย 4 เดือน ถ้าส่งเงินสมทบตั้งแต่ 120 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินสงเคราะห์ในอัตรา 50% ของค่าจ้างเฉลี่ย 12 เดือน

  •  ช่องทางการสมัครเป็นผู้ประกันสังคม มาตรา 39 

คุณสมบัติของผู้ที่สามารถสมัครเป็นผู้ประกันสังคม มาตรา 39 ได้คือ ผู้ที่เคยเป็นพนักงานเอกชนแล้วลาออก โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องเคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือน ลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน

โดยสามารถยื่นใบสมัครตามแบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 (แบบ สปส. 1-20) ด้วยตนเอง ภายใน 6 เดือน นับแต่วันออกจากงาน โดยสถานที่ยื่นใบสมัคร กรุงเทพฯ ยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ ส่วนภูมิภาค ยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสำนักงานประกันสังคมจังหวัดสาขา

  •  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  Contact Center 1506 ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ หรือ www.sso.go.th

ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ ประกันสังคม