วิจัยในชั้นเรียนการ งานอาชีพ มัธยม

วจิ ยั ในช้นั เรยี น เรื่อง “การศกึ ษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและทักษะกระบวนการกล่มุ สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) โดยใชร้ ปู แบบการสอนแบบบูรณาการ” โดย นายน่านมงคล อนิ ด้วง ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

บทคัดย่อ การวจิ ยั คร้ังน้มี วี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื 1)เพ่อื ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษา ปีที่ ๔ ห้อง ๔ สายเกษตร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) เร่ืองการปลูก ผักสวนครัว โดยใช้รูปแบบการสอนแบบบูรณาการ ให้จานวนนักเรียนร้อยละ 75 ข้ึนไป มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2)ศึกษาทักษะกระบวนการกลุ่มของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง ๔ สายเกษตร กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) เรื่องการปลูกผักสวน ครัว โดยใช้การสอนแบบบูรณาการ เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยมีรูปแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเด่ียว กลุ่มเป้าหมายในการวิจยั คอื นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร ที่กาลังศึกษาในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา25๖๓ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ สานกั บริหารงาน การศึกพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 1๘ คน เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ๔ แผน แบบประเมินผลการสังเกต การปฏิบัติกิจกรรมการทางานกลุ่ม แบบตรวจผลงาน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสถิติท่ี ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลคือคา่ เฉลย่ี และคา่ รอ้ ยละ

บทท่ี 1 บทนา หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมและสังคมมนุษย์ อันเนื่องมาจากความก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสง่ ผลใหม้ กี ารปรบั ปรงุ กลไกและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติฉบับท่ี 10 (2550 - 2554) จึงได้มุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจท่ี งดงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเป็น ในการดารงชีวิต อันจะส่งผล ต่อการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ,2550) ซ่ึงในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2545 มาตรา 22 และ 23 ได้กาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ในกระบวนการจัดการศึกษา ถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด ส่งเสริมให้วารสารศึกษาศาสตร์ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ 2553 113 ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในการจัดการศึกษา ท้ังการศึกษาใน ระบบการศึกษานอกและการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการ เรียนและบูรณาการ ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาต่าง ๆ รวมท้ัง ความรู้ทักษะในการ ประกอบอาชีพและการดารงชีวิต อย่างมีความสุข ครูซึ่งทาหน้าท่ีเป็นผู้สอน ผู้จัดการศึกษาจะต้องเป็น ผู้ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบต่างๆ ให้เหมาะสม และเปลี่ยนแปลงบทบาท จากเป็นผู้ ถ่ายทอดความร้เู พยี งอยา่ งเดียวเป็นผู้ชี้นา ผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนในการแสงหาความรู้ จากส่อื และแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ หลกั สูตร กลมุ่ สาระการงานอาชพี จงึ ยดึ หลกั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ให้ความสาคัญในเร่ืองของ องค์รวม ยึดงานกระบวนการจดั การการแก้ปญั หาเปน็ สาคญั บนพืน้ ฐานของการใช้หลักการและทฤษฎีเป็น หลัก (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2552ก) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึง แนวทางการจัดการเรียนรู้และรูปแบบการสอนเพื่อให้เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจาก การบูรณาการความรู้ทักษะและความดีที่หลอมรวมกัน จนก่อเกิดเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนทั้งด้าน คณุ ภาพ และคณุ ธรรมตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนด และสอดคล้องสัมพันธ์กับการดาเนิน ชวี ติ ความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะทีเ่ กิดจากการเรยี นรู้จะทาให้นกั เรียนสามารถเช่ือมโยงกับส่ิงที่ เกิดข้ึนจริงในชีวิต เกิดความสัมพันธ์เช่ือมโยงระหว่างความคิดรวบยอดในศาสตร์ต่างๆ ทาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อยา่ งมคี วามหมาย ชว่ ยใหเ้ กดิ การถา่ ยโอนการเรียนรู้ มีทักษะในการสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ช่วยพฒั นาทักษะกระบวนการ ประสบความสาเรจ็ ดังน้ันการจัดหารูปแบบการสอน เพ่ือให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดคุณลักษณะทั้งด้านคุณภาพ และคุณธรรมตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จึงมี ความสาคัญเช่นกัน อน่ึงพบว่า นักเรียนท่ีเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) เรื่อง การปลูกผักสวนครัว ดา้ นทักษะกระบวน การกลุ่มจากการสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนและผล การปฏิบัติงาน

อย่างสม่าเสมอในการทางานกลุ่มแต่ละครั้ง นกั เรียนไม่รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้านการมีบทบาท ในกลุ่ม การเปน็ ผู้นาทางความคิด การร่วมกันระดมความคิด การนาเสนอและสรุปประเด็น จะมีผู้ปฏิบัติ กิจกรรมอยู่เพียง 2-3 คนเท่านั้น สมาชิกที่เหลือจะไม่มีบทบาทหรือมีบ้างเล็กน้อย นักเรียนขาดความ รับผิดชอบบางคนไม่สนใจงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย ทาให้ได้ผลงาน ไม่เป็นท่ีน่าพอใจ นักเรียนไม่ สามารถนา ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้และจากผลการประเมินของสานักงานรั บรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในมาตรฐานและตัวบ่งช้ีด้านผู้เรียน การมีวินัยในตนเอง ความ รับผิดชอบ การนาทรัพยากรไปใช้ได้ระดับคุณภาพ พอใช้และปัญหาจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ หอ้ ง ๕ สายเกษตร ปีการศึกษา 25๖๓ ได้เฉล่ียร้อย ละ 69.72 ซ่ึงต่ากวา่ เกณฑท์ โ่ี รงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ กาหนด ไว้รอ้ ยละ 75 ดังนน้ั ผู้วิจยั ในฐานะครผู สู้ อนจึงมคี วามสนใจท่ีจะศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และทักษะ กระบวนการกลุ่ม ด้วยการนารูปแบบการสอนแบบบูรณาการภายในวิชา มาใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการ จัดการเรียนรู้เพ่ือแก้ไข ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการ กลุ่มของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สานเกษตร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) เร่ืองการปลูกผัก สวนครวั วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ห้อง๕ สานเกษตร กลุ่ม สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพ (งานเกษตร) เรื่องการปลูกผักสวนครัว โดยใช้รูปแบบการสอนแบบบูรณา การ ให้จานวนนกั เรยี นรอ้ ยละ 75 ขึน้ ไปมผี ลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และผลสัมฤทธ์ิ ทาง การเรียนเฉลีย่ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 75 2. เพ่อื ศึกษาทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ของ นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ หอ้ ง ๕ สายเกษตร กลุ่ม สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) เรื่องการปลูกผักสวนครัวโดยใช้รูปแบบการสอนแบบบูรณา การ ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งน้ีคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร ภาค เรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา 25๖๓ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ จานวน ๑๘ คน 2. ตวั แปรท่ีทาการวิจัย ตัวแปรต้น คือ รูปแบบการสอนแบบบูรณาการภายในวิชา ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและทักษะกระบวนการกล่มุ 3. รปู แบบการวิจัย ในการวิจยั คร้งั น้เี ปน็ การวิจัยเชิงทดลองรูปแบบกลุ่มเดี่ยวทดสอบหลังเรียน เปรยี บเทียบ คะแนนกบั เกณฑ์ทีก่ าหนดไวค้ อื 75/75

บทที่ 2 งานวิจยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาค้นคว้าครัง้ น้ผี ู้ศึกษาคน้ คว้าได้ศึกษาเอกสารที่เกย่ี วข้องกับการศึกษาคน้ ควา้ โดย เรยี งลาดบั ตามหัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยกลุ่มร่วมมอื ประสิทธภิ าพของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 1 งานวจิ ัยภายในประเทศ 2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ การเรียนรู้ดว้ ยกล่มุ รว่ มมอื 1. ความหมายการเรียนร้ดู ว้ ยกลมุ่ ร่วมมือ อารี สัณหฉวี (2543 : 33) กลา่ วว่า การเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ หมายถึงเป็นวิธีการเรียนท่ีให้ นกั เรียนทางานดว้ ยกนั เปน็ กลุ่มเล็ก ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดผลการเรียนรู้ทั้งทางด้านความรู้และทางด้านจิตใจ ช่วย ให้นักเรียนเห็นด้านจิตใจคุณค่าในความแตกต่างระหว่างบุคคลของเพื่อนๆ เคารพความคิดเห็นและ ความสามารถของผอู้ น่ื ทแ่ี ตกตา่ งจากตนตลอดจนร้จู กั ชว่ ยเหลือและสนบั สนุนเพ่ือนๆ สลาวิน (พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. 2544 : 6 ; อ้างอิงมาจาก Slavin. 1977 : 3) กล่าวว่า การ เรียนร้ดู ้วยกล่มุ รว่ มมอื หมายถงึ วิธีการสอนอีกแบบหนึ่ง ซ่ึงกาหนดให้นักเรียนท่ีมีความสามารถแตกต่าง กันทางานร่วมกันเป็นกลมุ่ เลก็ ๆ โดยปกติจะมี 4 คน เป็นนกั เรียนที่เรียนเก่ง 1 คน เรียนปานกลาง 2 คน และเรียนอ่อน 1 คน การทดสอบของนกั เรียนจะแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนแรกจะพิจารณาค่าเฉล่ียของ ท้งั กล่มุ ตอนที่ 2 จะพจิ ารณาคะแนนทดสอบเปน็ รายบุคคลโดยการทดสอบนักเรียนต่างคนต่างทาแต่เวลา เรียนต้องเรยี นร่วมกนั รบั ผดิ ชอบงานของกลมุ่ รว่ มกนั โดยทก่ี ลุม่ จะประสบผลสาเร็จได้ เม่ือสมาชิกทุกคน ไดเ้ รียนรู้ บรรลตุ ามจดุ มุ่งหมาย เชน่ เดียวกัน มานพ ประธรรมสาร (2546 : 10) กล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ คือการทางาน ร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายท่ีมีอยู่ด้วยกัน ภายในกิจกรรมที่ร่วมทานี้ แต่ละคนจะแสวงหาผลลัพธ์ท่ีเป็น ประโยชนต์ อ่ ตนเองและเปน็ ประโยชน์ตอ่ สมาชิกคนอ่นื ๆในกลุม่ การเรียนรูแ้ บบรว่ มมือ ใชใ้ นการสอนกลุ่ม เล็ก ๆ ให้ทางานร่วมกันตามที่ได้รับมอบหมายจนกระท่ังสมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความเข้าใจถูกต้องและ ทางานจนเสร็จสมบรู ณ์ สมาชิกทกุ คนในกลุม่ ไดร้ ับประโยชนจ์ ากความพยายามร่วมกัน สมบัติ กาญจนารักพงค์ (2547 : 5) กล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือเป็นการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนร่วมมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม เล็กๆ 4 - 5 คน ที่มีความสามารถแตกต่างกันทางานร่วมกันเพ่ือเป้าหมายกลุ่มสมาชิกมีปฏิสัมพันธ์

ส่งเสริมซึ่งกันและกันรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม ผลงานของกลุ่มขึ้นอยู่กับผลงานของ สมาชกิ แตล่ ะคนในกลมุ่ ความสาเรจ็ ของแต่ละคนคอื ความสาเรจ็ ของกลุ่ม จากการศึกษาความหมายการเรียนแบบรว่ มมือ สามารถสรุปไดว้ ่าการจดั การเรียนร้ดู ้วยกลมุ่ ร่วมมือกนั เรียนรู้ หมายถึง การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนใช้ความสามารถเฉพาะตัวใน การร่วมมือกันแก้ปัญหาต่างๆ นักเรียนรู้จักวิธีการทางานกลุ่มการช่วยเหลือซ่ึงกันและกันตลอดจนมี ปฏสิ ัมพันธท์ ่ดี ตี ่อกัน เพ่ือใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายโดยสมาชิกในกลุ่มตระหนักว่าแต่ละคนเป็นส่วน หนึง่ ของกลมุ่ 2. หลักการเรียนร้ดู ้วยกล่มุ รว่ มมอื 2.1 การทางานเป็นชีวิตจริงเป็นการทางานร่วมกับผู้อ่ืน ผู้เรียนจึงควรได้ฝึกการทางาน แบบ ร่วมมอื เพื่อเป็นการเตรียมผู้เรียนไดร้ ้จู ักการทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่น 2.2 การทางานเป็นทีมเปน็ ลกั ษณะหนึ่งของการทางานของนกั วทิ ยาศาสตร์ 2.3 การเรยี นรดู้ ว้ ยกลุ่มรว่ มมือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนสอนทุก คนและต้องลงมอื ทางานกับเพอ่ื นสมาชกิ อยา่ งจริงจัง จงึ เป็นการสนับสนุนให้ผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางวิธีหนึ่ง 2.4 การเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมืออาจจัดเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบหรือเป็น กจิ กรรมย่อยของวธิ สี อนสังคมศกึ ษาแบบตา่ งๆ ได้อย่างดี 3. หน้าท่ีครขู องผูส้ อน 3.1 จดั ผเู้ รียนให้มีสมาชกิ แตกต่างกัน กลมุ่ ละประมาณ 3 – 5 คน 3.2 ทบทวนบทบาทการทางานกลุม่ หน้าที่ของสมาชกิ การช่วยเหลือซึ่งกนั และกัน 3.3 ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ในการเรียนให้เขา้ ใจชดั เจนเกี่ยวกบั เนอื้ หาในบทเรียนทีต่ อ้ งศกึ ษา 3.4 ให้ความร่วมมือกลมุ่ ในการทางาน 3.5 ประเมินผล 4. ข้นั ตอนการเรยี นรูด้ ้วยกลุม่ ร่วมมือ 4.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ใช้เวลาประมาณ 8 – 15 นาที เพื่อทบทวนเร่ืองที่มาเรียนแล้ว และทบทวนบทบาทสมาชกิ ภายในกลุ่ม 4.2 ขน้ั การทางานกลุ่ม ใช้เวลา 25 – 30 นาที เป็นข้ันท่ีครูแจกอุปกรณ์หรือส่ือการเรียน ผเู้ รยี นปฏิบตั ิตามบทบาทที่ได้รับมอบหมาย ใช้เวลา 25 – 30 นาที เป็นข้นั ท่ีครู แจกอุปกรณ์หรือสื่อการ เรยี น ผเู้ รยี นปฏิบัตติ ามบทบาทที่ไดร้ บั มอบหมาย 4.3 ขน้ั ระดมสมอง ใชเ้ วลา 10 – 15 นาที เป็นการเสนอผลงาน เสนอแนะร่วมกันท้ังห้อง ให้แตล่ ะกลุ่มไดม้ โี อกาสแสดงความคิดเห็น โดยครูคอยถามให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นได้อย่างเต็มท่ีและ ทว่ั ถึง 5. การประเมนิ 5.1 การเสนอผลงานของผู้เรียนดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ 5.2 การทดสอบ 5.3 การสังเกตการณท์ างานของผู้เรยี นแต่ละกลุ่ม 5.4 การแสดงความคิดเห็นของผู้เรยี นในชั้นระดมสมอง

6. ขอ้ คานงึ ถึงในการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ ว้ ยกล่มุ รว่ มมอื ครูควรคานงึ ถึงกจิ กรรมท่ีเออื้ ตอ่ ผเู้ รียนให้มบี ทบาทในการเรยี น มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม 6.1 เป็นกจิ กรรมท่ีเอ้ือต่อการทจ่ี ะใหผ้ เู้ รยี นมบี ทบาทในการเรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรม ไดม้ ากและทัว่ ถงึ 6.2 เปน็ กจิ กรรมท่ีให้ผ้เู รยี นได้ขอ้ มลู และเรียนรูจ้ ากคนอน่ื ๆ ในกลมุ่ 6.3 เป็นกจิ กรรมทตี่ ้องช่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถพบคาตอบดว้ ยตนเอง 6.4 เปน็ กจิ กรรมทต่ี อ้ งใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรกู้ ระบวนการทางานร่วมกัน ควบคู่กับผลงานท่ี ทา 6.5 เปน็ กจิ กรรมทจี่ ะชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารรถนาไปใชไ้ ด้จริง 7. ประโยชนข์ องการเรยี นรดู้ ว้ ยกลุ่มร่วมมือ 7.1 บรรยากาศในการเรียนจะมีความเปน็ กันเองมากขน้ึ ผ้เู รยี นจะรู้สกึ ปลอดภยั 7.2 สร้างความเช่ือมั่นให้กับผู้เรียน เพระสมาชิกทุกคนภายในกลุ่มรู้สึกว่าตนเอง มคี วามสาคัญต่อกลุ่มเท่ากัน ความเชื่อมั่นในตนเองก็จะถูกกระตุ้นให้เพ่ิมมากข้ึน และช่วยแก้นิสัย ข้ีอาย กบั ผเู้ รยี นบางคน 7.3 ฝกึ ความมีระเบยี บวินยั การจดั กิจกรรมการเรียนรดู้ ว้ ยกลุ่มรว่ มมือ 1. ความหมายของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการเรียนรู้แบบจิกซอว์ เป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ด้วยกลุ่ม รว่ มมือ ซง่ึ นกั การศึกษาหลายทา่ นได้ใหค้ วามหมายไวด้ งั น้ี อรอนสัน (นาตยา ปิลันธนานนท์. 2537 : 209 - 210 ; อ้างอิงจาก Aronson. 1978 : abstract) ไดก้ ลา่ วถึงความหมายการเรียนด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ ไว้ว่า เป็นแนวทางกิจกรรม โดย เอาแนวคิดการต่อภาพจิกซอว์ มาใช้ โดยผู้สอนแบ่งนักเรียนในห้องออกเป็นกลุ่มๆละ 5 - 6 คน แต่ละ กลุ่มใหม้ สี มาชิกเท่ากันทกุ กลมุ่ และสมาชิกกลมุ่ มีความสามารถคละกัน ผู้สอนจะกาหนดงานแยกเป็นส่วน ๆ เท่ากบั จานวนสมาชิกทม่ี ีอยูข่ องแตล่ ะกลุ่ม ใหส้ มาชิกแตล่ ะคนทางาน ของตนไป สลาวิน (Slavin. 1995 : 26) ได้กล่าวถึงความหมายไว้ว่า การเรียนแบบร่วมมือโดยใช้ เทคนิคจิกซอว์ ได้รับการพัฒนาโดย อรอนสัน (Aronson) ซ่ึงมีลักษณะคล้ายจิกซอว์ 2 แต่มีลักษณะ แตกต่างกันที่สาคัญหลายอย่างด้วยกันทั้งน้ี วิธีสอนโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ นักเรียนจะได้อ่านเนื้อหาท่ี แตกต่างกันไปจากเพอ่ื น ๆ ในกลุ่มท้ังน้ีการเรียนแบบจิกซอว์ เนื้อหาที่ใช้ศึกษาจะถูกเขียนเรียบเรียงเป็น บทยอ่ ย ๆ ขึน้ ใหม่เพอ่ื ให้ เขา้ ใจง่าย ซ่งึ ตรงขา้ มกบั จกิ ซอว์ 2 ซง่ึ เน้ือหาที่ใช้ศึกษามีความสัมพันธ์กันไม่ถูก แบง่ ออกเป็นเนือ้ หาย่อย ๆ สุมณฑา พรหมบุญ (2540 : 70 - 71) ได้กล่าวถึงการเรียนด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ (Jigsaw) ไว้วา่ เปน็ กิจกรรมทค่ี รูมอบหมายให้สมาชิกในกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อหาในบทเรียนหรือ เอกสารท่ีกาหนดให้ สมาชกิ แต่ละคนจะถกู กาหนดให้ศึกษาเน้ือหาคนละตอนแตกต่างกันคนเรียนเร็วและ อา่ นเรว็ อาจจัดให้ศกึ ษาเน้ือหามากกว่าคนเรียนช้า อ่านช้านักเรียนท่ีศึกษาหัวข้อเดียวกันจากทุก ๆ กลุ่ม

จะร่วมกันเป็นกลุ่มผู้เช่ียวชาญ หลังจากที่ทุกคนศึกษาเนื้อหาจนเข้าใจ และร่วมกันคิดหาวิธีอธิบายให้ เพ่อื นนักเรียนในกลุ่มประจาของตนฟังแล้ว นักเรียนแต่ละคนจะกลับมายังกลุ่มประจาของตน สมาชิกท่ี ไดร้ ับมอบหมายให้ศึกษาหน้าต้นๆหรือโจทย์ข้อแรกจะเป็นคนเล่าเรื่องท่ีตนศึกษา ให้สมาชิกคนอื่น ๆ ใน กลมุ่ ฟงั ทาเช่นเดียวกันนี้โดยการเรยี งลาดับไปจนถึงหนา้ สุดท้ายหรือโจทย์ ขอ้ สุดทา้ ย จึงขอให้สมาชิกคน ใดคนหนึ่งสรุปเนื้อหาของสมาชิกทุกคนเข้าด้วยกันครูควรทดสอบความเข้าใจในเน้ือหาที่เรียนในช่วง สดุ ทา้ ยของการเรยี นและใหร้ างวลั ไสว ฟักขาว (2542 : 135) กล่าวถึงการสอนโดยแบบจิกซอว์ไว้ว่า เป็นการสอนที่อาศัย แนวคดิ การต่อภาพ ผู้เสนอวิธีนเ้ี ป็นคนแรกคือ Elliot Aronson และคณะ ต่อมามีการปรับและเพิ่มเติม ข้ันตอน แตว่ ิธีหลักยังคงเดิม การสอนแบบน้ีนักเรียนแต่ละคนจะได้ศึกษาเพียงส่วนหนึ่ง หรือหัวข้อย่อย ของเน้อื หาทั้งหมด โดยการศึกษาเรอ่ื งนน้ั ๆ จากเอกสารหรือกิจกรรมที่ครูจัดให้ ในตอน ที่ศึกษาหัวย่อย น้ัน นักเรียนจะทางานเป็นกลุ่มกับเพื่อนท่ีได้รับมอบหมายให้ศึกษาใน หัวข้อย่อยเดียวกัน และ เตรยี มพรอ้ มทีจ่ ะกลบั ไปอธบิ ายหรอื สอนเพื่อนสมาชิกในกล่มุ พืน้ ฐานของตนเอง สมศักด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ (2544 : 21) กล่าวถึงวิธีการติดต่อภาพ ไว้ว่า วิธีน้ีคิดขึ้นโดย Elliot Aronson และคณะ เป็นวิธีง่ายๆ เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกถึงความรับผิดชอบที่ตนมีต่อกลุ่ม โดยการ แต่งตั้งใหผ้ เู้ รียนแต่ละคนเปน็ “ผเู้ ชย่ี วชาญ” (Expert) ในแต่ละสาขา ทีม่ อบหมายและ“ผเู้ ช่ียวชาญ” น้ัน ต้องมาสอนคนอนื่ ๆ ในทีมในเรอ่ื งทต่ี นรู้ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545 : 176) ได้อธิบายถึง ปริศนาความคิดไว้ว่า เป็นเทคนิคท่ี พัฒนาขึ้นเพื่อสง่ เสริมความรว่ มมอื และการถ่ายทอดความรู้ระหว่างเพ่ือนในกลุ่ม เทคนิคน้ีใช้กันมากใน รายวชิ าท่ผี เู้ รียนตอ้ งเรียนเนื้อหาวชิ าจากตาราเรยี น (เช่น สงั คมศึกษา ภาษาไทย) สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2545 : 177 - 181) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้โดย ใช้เทคนิคจิกซอว์ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีใช้แนวคิดการต่อภาพ โดยแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม ทุกกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้ทากิจกรรมเดียวกัน ผู้สอนจะแบ่งเน้ือหาของเรื่องที่จะให้เรียนรู้ออกเป็น หัวข้อย่อย เท่ากับจานวนสมาชิกแต่ละกลุ่ม และมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษา ค้นคว้าคนละ หวั ข้อ ซ่งึ ผู้เรยี นแต่ละคนจะเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่ตนได้รับมอบหมายให้ศึกษาจากกลุ่ม สมาชิก ต่างกลุ่มท่ีได้รับมอบหมายในหัวข้อเดียวกันก็จะทาการศึกษาค้นคว้าร่วมกัน จากน้ันผู้เรียนแต่ละคนจะ กลบั เขา้ กลมุ่ เดิมของตนเพอ่ื ทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญอธบิ ายความรู้ เน้ือหาสาระ ท่ีตนศึกษาให้เพ่ือนร่วม กลุ่มฟัง เพือ่ ให้เพอื่ นสมาชิกท้ังกล่มุ ได้รู้เนื้อหาสาระครบทุกหัวข้อย่อยและเกิดการเรียนรู้เนื้อหาสาระทั้ง เรือ่ ง จากการศกึ ษาความหมายของการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ดู ว้ ยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ สรุปได้ว่า เปน็ การจัดให้ผ้เู รียนท่ีมีความสามารถแตกต่างกัน กลุ่มละ 3 - 5 คน เรียนรู้ร่วมกัน โดยครูแบ่งบทเรียน ออกเป็นเรือ่ งย่อย ๆ เทา่ กับจานวนสมาชิกของแตล่ ะกล่มุ สมาชิกแต่ละกลุ่มแบ่งหัวข้อในการศึกษาคนละ หัวขอ้ แล้วให้สมาชกิ ที่ศกึ ษาหวั ข้อเดยี วกันของทุกกลุ่มไปศึกษาและอภิปรายร่วมกันจนเกิดความเข้าใจดี แล้ว จึงกลบั ไปรายงานผลให้สมาชิกในกลมุ่ ฟังทีละหัวข้อจนครบถ้วนเมื่อจบบทเรียนครูจะทาการทดสอบ ความรู้ และใหร้ างวัลเป็นการเสริมแรง

2. วัตถปุ ระสงค์ของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นการสอนทกุ รปู แบบการสอน จะตอ้ งมวี ตั ถปุ ระสงค์ว่าจดั กจิ กรรมข้ึนมาเพ่ือ อะไร ไดม้ นี กั วชิ าการไดก้ ล่าวถึงวัตถุประสงคข์ องการจดั การเรยี นการสอนแบบจิกซอว์ ดงั นี้ สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2545 : 177) กล่าวถึงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม เรยี นการสอนโดยใช้เทคนิคจกิ ซอวไ์ ว้ 2 ข้อคอื 1. เพือ่ สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนไดศ้ กึ ษา ค้นควา้ หาความรดู้ ้วยตนเอง 2. เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนฝึกทักษะกระบวนการทางสงั คม และความรับผดิ ชอบ จากวตั ถปุ ระสงค์ที่กล่าวมานน้ั สรปุ ไดว้ า่ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบจิกซอว์ เป็นการ ส่งเสริมให้ผ้เู รยี นได้ศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง ทางานร่วมกันเปน็ กลุ่ม นักเรียนได้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ กัน และมีความรบั ผดิ ชอบในการทางานรว่ มกัน 3. องค์ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบจิกซอว์ นกั วิชาการหลายทา่ นได้กล่าวถงึ องคป์ ระกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบจิกซอว์ ดังน้ี ไสว ฟักขาว (2542 : 135) กล่าววา่ องค์ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบจิกซอว์ มดี ังน้ี 1. การเตรียมสื่อการเรียนการสอน (Preparation of Materials) ครูสร้างใบงานให้ ผเู้ ช่ียวชาญแต่ละคนของกล่มุ และสรา้ งแบบทดสอบย่อยในแตล่ ะหน่วยการเรียน แต่ถ้ามีหนังสือเรียนอยู่ แลว้ ยง่ิ ทาให้ง่ายข้นึ ได้ โดยแบ่งเนือ้ หาในแต่ละหัวข้อเรื่องที่จะสอนเพ่ือทาใบงานสาหรับผู้เช่ียวชาญ ใน ใบงานควรบอกว่านักเรียนต้องทาอะไร เช่น ให้อ่านหนังสือหน้าอะไร อ่านหัวข้ออะไร จากหนังสือหน้า ไหนถงึ หนา้ ไหน หรอื ใหด้ ูวดี ิทัศน์ หรอื ให้ลงมือปฏบิ ตั กิ ารทดลอง พร้อมกบั มคี าถามให้ตอบตอนท้ายของ กิจกรรมที่ทาด้วย 2. การจัดสมาชิกของกลุ่มและของกลุ่มผู้เช่ียวชาญ (Teams and Expert Groups) ครูจะแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ (Home Group) แต่ละกลุ่มจะมีผู้เช่ียวชาญในแต่ละเรื่องตามใบงาน ของตนก่อนท่ีจะแยกไปตามกลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups) เพ่ือทางานตาม ใบงานน้ันๆ เม่ือ นกั เรยี นพรอ้ มทจ่ี ะทากิจกรรม ครแู ยกกลุ่มนักเรียนใหม่ตามใบงาน กจิ กรรมในกลุ่มผู้เชย่ี วชาญแตล่ ะกลุ่ม อาจแตกต่างกัน ครูพยายามกระตุ้นให้นักเรียนศึกษาหัวข้อตามใบงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นใบงานที่ครู สร้างข้ึนจึงมีความสาคัญมาก เพราะในใบงานจะนาเสนอด้วยกิจกรรมท่ีแตกต่างกัน ซึ่งผู้เช่ียวชาญในแต่ ละกลุ่มอาจจะลงมือปฏบิ ตั ิการทดลอง ศึกษาเก่ยี วกบั สง่ิ ที่ได้รับมอบหมาย พร้อมกับเตรียมการนาเสนอ สง่ิ น้นั ๆ อย่างส้ันๆ เพ่อื วา่ เขาจะได้นากลับไปสอนสมาชกิ คนอื่นๆ ในกลุ่มทีไ่ ม่ได้ศึกษาในหัวขอ้ ดังกลา่ ว 3. การรายงานและการทดสอบย่อย (Reports and Quizzes) เมื่อกลุ่มผู้เช่ียวชาญ แต่ละกลุ่มทางานเสรจ็ แลว้ ผู้เชี่ยวชาญแตล่ ะคนกจ็ ะกลบั ไปยังกลุ่มเดมิ ของตัวเอง (Home Groups) แล้ว สอนเร่ืองท่ตี วั เองทาใหก้ บั สมาชกิ คนอน่ื ๆ ในกลุม่ ครกู ระตุน้ ใหน้ กั เรยี นใช้วธิ ีการต่างๆ ในการนาเสนอส่ิง ที่จะสอน นักเรียนอาจใช้วิธีการสาธิต อ่านรายงาน ใช้คอมพิวเตอร์ รูปถ่ายไดอะแกรม แผนภูมิหรือ ภาพวาดในการนาเสนอความคิดเห็น ครูกระตุ้นให้สมาชิก ในกลุ่มได้มีการอภิปรายและซักถามปัญหา ต่างๆ โดยทสี่ มาชิกแตล่ ะคนตอ้ งมีความรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรู้แต่ละเรอ่ื งท่ีผเู้ ชย่ี วชาญแต่ละคนนาเสนอ

เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้รายงานผลงานกับกลุ่มของตัวเองแล้ว ควรมีการอภิปรายร่วมกันทั้ง ห้องเรียนอกี ครงั้ หน่งึ หรือมีการถามคาถาม และตอบคาถามในหวั ขอ้ เร่อื งที่เชี่ยวชาญแต่ละคน ได้ศึกษา หลังจากนั้นครูก็ทาการทดสอบ สุวิทย์ มลู คา และอรทยั มลู คา (2545 : 178) กล่าววา่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค จิกซอว์ มีองค์ประกอบสาคญั 3 สว่ น คือ 1. การเตรียมส่ือการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องเตรียมใบงาน ใบความรู้ ส่ือการเรียนรู้อื่น ๆ สาหรบั ผู้เชี่ยวชาญแตล่ ะกลุ่ม และสร้างแบบทดสอบยอ่ ยในในแต่ละหน่วยการเรียน 2. การจัดสมาชิกของกลุ่ม ผู้สอนจะต้องแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆ เรียกว่า “กลุ่มพ้ืนฐาน” (Home Groups) แตล่ ะกลุม่ จะมีผเู้ ชยี่ วชาญ แต่ละเรอ่ื งตามใบงานทผี่ สู้ อนสร้างขน้ึ 3. การรายงานและทดสอบย่อย เม่ือผู้เช่ียวชาญกลับเข้ากลุ่มตัวเองและสอนเร่ืองท่ี ตนเองไดเ้ รียนรู้มาสอนหรือรายงานให้กับสมาชิกในกลุ่มแล้ว ควรมีการอภิปรายกันท้ังห้องเรียนอีกครั้ง หรือมีการถาม–ตอบในหวั ขอ้ เรอื่ งท่ีเรียนรู้ หลังจากน้ันผู้สอนทาการทดสอบยอ่ ยและประเมินให้คะแนน จากที่กล่าวมาน้ันสรุปได้ว่า องค์ประกอบของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบจิกซอว์นั้น ครูผู้สอนจะต้องเตรียมส่ือต่างๆ ให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เพียงพอ และแบ่ง นักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ โดยแต่ละกลุ่มจะมีผู้เช่ียวชาญในแต่ละเร่ืองตามใบงานของตนก่อนท่ีจะแยกไป ตามกลุม่ ของผู้เชย่ี วชาญ เพอ่ื ทางานตาม ใบงานน้ันๆ แลว้ จะไดน้ าความรูท้ ไ่ี ด้กลบั ไปสอนสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่มที่ไมไ่ ด้ศึกษาในหัวข้อดังกล่าว เมอื่ ทากิจกรรมเสร็จแล้วประเมินผลโดยการทดสอบย่อย 4. ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู บบจกิ ซอว์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบจิกซอว์มีหลายขั้นตอน ซ่ึงนักวิชาการได้กล่าวถึงข้ันตอน ดังต่อไปนี้ กรมสามัญศึกษา (2540 : 42 - 43) ไดเ้ สนอข้นั ตอนในการดาเนินการการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ดว้ ยกลุ่มร่วมมือ แบบจิกซอว์ ดังน้ี 1. ครูแบง่ หวั ข้อท่จี ะเรียนเปน็ หัวข้อยอ่ ยๆให้เท่ากับจานวนสมาชกิ ของแตล่ ะกลุ่ม 2. จัดกลุ่มนักเรียนกลุ่มละประมาณ 4 คน โดยให้สมาชิกของกลุ่มมีความสามารถคละ กัน กลุม่ นเ้ี รียกวา่ กลุ่มประจา 3. มอบหมายให้สมาชิกแต่ละคน อ่าน/ศึกษาหัวข้อย่อยท่ีจัดแบ่งไว้ เช่น ในกลุ่ม A มี สมาชกิ เปน็ จานวน A1, A2 , A3 และ A4 นักเรยี น A1 อ่านเฉพาะหัวข้อย่อยที่ 1 นักเรียน A2 อ่านเฉพาะหวั ขอ้ ย่อยที่ 2 นกั เรยี น A3 อ่านเฉพาะหัวขอ้ ยอ่ ยท่ี 3 นกั เรยี น A4 อ่านเฉพาะหัวข้อย่อยที่ 4 กลมุ่ อื่นๆ ท่ีเหลือกด็ าเนนิ การมอบหมายรบั ผดิ ชอบในลักษณะเดียวกัน 4. ให้นกั เรียนที่อ่านหัวข้อ/หัวเรื่องเดียวกัน แยกออกมารวมกันเป็นกลุ่มชั่วคราว เพื่อ อภิปราย ซักถามและทากิจกรรมร่วมกันให้เกิดความรอบรู้ในหัวข้อเร่ืองน้ันๆกลุ่มใหม่นี้เราเรียกว่ากลุ่ม ผ้เู ชี่ยวชาญ ในกรณนี ี้ถ้ามีกลุม่ ประจาอยู่ 4 กลุ่ม คือ กล่มุ A , B , C และ D

กลุ่มผูเ้ ช่ียวชาญกลมุ่ ท่ี 1 กจ็ ะประกอบดว้ ยสมาชกิ A1 , B1 , C1 , และ D1 กลุ่มผ้เู ชยี่ วชาญกลุ่มที่ 2 ก็จะประกอบด้วยสมาชิก A2 , B2 , C2 , และ D1 อย่างนี้ไปเรอื่ ย ๆ 5. มอบหมายหนา้ ที่ให้นกั เรียนในกลุ่มผ้เู ชี่ยวชาญ เช่น นักเรยี นคนที่ 1 อา่ นคาถาม/คาสง่ั /คาชี้แจง นกั เรยี นคนที่ 2 จดบันทึกขอ้ มูลสาคัญทก่ี าหนดให้ และอธิบายวา่ กลุ่มจะต้องทาอะไร นกั เรยี นคนท่ี 3 หาคาตอบ/เหตุผล/คาอธบิ าย นกั เรียนคนที่ 4 สรุปทบทวนและตรวจสอบคาตอบอีกทีหน่ึง เม่อื นกั เรียนทาแต่ละขอ้ (ประเดน็ ) เสรจ็ แล้วให้นกั เรยี นหมนุ เวยี นเปลีย่ นหน้าทก่ี ันครบทุกขอ้ (ประเดน็ ) 6. นกั เรยี นในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแยกตัวกลับไปยังกลุ่มประจาของตน แล้วผลัดกันอธิบาย ความรู้ท่ีได้จากการทากิจกรรม (ในข้อ5) ให้เพ่ือนสมาชิกในกลุ่มฟังตามลาดับหัวข้อย่อย โดยเริ่มจาก หัวขอ้ ทง่ี ่ายและเปน็ ความรพู้ นื้ ฐานกอ่ น 7. นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบย่อย เพื่อวัดความรู้ทุกหัวข้อย่อย (เป็นการสอบเด่ียว) แลว้ นาคะแนนของสมาชกิ แตล่ ะคนมารวมกันเปน็ คะแนนของกลมุ่ 8. กลุม่ ท่ไี ดค้ ะแนนรวม (หรอื ค่าเฉลี่ย) สงู สุด จะได้รบั การยกยอ่ ง ชมเชยอาจจะเขียน ตดิ ป้ายประกาศ ไว้ที่บอร์ดของหอ้ ง และบนั ทึกสถติ ิไว้เพ่ือมอบรางวลั เป็นระยะๆ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2547 : 114 - 115) ได้แบ่งขน้ั ตอนกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยใช้เทคนิคจิก ซอว์ ดงั นี้ 1. ผสู้ อนแบง่ หัวข้อทจี่ ะเรียนเปน็ หัวขอ้ ยอ่ ยเท่ากบั จานวนสมาชกิ ของแตล่ ะกลุม่ 2. จัดกลุม่ ผู้เรียนโดยให้มคี วามสามารถคละกนั ภายในกลุ่ม เป็นกลุ่มบ้าน สมาชิกแต่ละ คนในกลุ่มอา่ นเฉพาะหัวขอ้ ยอ่ ยทต่ี นไดร้ บั มอบหมายเทา่ น้นั โดยใช้เวลาตามทีผ่ ้สู อนกาหนด 3. ผู้เรียนท่ีอ่านหัวข้อย่อยเดียวกันมานั่งด้วยกัน เพื่อทางาน ซักถาม และทากิจกรรม ซ่ึงเรียกว่ากลุ่มผู้เช่ียวชาญ สมาชิกทุกๆคนร่วมกันอภิปรายหรือทางาน อย่างเท่าเทียมกัน โดยใช้เวลา ตามท่ีผูส้ อนกาหนด 4. ผ้เู รียนแต่ละคนในกล่มุ เช่ียวชาญ กลบั มายงั กลมุ่ บา้ นของตน จากนั้นผลัดเปล่ียนกัน อภิปราย ใหเ้ พ่อื นสมาชิกในกลมุ่ ฟงั เร่มิ จากหัวข้อย่อย 1,2,3 และ 4 5. ทาการทดสอบหัวข้อย่อย 1- 4 กับผู้เรียนทั้งห้อง คะแนนของสมาชิกแต่ละคน ใน กล่มุ รวมเปน็ คะแนนกลมุ่ กลุม่ ทีไ่ ดค้ ะแนนสงู สุดจะได้รบั การติดประกาศ ทศิ นา แขมมณี (2548 : 266) กล่าวถึงกระบวนการเรยี นการสอนรปู แบบจิกซอว์ ดังนี้ 1. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง–กลาง–อ่อน) กลุ่มละ 4 คนและเรียก กลุ่มนีว้ า่ กลุ่มบ้านของเรา (Home Group) 2. สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา ได้รับมอบมายให้ศึกษาเนื้อหาสาระคนละ 1 ส่วน (เปรียบเสมอื นไดช้ ิ้นส่วนของภาพตัดตอ่ คนละ 1 ช้นิ ) และหาคาตอบในประเด็นปัญหาท่ีผู้สอนมอบหมาย ให้

3. สมาชิกในกลุ่มบ้านเรา แยกย้ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอ่ืน ซ่ึงได้รับเน้ือหาเดียวกัน ตัง้ เป็นกลมุ่ ผู้เช่ียวชาญ ข้นึ มาและร่วมกันทาความเข้าใจในสาระนั้นอย่างละเอียด และร่วมกันอภิปราย หาคาตอบประเด็นปญั หาที่ผสู้ อนมอบหมายให้ 4. สมาชิกกล่มุ ผู้เชีย่ วชาญ กลบั ไปสู่กลุ่มบ้านของเรา แต่ละคนช่วยสอนเพ่ือน ในกลุ่ม ให้เข้าใจในสาระท่ีตนได้ศึกษาร่วมกับกลุ่มผู้เช่ียวชาญ เช่นนี้ สมาชิกทุกคนก็จะได้เรียนรู้ภาพรวมของ สาระทั้งหมด 5. ผเู้ รียนทกุ คนทาแบบทดสอบ แต่ละคนจะได้คะแนนเป็นรายบุคคล และนาคะแนน ของทกุ คนในกลุม่ บ้านของเรามารวมกัน (หรือหาคา่ เฉลี่ย) เป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด ได้รับ รางวลั ขอ้ ดีและข้อจากัดของการจัดการเรียนรแู้ บบจกิ ซอว์ มีดังนี้ ขอ้ ดี 1. ผ้เู รยี นมคี วามเอาใจใส่ รับผดิ ชอบตัวเองและกลุม่ ร่วมกบั สมาชิกอืน่ 2. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีความสามารถต่างกนั ไดเ้ รียนรู้รว่ มกนั 3. สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นผลัดเปล่ยี นกนั เป็นผู้นา 4. ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ และเรยี นรู้ทกั ษะทางสงั คมโดยตรง ขอ้ จากดั 1. ผู้เรียนขาดความเอาใจใส่และรับผิดชอบจะส่งผลให้ผลงานกลุ่มและการเรียนรู้ ไม่ ประสบความสาเรจ็ 2. เปน็ วิธีการท่ีผู้สอนจะต้องใช้เวลาในการเตรียมการและต้องดูแล ช่วยเหลือ เอาใจใส่ ในกระบวนการเรียนรู้ของผ้เู รียนอย่างใกล้ชิด สรปุ ไดว้ ่า การจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบจกิ ซอวน์ น้ั ผสู้ อนจะตอ้ งเตรยี มเน้อื หาไว้ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ และเรียนรู้โดยการแบ่งกลุ่มคละความสามารถ ผู้เรียนแต่ละคนรับผิดชอบงานที่ตนเองได้รับ มอบหมาย นกั เรียนท่ีเรยี นเกง่ จะช่วยเหลือนกั เรียนทีเ่ รยี นอ่อนในการศกึ ษาหาความรู้ เพอื่ ให้ผลงานของ กล่มุ สาเรจ็ ตามเปา้ หมายที่วางไว้มกี ารทดสอบความรูห้ ลงั เรียนคะแนนรายบุคคลรวมเป็นคะแนนของกลุ่ม กล่มุ ที่ไดค้ ะแนนมากจะได้รับรางวัล รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบจกิ ซอว์ วิมลรัตน์ สุนทรวิโรจน์ (2551 : 24 - 25) ได้เสนอรูปแบบการเรียนรู้แบบต่อภาพมี 2 รูปแบบดงั นี้ รปู แบบที่ 1 (Jigsaw I) การเรยี นรู้แบบ Jigsaw I เป็นเทคนิคท่ีพัฒนาขึ้นเพื่อส่งเสริมความร่วมมือและถ่ายทอด ความรู้ระหว่างกลุ่ม เป็นเทคนิคที่ใช้กันมากในรายวิชาที่ผู้เรียนต้องเรียนเนื้อหาวิชาจากตาราเรียน (เช่น สงั คมศกึ ษา ภาษาไทย) ขั้นตอนกจิ กรรมประกอบดว้ ย 1. ครแู บ่งเนื้อหาที่จะเรียนออกเปน็ หัวข้อยอ่ ย ๆ ใหเ้ ทา่ กบั จานวนสมาชิกกลุม่ 2. จัดกลุม่ ผูเ้ รียนให้มีความสามารถคละกัน เรียนว่า “กลุ่มบ้าน” แล้วมอบหมายให้ สมาชิกแต่ละคนศกึ ษาหวั ขอ้ ท่ตี ่างกนั

3. ผู้เรียนได้รับหัวข้อเดียวกันจากแต่ละกลุ่มมานั่งด้วยกันเพื่อทางานและศึกษา ร่วมกนั ในหวั ข้อดงั กลา่ ว เรียกว่า “กลมุ่ เช่ยี วชาญ” 4. สมาชิกแต่ละคนออกจากกลุ่มเช่ียวชาย และกลับไปกลุ่มเดิมของตนผลัดกัน อธบิ ายเพื่อถ่ายทอดความรู้ที่ตนศกึ ษาให้เพ่ือนฟังจนครบทุกหัวขอ้ 5. ครูทดสอบเนื้อหาท่ีศกึ ษาแล้วให้คะแนนรายบุคคล รปู แบบท่ี 2 (Jigsaw 2) การเรยี นรู้แบบ Jigsaw II เป็นเทคนิคที่พัฒนาข้ึนจากเทคนิคเดิม โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้มสี ่วนร่วมชว่ ยเหลอื กนั และพึง่ พากันในกล่มุ มากขึ้นกระบวน Jigsaw II เหมอื นเดิมทุก ประการ เพียงแต่ในช่วงของการประเมินผล ครูจะนาคะแนนทุกคนในกลุ่มมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มท่ไี ดค้ ะแนนรวมหรือคา่ เฉลีย่ สงู สุดจะตดิ ประกาศไวท้ ี่ปา้ ยประกาศของห้อง ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มในวิธีการนี้จะแบ่งเป็นทีม โดยมีสมาชิกท่ีคละเคล้ากัน เช่นเดียวกับทีมใน TGT และ STAD ผู้เรียนแต่ละคนจะได้รับมอบหมายให้อ่านเนื้อเรื่องที่กาหนดและได้รับ“ หัวข้อสาหรับ ผเู้ ช่ียวชาญ ” ทีต่ ้องการศกึ ษาโดยละเอียด เม่ือผู้เรียนทุกคนอ่านเน้ือหาเนื้อเรื่องจบในหัวข้อเดียวกันของ แต่ละกลุ่ม จะรวมกันอภิปรายในหัวข้อน้ันโดยใช้เวลาประมาณ 30 นาทีหลังจากนั้น ผู้เช่ียวชาญก็จะ กลบั มายงั ทีมของตนเพ่ืออธิบายในส่วนท่ีตนรู้ให้คนอื่น ๆฟัง และในท่ีสุดผู้เรียนทุกคนต้องตอบข้อสอบท่ี ออกคลมุ เน้อื หาทุกหัวข้อ คะแนนทีผ่ ูเ้ รยี นได้มาจะใชร้ วมเป็นคะแนนของทมี เช่นเดียวกับ STAD และอาจ มีคะแนนพิเศษให้ผู้เรียนคนที่ทาคะแนนได้ดีเกินคาด ดังนั้นผู้เรียนทุกคนต้องศึกษาในหัวข้อของตนให้ดี เพ่ือจะได้ช่วยทาให้เพื่อนในทีมทาคะแนนสอบได้ดีหัวใจสาคัญของ Jigsaw คือ การพ่ึงพาซึ่งกันและกัน ผู้เรยี นทุกคนตอ้ งพึง่ พาความรูจ้ ากผู้เรียนคนอนื่ ๆ เพื่อจะไดท้ าขอ้ สอบไดด้ ี ขั้นตอนการดาเนนิ การสอนแบบ Jigsaw มีดงั นี้ 1. ครแู บ่งหวั ข้อทีจ่ ะเรียนเปน็ หัวขอ้ ยอ่ ย ๆ ใหเ้ ทา่ กับจานวนสมาชกิ ของนักเรียน แตล่ ะกลุ่ม 2. จัดกลุ่มนักเรียนกลุ่มละประมาณ 4 คน โดยให้สมาชิกของกลุ่มมีความสามารถคละกัน กล่มุ นีเ้ รยี ก กลมุ่ ประจา ( Home Groups หรือ Original Group) 3. มอบหมายให้สมาชิกแต่ละคน อ่าน/ศึกษาหัวข้อย่อยที่จัดแบ่งให้ เช่น ในกลุ่ม A มี สมาชิก A1, A2, A3, A4 นักเรยี น A1 อา่ นเฉพาะหัวข้อยอ่ ยท่ี 1 นกั เรียน A2 อา่ นเฉพาะหัวขอ้ ย่อยที่ 2 นกั เรยี น A3 อา่ นเฉพาะหัวขอ้ ย่อยท่ี 3 นักเรยี น A4 อ่านเฉพาะหัวข้อย่อยที่ 4 กลุ่มอืน่ ๆทเ่ี หลอื ดาเนินการมอบหมายความรบั ผดิ ชอบในลักษณะเดียวกนั 4. ใหน้ ักเรียนที่อา่ นหวั ข้อ/หัวเร่ืองเดียวกัน แยกออกมาร่วมกันเป็นกลุ่มใหม่น้ีเรียกว่า กลุ่ม เช่ียวชาญ (Expert Group หรือ Mastery Group) ในกรณีนี้ถ้ามีกลุ่มประจาอยู่ 5 กลุ่มคือ A, B, C, D และ E กล่มุ ผู้เชยี่ วชาญกล่มุ ท่ี 1 ก็จะประกอบดว้ ยสมาชิก A1, B1,C1,D1 และ E1 กลุ่มผเู้ ช่ยี วชาญกลุ่มท่ี 2 กจ็ ะประกอบดว้ ยสมาชกิ A2, B2,C2,D2 และ E2

อย่างน้ีไปเร่อื ย ๆ 5. มอบหมายหนา้ ที่ให้นักเรียนในกลุ่มเชี่ยวชาญ เช่น นักเรียนคนท่ี 1 อ่านคาถาม/คาส่งั /คาชี้แจง นักเรียนคนที่ 2 จดบันทึกข้อมูลสาคัญท่ีกาหนดให้ และอธิบายว่ากลุ่มจะต้องทา อะไร นกั เรียนคนที่ 3 และ 4 ทาคาตอบ/เหตผุ ล/คาอธิบาย นักเรยี นคนท่ี 5 สรุปทบทวนและตรวจสอบคาตอบอกี คร้งั 6. นักเรียนในกลุ่มเชี่ยวชาญ แยกตัวกลับไปยังกลุ่มประจาของตน แล้วผลัดกันอธิบาย ความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม (ในข้อ 5) ให้เพ่ือนสมาชิกของกลุ่มฟังตามลาดับหัวข้อย่อย โดยเร่ิมจาก หวั ข้อท่ีงา่ ยหรือเป็นความรู้พ้นื ฐานกอ่ น 7. นกั เรียนทุกคนทาแบบทดสอบยอ่ ย (Quiz) เพ่ือวัดความร้ทู ุกหวั ขอ้ ย่อย (เปน็ การสอบ เดี่ยว) แลว้ นาคะแนนของสมาชกิ แตล่ ะคนมารว่ มกนั เป็น “คะแนนของกลุ่ม” 8. กลมุ่ ทไ่ี ด้คะแนนรวม (ค่าเฉลี่ย) สงู สุด จะได้รับการยกย่องชมเชย อาจจะเขียนติด ประกาศไว้ทีบ่ อรด์ ของห้อง และบนั ทกึ สถติ ไิ วเ้ พ่ือมอบรางวัลเปน็ ระยะๆ แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542 : 1 - 2) ได้กล่าวไว้ว่า แผนการเรียนการสอน หมายถึง แผนการหรือโครงการทจี่ ดั ทาเป็นลายลักษณอ์ ักษรเพอื่ ใชใ้ นการปฏบิ ตั กิ ารสอนในรายวชิ าใดวิชาหนึ่ง เป็น การเตรียมการสอนอย่าง มีระบบและเป็นเคร่ือง มือที่ช่วยให้ครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสู่ จุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดหมายของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนต้องมีความรู้ความ เขา้ ใจเก่ียวกับหลักในการจัดทาแผนการสอน ซ่งึ มีความสาคัญดงั น้ี 1. ก่อให้เกิดการวางแผนและเตรียมการล่วงหน้า เป็นการนาเทคนิควิธีการสอน การ เรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยี และจิตวิทยาการเรียนการสอนมาผสมผสานประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม กับ สภาพแวดลอ้ มดา้ นตา่ งๆ 2. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนค้นคว้าหาความรู้เก่ียวกับหลักสูตร เทคนิคการเรียนการสอนการ เลอื กใช้ส่อื การวดั และการประเมนิ ผลตลอดจนประเดน็ ต่างๆท่ีเก่ยี วข้องจาเป็น 3. เปน็ ค่มู ือการสอนสาหรบั ตวั ครผู สู้ อนและครูทส่ี อนแทน นาไปใช้ปฏิบัติการสอนอย่าง ม่นั ใจ 4. เป็นหลักฐานแสดงข้อมูลด้านการเรียนการสอน และการวัดประเมินผลท่ีเป็น ประโยชนต์ ่อการจัดการเรียนการสอนต่อไป 5. เปน็ หลักฐานแสดงความเชย่ี วชาญของครผู ู้สอน ซง่ึ สามารถนาไปเสนอเปน็ ผลงานทาง วิชาการได้ ณัฐวุฒิ กิจรุ่งเรือง และคณะ (2545 : 53) กล่าวว่า แผนการเรียนรู้ หมายถึง การ เตรียมการจัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ และเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ

ดาเนินการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาใดวิชาหน่ึง ให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมายท่ีหลักสูตรกาหนด แผนการ จัดการเรยี นรมู้ ี 2 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดับหนว่ ยการเรียน (Unit Plan) และระดบั บทเรียน (Lesson Plan) รุจิร์ ภู่สาระ (2545 : 159) ได้กล่าวไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนการ จัดการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนตามท่ีกาหนดไว้ในสาระ การเรยี นรู้ของแตล่ ะกลมุ่ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ด่ี ตี ้องสามารถตอบคาถามได้ ดงั นี้ 1. ใหน้ ักเรยี นมีคณุ สมบตั ทิ ่ีพึงประสงคอ์ ะไรบา้ ง 2. จะเสริมสร้างกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนอะไรบ้าง จึงจะทาให้นักเรียนบรรลุผล ตามจุดประสงค์ 3. ครจู ะต้องมบี ทบาทอย่างไรในการจัดกิจกรรม 4. จะใชส้ อ่ื /อปุ กรณอ์ ะไรจึงจะช่วยใหน้ ักเรยี นบรรลจุ ุดประสงค์ 5. ไดอ้ ยา่ งไรวา่ นักเรยี นเกดิ คุณสมบัติตามทค่ี าดหวังไว้ สุวิทย์ มูลคา และคณะ (2549 : 58) ได้กล่าวไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนการเตรียมการสอนหรือการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบและจัดทาไว้เป็น ลายลกั ษณอ์ กั ษร โดยมกี ารรวบรวมข้อมลู ต่าง ๆมากาหนดกจิ กรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุ จุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ โดยเร่ิมจากการกาหนดวัตถุประสงค์จะให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านใด (สติปัญญา / เจตคติ / ทักษะ) จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิธีใด ใช้สื่อการสอนหรือแหล่งเรียนรู้ใด และจะประเมนิ ผลอย่างไร สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนการหรือโครงสร้างที่จัดทาไว้เป็นลายลักษณ์ อกั ษรเพอ่ื การปฏิบตั กิ ารสอนในวชิ าหนึง่ เป็นการเตรียมการสอนอย่างเป็นระบบ และเป็นเครื่องมือที่ช่วย ให้ครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ สุวิทย์ มูลคา และคณะ (2549 : 58) ได้กล่าวถึงความสาคัญของการจัดทาแผนการ จัดการเรยี นร้ไู วด้ ังนี้ 1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีสอนที่ดี วิธีเรียนท่ีดี ท่ีเกิดจากการผสมผสานความรู้และ จติ วิทยาการศึกษา 2. ชว่ ยให้ครูผู้สอนมีเคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้ที่ทาไว้ล่วงหน้าด้วยตนเองและทาให้ ครูมีความมั่นใจในการจัดการเรียนรไู้ ด้ตามเป้าหมาย 3. ชว่ ยใหค้ รูผู้สอนทราบว่าการสอนของตนได้เดินไปในทิศทางใด หรือทราบว่าจะสอน อะไร ดว้ ยวธิ ีใด สอนทาไม สอนอยา่ งไร จะใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรู้อะไรและจะวดั และประเมนิ ผลอยา่ งไร 4. สง่ เสริมให้ครผู ู้สอนใฝศ่ กึ ษาหาความรู้ ทง้ั เร่อื งหลกั สูตร วธิ จี ดั การเรียนรู้จะจัดหาและ ใชส้ อ่ื แหลง่ เรยี นรู้ ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล 5. ใชเ้ ป็นคมู่ อื สาหรับครทู ี่มาสอน (จัดการเรียนรู้) แทนได้ 6. แผนการจดั การเรยี นรทู้ นี่ าไปใช้และพัฒนาแลว้ จะเกิดประโยชน์ต่อวงการศกึ ษา 7. เป็นผลงานทางวิชาการที่แสดงถึงความชานาญและความเชี่ยวชาญของครูผู้สอน สาหรับประกอบการประเมินเพ่อื ขอเลื่อนตาแหนง่ และวิทยะฐานะครูให้สูงข้ึน

ประโยชนข์ องการทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ณฐั วฒุ ิ กิจรุง่ เรือง และคณะ (2545 : 53 - 54) ได้กลา่ วถึงประโยชน์ของการทาแผนการ จดั การเรียนรู้ไว้ดังน้ี 1. เพือ่ ใหเ้ ห็นความต่อเนอ่ื งของการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร 2. เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความต้องการ ของผเู้ รียน 3. เพื่อสามารถเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรใู้ หพ้ ร้อมก่อนทาการสอนจริง 4. เพื่อให้ผู้สอนมคี วามมนั่ ใจเละเชือ่ ม่ันในการจดั การเรยี นรู้ 5. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การปรับปรงุ วิธีการจดั การเรยี นรู้จากข้อจากดั ทพี่ บ 6. เพือ่ ใหผ้ ู้อ่นื สอนแทนได้ในกรณีทม่ี ีเหตุจาเปน็ 7. เพื่อเปน็ หลักฐานสาหรับพิจารณาผลงานและคณุ ภาพในการปฏิบตั ิการสอน 8. เพ่ือเป็นเครื่องบ่งช้ีความเป็นวิชาชีพของครูผู้สอน (แผนจัดการเรียนรู้เป็น ลักษณะเฉพาะของวิชาชพี ) ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ดี ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ดี ี ควรมลี กั ษณะดงั น้ี (สุวิทย์ มูลคา และคณะ. 2549 : 59) 1. กาหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้ไว้ชัดเจน (ในการสอนเรื่องน้ันๆ ต้องการให้ผู้เรียนเกิด คุณสมบตั อิ ะไร หรือดา้ นใด) 2. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้ชดั เจน และนาไปสผู่ ลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ ได้จรงิ (ระบบุ ทบาทของครผู ูส้ อนและผูเ้ รียนไว้อยา่ งชดั เจนว่าจะต้องทาอะไรจงึ จะทาใหก้ ารเรียนการสอน บรรลผุ ล) 3. กาหนดสอื่ อุปกรณแ์ ละแหล่งเรียนร้ไู วช้ ัดเจน (จะใช้สื่อ อปุ กรณ์หรือแหล่งเรยี นรู้อะไร ชว่ ยบา้ ง และจะใชอ้ ยา่ งไร) 4. กาหนดวิธีวัดและประเมินผลไว้ชัดเจน (จะใช้วิธีการและเคร่ืองมือในการวัดและ ประเมนิ ผลใด เพอื่ ใหบ้ รรลุจุดประสงค์การเรียนรู้นั้น) 5. ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ (ในกรณีที่มีปัญหาเมื่อมีการนาไปใช้ หรือไม่สามารถ กาหนดการจัดการเรียนรู้ตามแผนนั้นได้ก็สามารถปรับเปลี่ยนเป็นอย่างอื่นได้ โดยไม่กระทบต่อการเรียน การสอนและผลการเรยี นรู้ 6. มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่างๆ และสอดคล้องกับสภาพที่ เปน็ จริงท่ผี ู้เรียนดาเนินชวี ติ อยู่ 7. แปลความได้ตรงกนั แผนการจดั การเรียนร้ทู ีเ่ ขียนขนึ้ จะต้องสื่อความหมายได้ตรงกัน เขียนให้อ่านเข้าใจง่าย กรณีมีการสอนแทนหรือเผยแพร่ ผู้นาไปใช้สามารถเข้าใจและใช้ได้ตรงตาม จดุ ประสงคข์ องผู้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 8. มีการบรู ณาการ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี จะสะท้อนให้เห็นการบูรณาการแบบองค์ รวมของเนอื้ หาสาระความรู้และวิธกี ารจัดการเรียนรเู้ ข้าด้วยกัน

9. มีการเชื่อมโยงความรู้ไปใช้อย่างต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นาความรู้และ ประสบการณเ์ ดมิ มาเช่อื มโยงกบั ความร้แู ละประสบการณใ์ หม่ และนาไปใช้ในชีวิตจรงิ กบั การ เรยี นในเรอื่ งตอ่ ไป การจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ในการจดั ทาแผนการเรยี นรู้ ผสู้ อนมอี สิ ระในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซงึ่ มหี ลากหลายรูปแบบ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามผสู้ อนควรปฏบิ ตั ิตามนโยบายของโรงเรยี นที่กาหนดรูปแบบไว้ว่า ใหใ้ ช้รูปแบบใด หากโรงเรียนไม่ได้กาหนดรูปแบบไว้จึงเลือกแบบที่ตนเองเห็นว่า สะดวกต่อการนาไปใช้ ซ่ึงสรปุ ขั้นตอนการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ได้ดังน้ี (เอกรนิ ทร์ สี่มหาศาล. 2545 : 441) 1. เลือกรปู แบบแผนการจดั การเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรู้แผนนั้นๆ 2. ตัง้ ชือ่ แผนการเรียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรู้แผนนัน้ ๆ 3. กาหนจานวนเวลา ระบุระดับชนั้ และช่วงเวลาของหลกั สูตรใหช้ ัดเจน 4. วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรทู้ ่ีสอดคล้องและครอบคลมุ กับผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวงั รายป/ี รายภาคทีก่ าหนดไว้ ลงมอื เขยี นเปน็ จุดประสงคก์ ารเรยี นรรู้ ายวชิ า 5. เลอื กจดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ วี่ เิ คราะหต์ ามข้อ 4 นาเฉพาะจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หัวข้อเร่ือง และสาระการเรียนรู้ของแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อกาหนดเป็นจุดประสงค์ปลายทางตาม ธรรมชาติวิชาของแผนน้นั ๆ 6. วเิ คราะห์รายละเอียดสาระการเรียนรู้ของแผนการเรียน เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้ตาม เนื้อหาสาระท่ีจาเป็นต้องสอน ให้ผู้เรียนเข้าใจ และเป็นมวลเนื้อหาท่ีสาคัญหรือจาเป็นต่อการเรียนรู้ตาม จดุ ประสงคข์ องหลักสูตร 7. กาหนดจุดประสงค์นาทางตามลาดบั ความยากง่ายของเนอื้ หานนั้ ๆ 8. เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีการสอนที่เหมาะสมกับเน้ือหาและ สภาพของผเู้ รียน 9. เลือกส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอนท่ีจาเป็น สาหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ให้ เหมาะสมกบั สาระการเรยี นรู้ท่ีกาหนดไว้ในแผน เช่น รปู ภาพ บตั รคา วีดทิ ศั น์ 10. กาหนดขั้นตอนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ โดยคานึงถึงขั้นตอนการเรียนการสอนตาม ธรรมชาติวิชา ตามลาดับจุดประสงค์นาทาง และควรคานึงถึงการบูรณาการเทคนิควิธีการสอน กระบวนการเรียนรู้ทง้ั สาระการเรียนรู้อื่น ๆ ท่ีสอดคล้องกัน เพ่ือเชื่อมโยงเข้าไว้ในแต่ละข้ันตอนของการ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรยี นรู้ 11. กาหนดวิธกี ารวัดผลและประเมินผล โดยระบุเครื่องมือและวิธีการประเมินผลการ เรียน ทงั้ ที่เกดิ ข้นึ ระหวา่ งเรียน ตามลาดับจุดประสงค์นาทางและที่เกิดขึ้นภายหลังการเรียนการสอน ให้ สอดคล้องกบั ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั ตามหลักสตู ร

ประสิทธิภาพของผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การหาประสิทธภิ าพของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ หมายถึง การนาแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ไปใช้ (Try – out) คือ นาการนาไปทดลองใช้ตามข้ันตอนท่ีกาหนดไว้แล้วนาผลมาปรับปรุงแก้ไข และทดลองใช้จริง (Trail Run) เพอื่ ให้ไดป้ ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ทก่ี าหนด (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. 2521 : 143) การกาหนดเกณฑป์ ระสทิ ธิภาพ เกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพแล้ว แผนการจัดการเรียนรู้นั้น มี คณุ คา่ ท่จี ะนาไปสอนนักเรียนได้ การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพกระทาได้โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่องและพฤติกรรมขั้นสุดท้าย โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ซ่ึงคิดเป็นร้อยละของผลเฉล่ียของ คะแนนท่ีได้ ดังนั้น E1/ E2 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ / ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ เช่น 80/80 หมายความว่า เมื่อเรียนจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้วผู้เรียนสามารถทาแบบฝึกหัด หรืองาน ได้ผลเฉล่ียร้อยละ 80 และทาแบบทดสอบหลังเรียนร้อยละ 80 โดยปกติเน้ือหาท่ีเป็นความรู้ ความจา มักจะต้ังไว้ 80/80 , 85/85 หรือ 90/90 ส่วนเน้ือหาที่เป็นทักษะมักจะต่ากว่านี้ เช่น 75/75 การหาประสทิ ธภิ าพของผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การหาประสิทธิภาพของผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การนาแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ไปทดลองใช้ตามขั้นตอนท่ีกาหนดไว้ แล้วนาผลท่ีได้มาปรับปรุงเพื่อนาไปสอนจริงให้ได้ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์กาหนด มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช (2537 : 479 - 498) ให้ความหมาย ของเกณฑ์ประสทิ ธิภาพผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เกณฑก์ ารหาประสิทธภิ าพ หมายถงึ ระดับประสิทธภิ าพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นระดับท่ีจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้จะพึงพอใจหากแผนการจัดการ เรยี นร้มู ปี ระสิทธิภาพถงึ ระดับนน้ั แลว้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้นัน้ ก็จะมีคุณคา่ ทีจ่ ะนาไปสอนนักเรยี น เกณฑ์การหาประสิทธิภาพ กาหนดเป็นเกณฑ์ที่ผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะเปล่ียน พฤติกรรมของผเู้ รียนทงั้ หมด ต่อเปอร์เซ็นต์ของผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนท้ังหมดน้ัน คือ E1 / E2 คือประสิทธิภาพของกระบวนการ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ การกาหนดเกณฑ์ E1 / E2 ให้มีค่า เทา่ ใด ใหผ้ ู้สอนเป็นผู้พจิ ารณาตามความเข้าใจ การหาประสิทธภิ าพของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เมอื่ พฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้สูงขึ้นต้องนาไปหาประสิทธิภาพแล้วนาไปปรับปรุง แกไ้ ขตามขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. ข้นั 1:1 (แบบเดีย่ ว) คอื นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปทดลองใช้กับนักเรียน 6 – 10 คน คานวณหาประสิทธภิ าพแล้วปรบั ปรงุ ใหด้ ขี ึ้น

2. ข้นั 1 : 10 (แบบกลมุ่ ) คือนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ปทดลองใช้กับนักเรียน 6 – 10 คน คานวณหาประสิทธิภาพแลว้ ปรับปรงุ ใหด้ ีขน้ึ 3. ขั้น 1 : 100 (ภาคสนามหรือกลุ่มใหญ่) คือ นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ไปใช้กับนกั เรยี น 30 – 100 คน คานวณหาประสิทธภิ าพแล้วปรบั ปรุงให้ดีขึน้ เกณฑ์ประสิทธิภาพมีหลายเกณฑ์ เช่น 75/75, 80/80, 90/90 จากการทดลอง ผลปรากฎว่า เกณฑ์ที่เหมาะสมสาหรับวิชาท่ีให้ความรู้ความจา คือ 85 วิชาทักษะทางภาษา คอื 80 (เพยี รจิต พนั ธ์ุโอภาส. 2541 : 34) การหาประสทิ ธภิ าพมขี ้นั ตอนการหาประสทิ ธิภาพ ดังน้ี 1. ทดลองกลุม่ ที่ไมใ่ ชต่ ัวอย่าง ทง้ั กบั เดก็ อ่อน ปานกลาง และเก่ง นาผลท่ีได้คานวณหา ประสทิ ธิภาพเสรจ็ แลว้ ปรับปรุงใหด้ ขี น้ึ ปกตคิ ะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทดลองนี้จะมีค่าต่ากวา่ เกณฑม์ าก 2. ทดลองสนาม คือ ทดลองกับนักเรียนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง นาผลการทดลองท่ีได้ คานวณหาประสิทธิภาพแลว้ ปรับปรุงใหส้ มบูรณ์อกี ครงั้ ผลลพั ธท์ ่ีได้ควรใกล้เคียงกบั เกณฑ์ท่ีต้ังไว้ หากต่า กว่าไม่เกนิ รอ้ ยละ 2.5 กย็ อมรบั แตถ่ า้ หากตา่ งกนั มาก ต้องปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ให้ ได้ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ทตี่ ัง้ ไว้ต่อไป งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง งานวิจัยภายในประเทศ นรินทร์ กระพ้ีแดง (2542 : 63 - 82) ได้ทาการศึกษาผลของการเรียนร่วมมือโดยใช้ เทคนิคจิกซอว์ ทีม่ ีตอ่ ทักษะการทางานร่วมกนั และสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ือง ระบบประชาธิปไตย ใน รายวิชา ส 402 สังคมศึกษา ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน จังหวัด ขอนแก่น จานวน 59 คน ผลการวิจัย พบว่านักเรียนที่ได้รับ การสอนโดยการเรียนร่วมมือโดยใช้ เทคนิคจิกซอว์ มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .05 และนักเรียนท่ีได้รับการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ มีทักษะการทางาน รว่ มกนั สูงกว่านกั เรียนท่ไี ด้รับการเรียนตามปกติ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 ปิยะฉัตร ขาวแก้ว (2542 : 53 - 74) ได้ทาการศึกษาผลของการเรียนร่วมมือ โดยใช้ เทคนิคจกิ ซอว์ท่ีมีตอ่ ทกั ษะการทางานงานร่วมกนั และสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ในรายวิชา ส 306 ประเทศ ของเรา 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ผลการวจิ ัย พบว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนท่ีได้รบั การสอน โดยการเรยี นแบบร่วมมอื โดยใช้ เทคนิคจิกซอว์ สูงกว่านักเรียนท่ีได้รับการสอน แบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ ทกั ษะการทางานร่วมกนั ของนกั เรียนท่ีได้รับการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ หลังเรียนสูงกว่า กอ่ นเรยี น อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 เยาวลกั ษณ์ พงศธรวิวฒั น์ (2547 : 36 - 61) ได้ศึกษาการพัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ือง หลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย วิชา หลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ส 021 ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนกระเทียมวิทยา อาเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ รว่ มมือ จานวน 60 คน ผลการศึกษาค้นควา้ พบว่า นักเรยี นทไ่ี ด้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ จกิ ซอว์ มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงกวา่ นักเรียนท่ไี ดร้ บั การสอนแบบบรรยาย อยา่ งมี

นัยสาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.01 อารุณี บุญยืน (2547 : 27 - 51) ได้ศึกษาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบจิก ซอว์ เร่ืองชุมชนสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนทา่ ตูมประชาเสริมวิทย์ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ จานวน 40 คน พบว่าแผนการจัดการ เรียนรู้แบบจิกซอว์ ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 83.58/83.50 และมีค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการ จดั การเรียนรู้แบบจิกซอว์ คิดเป็นร้อยละ 77 โดยสรุปว่า แผนการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึนตามขั้นตอนอย่างมี ระบบ มีการวิเคราะห์หลกั สูตร สาระการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวัง มีกจิ กรรมเป็นกระบวนการที่ มีขั้นตอน มีสื่อการเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเน้ือหาและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์จากการ เรยี นรู้ด้วยตนเองแล้ว ยงั ทาให้นกั เรยี นเกิดความก้าวหนา้ ทางดา้ นการเรยี นรเู้ พ่มิ ข้ึนดว้ ย ณรงค์ สังข์มุรินทร์ (2549 : 36 - 55) ได้ทาการวิจัยผลการจัดกิจกรรมการเรียนแบบ ร่วมมือ โดยใช้เทคนิคจิกซอว์ ต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดวิจิตรรังสรรค์ จังหวัดชัยนาท จานวน 30 คนเป็นกลุ่มทดลอง และโรงเรียนวัดท่าโบสถ์ จังหวัดชัยนาท จานวน 30 คน เป็นกลุ่ม ควบคุม ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา แ ละ วัฒนธรรม ของนกั เรยี นท่ีเรยี นด้วยการจัดกจิ กรรมการเรียนแบบจิกซอว์ สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 และนักเรียนกลุ่มทดลองมีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียน แบบร่วมมอื โดยใชเ้ ทคนคิ จกิ ซอว์ในระดบั มาก ปฐมพงษ์ บานฤทัย (2549 : 80 – 108) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Jigsaw) เร่ือง การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 40 คน ผลการศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง การเมือง การปกครองสมัยอยุธยา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี ประสทิ ธิภาพ เทา่ กับ 93.25/91.42 สงู กวา่ เกณฑ์ทีก่ าหนดไว้ คอื 80/80 ค่าดชั นีประสิทธิผล เท่ากับ 0.8884 แสดงวา่ นักเรียนมีความกา้ วหน้าทางการเรียนสูงข้ึนร้อยละ 88.84 มีเจตคติด้านความรักชาติ ความภมู ิใจต่อชาติและการเมืองการปกครองสมยั อยุธยาซึ่งเปน็ ผลต่อเนอื่ งมาจากการศึกษาเร่ืองการเมือง การปกครองสมัยอยธุ ยา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมโดยรวมอย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด กมล ขวญั คมุ้ (2550 : 44 - 76) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Jigsaw) เรื่อง การเมืองการปกครองกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 42 คน ผลการศึกษาพบว่า การจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Jigsaw) เร่ือง การเมืองการปกครอง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.20/87.08 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ท่ีต้ังไว้ ค่าดัชนีประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 0.8242 พฤติกรรม ประชาธปิ ไตยของนักเรยี นอยใู่ นระดับดมี าก วีณา บุญปัทม์ (2550 : 33 – 65) ได้ศึกษาค้นคว้าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบจิก ซอว์ เร่อื งพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยทีม่ ีตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น และความพึงพอใจในการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 40 คน ผลการศึกษา ค้นคว้าพบว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบจิกซอว์ เรื่องพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยมี

ประสิทธิภาพเท่ากับ 85.41/89.42 และดัชนีประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 0.7589 หมายถึง นักเรียนมี ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นคดิ เป็นรอ้ ยละ 75.89 และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพอใจต่อผล การเรียนดว้ ยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบจกิ ซอว์ โดยรวมและเป็นรายด้านอย่ใู นระดับมากท่ีสดุ งานวิจยั ตา่ งประเทศ ฮอลเิ ดย์ (Holliday. 1966 : abstract) ไดศ้ กึ ษาผลของการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค จกิ ซอว์ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และปฏิสัมพันธ์ร่วมกันท่ีมีความแตกต่างทางเช้ือชาติในโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาท่เี รียนวชิ าสังคมศกึ ษา ผลการศกึ ษาพบว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูง มปี ฎสิ มั พันธท์ิ างการเรียนระหว่างกลุ่มดี ซ่ึงส่งผลถึงความสัมพันธ์ทางด้านเช้ือชาติ และ รักเรยี นมที ัศนคติทด่ี ตี อ่ การเรยี น แมททิงลี , แวนซิคเคิล (Mattingly ; Vansickle. 1991 : abstract) ได้ทาการวิจัยการ เรียนแบบรว่ มมือ(จิกซอว์ 2) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาสังคมศึกษา โดยได้ทาการศึกษาวิจัยกับ นักเรียนระดับ 9 จานวน 2 ห้องเรียน ซ่ึงผู้วิจัยได้สุ่มนักเรียนจานวน 23 คน ให้ได้รับการสอนโดยการ เรียนแบบร่วมมือ (จิกซอว์ 2) และสุ่มนักเรียนอีก 22 คน ให้ได้รับการสอนแบบด้ังเดิม ผลการวิจัย ปรากฏว่านักเรียนท่ีเรียนแบบจิกซอว์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนแบบดั้งเดิม อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 สแตพกา (Stepka. 1999 : p.109 - A) ได้ศึกษาเปรียบเทียบการใช้วิธีการเรียนแบบจิก ซอว์ กับวิธีเรียนแบบบรรยายในช้ันเรียนระดับอุดมศึกษาของวิทยาลัยชุมชนแห่งหน่ึง เพื่อศึกษาสิ่งท่ี เหมือนกันของวิธีการท้ังสองแบบ และศึกษาว่ากลุ่มใดมีผลการปฎิบัติงานท่ีดีกว่า ผลปรากฏว่านักศึกษา กลุ่มท่ีใช้วิธีการเรียนแบบจิกซอว์ มีค่าคะแนนสูงกว่ากลุ่มท่ีใช้วิธีการเรียนแบบบรรยาย การประเมิน ทัศนคตเิ ปน็ รายบคุ คลในมติกลมุ่ พบวา่ การใช้วธิ ีการแบบจิกซอว์ มีทัศนคตเิ ปน็ ไปในทางบวกมากกว่าการ ใชว้ ิธีการแบบบรรยาย เฉิน (Chen. 2004 : 57 - A) ได้ทาการวิจัยเร่ืองการศึกษาผลกระทบของวิธีการจัดการ เรยี นการสอนแบบรว่ มมอื ทมี่ ตี ่อผลสมั ฤทธ์ทิ างด้านวิชาการของนกั เรยี น ในช้นั เรยี นวิชาภาษาอังกฤษเป็น ภาษาต่างประเทศ ในวิทยาลัยแห่งหน่งึ ของประเทศไต้หวนั การวจิ ัยครงั้ นใ้ี ช้วิธีการจัดการเรียนการสอน แบบร่วมมอื 2 แบบทนี่ ามาใชก้ บั กลุ่มทดลองคือ เทคนิคจิกซอว์และเทคนิค STAD ส่วนนักศึกษาในกลุ่ม ควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างของ นักศึกษาในกลุ่มทดลองมีผลคะแนนสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างของนักศึกษาในกลุ่มควบคุม และกลุ่มตัวอย่าง ของนักศึกษาชายในกลมุ่ ท่ใี ชว้ ิธกี ารจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ สามารถแสดงผลการปฏิบัติที่ดีข้ึน มากกวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งของนักศกึ ษาชายในกลุ่มทใ่ี ช้วธิ ีการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ เวง (Wang. 2006 : abstract) ได้ศึกษาผลกระทบของการใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ เทคนคิ จกิ ซอว์ ทมี่ ตี ่อแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษาในสถาบันเทคโนโลยี Chung- Hwa Institute of Technology ประเทศไต้หวัน โดยทาการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของนักศึกษา ในสาขาวิชาเอกการบริหารธุรกิจ 77 คนจานวน 2 ช้ันเรียน ช้ันเรียนหน่ึงใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ เทคนิคจิกซอว์ อกี ชน้ั เรยี นหน่งึ ซึ่งใช้วธิ กี ารสอนแบบเดมิ ตามปกติท่ัว ๆ ไป ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษา

ทผี่ า่ นการเรียนรโู้ ดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ ปรากฏผลคะแนนจากแบบทดสอบปลายภาคในระดับท่ี สูงข้ึน และผลคะแนนรวมที่มากกว่านักศึกษาที่ผ่านการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบเดิมตามปกติท่ัวๆ ไป และพบวา่ กลุ่มตัวอยา่ งของนกั ศึกษาท่ไี ด้รับการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้วิธสี อนแบบรว่ มมือ มีเจตคติใน ด้านบวกต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ซง่ึ มผี ลต่อการนาไปใช้ในการติดต่อส่ือสารกับคนที่ใช้ภาษาอังกฤษใน การพูด รวมท้ังยังมีเจตคติในด้านบวกต่อการเรียนรู้คาศัพท์ด้านการใช้เครื่องมือซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ มากกว่า นกั ศกึ ษาท่ไี ด้รับการจัดการเรยี นรู้โดยใช้วธิ สี อนแบบเดิมตามปกติทว่ั ๆ ไป

บทที่ 3 วิธดี าเนินการวจิ ยั การวจิ ยั ในครงั้ นเี้ ป็นการวิจัยในชัน้ เรยี น 1. กลุ่มท่ีศกึ ษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 25๖๓ โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ จานวน ๑๘ คน 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ัย 1) เครื่องมือท่ีใช้ในการทดลองปฏิบัติได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร เร่ือง การปลกู ผกั สวนครวั จานวน ๔ แผน 2) เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิ ประกอบด้วย (1) แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการทางานกล่มุ ของนักเรียน (2) แบบตรวจผลงานเปน็ การประเมนิ จากสภาพจริง 3) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรม คือ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น วชิ างานเกษตร เร่ืองการปลกู ผักสวนครวั 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการวิจัยเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์และทักษะกระบวนการกลุ่มโดยใช้รูปแบบการสอน แบบรู ณาการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 25๖๓ ดังนี้ผู้วิจัยได้นาแผนการ จดั การเรียนรู้เรอื่ งการปลูกผักสวนครัว โดยใช้รูปแบบการสอนแบบบูรณาการจานวน ๔ แผน แผนละ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ไปใช้สอนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายโดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละ แผนการจดั การเรยี นรู้ได้แก่แบบสงั เกตพฤตกิ รรมแบบตรวจผลงาน และเมอ่ื ดาเนนิ การสอนเสร็จเรียบร้อย แล้วจึงทาการทดสอบหลังเรียนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการปลูกผักสวนครัว จานวน 30 ขอ้ 1. กลุ่มเปา้ หมายในการวิจัยคร้ังนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร ที่กาลัง ศึกษาในภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา25๖๓ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐา น กระทรวงศกึ ษาธิการ จานวน 1๘ คน 2. ตัวแปรทท่ี าการวจิ ัย ตวั แปรตน้ คือรปู แบบการสอนแบบบูรณาการภายในวิชา ตัวแปรตามคือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและทกั ษะกระบวนการกลุม่ 3. รูปแบบการวิจัยในการวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองรูปแบบกลุ่มเดี่ยวทดสอบหลังเรียน เปรยี บเทยี บคะแนนกบั เกณฑท์ ก่ี าหนดไว้คอื 75/75

4. เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ในครัง้ น้ีจาแนกตามลักษณะการใชด้ งั น้ี 1) เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการทดลองปฏบิ ัติ ไดแ้ ก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการ สอนแบบบรู ณาการกลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร เร่อื งการปลูกผกั สวนครวั จานวน ๔ แผน 2) เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการสะท้อนผลการปฏบิ ัติ ประกอบดว้ ย (1) แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียนโดยใช้ Rubric Scoring (2) แบบตรวจผลงานเป็นการประเมนิ จากสภาพจรงิ โดยใช้ Rubric Scoring 3) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมนิ ประสิทธิภาพของกิจกรรม คือ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ างานเกษตร เรอ่ื งการปลูกผกั สวนครัว 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนผี้ วู้ ิจัยไดน้ า ข้อมลู มาวิเคราะห์ ดังนี้ 1. วิเคราะหข์ อ้ มูล ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน จากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการ หา คา่ เฉลี่ย (×) และค่าร้อยละ เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม และหาค่าร้อยละของจานวน นกั เรยี นที่ ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 75 2. วิเคราะห์ข้อมูลด้านทักษะกระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์จากแบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ กจิ กรรม และแบบตรวจผลงาน โดยนาการหาค่าร้อยละเทียบกับ เกณฑ์ระดับคุณภาพ

บทท่ี ๔ วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั 4.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ห้อง ๕ สายเกษตร ในโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จม่ จังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๑๘ คน ทาการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูป กาหนดขนาดตวั อยา่ งของ Krejcie and Morgan[6] ไดก้ ลมุ่ ตวั อย่างจานวน ๑๘ คน 4.2 เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั และการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการรวบรวมข้อมลู การวจิ ัยเปน็ แบบสอบถาม โดยผวู้ ิจยั ได้ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู ที่ เกย่ี วข้องเพื่อสรา้ งแบบสอบถาม ทาการตรวจสอบเคร่ืองมอื ในการวจิ ยั โดยเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒจิ านวน 3 ทา่ นเพือ่ ตรวจสอบความถูกตอ้ งและความสอดคล้องของข้อคาถาม โดยแบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 สถานภาพท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจในวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเกษตร ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนวิชาเกษตร โดยแบบสอบถามมีลักษณะเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั ตามระดับ ความพึงพอใจ ซงึ่ มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังน[้ี 7] 5 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด 4 หมายถึง พึงพอใจมาก 3 หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง 2 หมายถึง พึงพอใจนอ้ ย 1 หมายถงึ พงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ุด เกณฑท์ ใี่ ชใ้ นการแปลความหมายของระดับความพึงพอใจ คือ เกณฑ์สูงที่สุด – เกณฑ์ต่าทสี่ ุด = 5–1 = 0.80 จานวนเกณฑ์ท้งั หมด 5 ค่าเฉล่ีย ระดบั ความพงึ พอใจ 4.21 - 5.00 มากทส่ี ดุ 3.41 - 4.20 มาก 2.61 - 3.40 ปานกลาง 1.81 - 2.60 นอ้ ย 1.00 - 1.80 น้อยที่สดุ ทาการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง โดยขออนุญาตสถานศึกษาเพ่ือเกบ็ รวมรวมข้อมูลเพอ่ื การวจิ ัย 4.3 การวิเคราะหข์ อ้ มลู

ทาการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และ t-test แบบ Independent Samples Test

บทท่ี ๕ ผลการวิจัย 5.1 สถานภาพท่ัวไปนกั เรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนท่ีเรียนวิชาเกษตร จานวน ๑๘ คน มอี ายเุ ฉล่ยี 16.51 ปี กาลังศึกษาอยูช่ ้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ จานวน ๑๘ คน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่เป็น หญิง จานวน ๑๒ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75.99 เกือบทั้งหมดนบั ถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.28 ผู้ปกครอง มอี าชีพเกษตรกรรมมากทสี่ ุด รอ้ ยละ 73.84 5.2 ความพึงพอใจในวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเกษตรของนักเรียนท่ีเรียนวิชาเกษตร ทั้ง 5 ด้าน พบว่า ในภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในวิธีการจัดการเรียนการสอนวิชาเกษตรในระดับมาก โดยมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.01 (ตารางที่ 7) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักเรียนมีระดับความพึงพอใจใน วธิ ีการเรียนการสอนวิชาเกษตรใน 3 ลาดับแรก โดยมีผลการวิจัยท่ีแสดงในตารางท่ี 1-5 และข้อเสนอใน การพฒั นาการเรยี นการสอนวชิ าเกษตร ซงึ่ แสดงไว้ในตารางท่ี 6 5.2.1 ความพึงพอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชาเกษตรของนักเรียนที่เรียนวิชาเกษตร ดา้ นหลกั สูตร มากท่สี ุด คอื เนอ้ื หานาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ (ค่าเฉล่ีย = 4.29) รองลงมามี ความพึงพอใจในระดับมาก ได้แก่ เน้ือท่ีเรียนมีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถ่ิน (ค่าเฉลี่ย = 4.05) และ เน้ือหาของเรื่องทเ่ี รียนมีความชัดเจนและเขา้ ใจง่าย (ค่าเฉล่ีย = 4.00) 5.2.2 ความพงึ พอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชาเกษตรของนักเรียนที่เรียนวิชาเกษตร ด้านครูผู้สอน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด 3 รายการ คือ บุคลิกภาพดี แต่งกาย เหมาะสม เรียบร้อย เป็นตัวอย่างท่ีดี (ค่าเฉล่ีย = 4.42) ครูตั้งใจสอนและเอาใจใส่นักเรียน (ค่าเฉลี่ย = 4.29) และ ครูชว่ ยเหลอื ดูแลนักเรยี นอย่างใกลช้ ิด (คา่ เฉลีย่ = 4.24) 5.2.3 ความพึงพอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชาเกษตรของนักเรียนที่เรียนวิชาเกษตร ดา้ นสื่อการเรียนการสอนในระดับมากท่ีสุด คือ ครูมีการใช้หนังสือ คู่มือ และเอกสารประกอบการเรียน การสอน (ค่าเฉลย่ี = 4.35) รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมาก ได้แก่ ครูใช้สื่อและอุปกรณ์การเรียน การสอนสมั พันธ์กบั เน้อื หาท่ีเรยี น (ค่าเฉล่ีย = 4.15) และ ครนู าของจริงมาใช้ประกอบการเรียนการสอน (ค่าเฉลยี่ = 4.04) 5.2.4 ความพงึ พอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชาเกษตรของนักเรียนท่ีเรียนวิชาเกษตร ด้านการวัดและประเมินผลในระดับมากท่ีสุด คือ ครูวัดและประเมินผลด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน (ค่าเฉลี่ย = 4.24) รองลงมามีระดับความพึงพอใจในระดับมาก ได้แก่ ครูวัดและประเมินผลจาก กระบวนการปฏิบัติงาน (ค่าเฉล่ีย = 4.14) และ ครูวัดและประเมินผลจากความสนใจและความตั้งใจ เรียน (คา่ เฉลีย่ = 4.12)

ตารางที่ 1 แสดงคา่ เฉลีย่ คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความพึงพอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชา เกษตรของนักเรยี นทเ่ี รียนวชิ าเกษตรดา้ นหลกั สตู ร รายการ ค่าเฉล่ีย S.D. ระดับความพึง พอใจ 1.1 เนอ้ื หาของเรอ่ื งทเี่ รยี นมีความชัดเจนและเขา้ ใจง่าย 4.00 0.65 มาก 1.2 เนื้อสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของนกั เรียน 3.84 0.70 มาก 1.3 เนื้อทีเ่ รียนมีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถ่นิ 4.05 0.66 มาก 1.4 เนือ้ หามีความยากง่าย เหมาะสมกบั ความสามารถ 3.91 0.71 มาก 1.5 เนอ้ื หาท่ีเรยี นสอดคล้องกบั ความรหู้ รือสิ่งท่ีเคยไดย้ นิ 3.96 0.76 มาก หรอื ประสบการณเ์ ดิมของนักเรียน 1.6 เนื้อหาส่งเสริมใหน้ ักเรยี นเห็นประโยชน์และคณุ ค่า 3.99 0.79 มาก ของการเกษตร 1.7 เนื้อหานาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันได้ 4.29 0.73 มากที่สดุ ตารางท่ี 2 แสดงคา่ เฉลี่ย คา่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชา เกษตรของนกั เรียนท่ีเรยี นวิชาเกษตรดา้ นครูผสู้ อน รายการ ค่าเฉลย่ี S.D. ระดบั ความพึง พอใจ 2.1 บคุ ลิกภาพดี แต่งกายเหมาะสม เรียบรอ้ ย เป็น 4.42 2.42 มากทส่ี ดุ ตวั อย่างที่ดี 2.2 อารมณ์ดี ยิม้ แยม้ แจม่ ใส เป็นกันเอง 4.19 0.79 มาก 2.3 ครูช่วยเหลอื ดแู ลนกั เรียนอย่างใกล้ชิด 4.24 3.15 มากทสี่ ดุ 2.4 ครูตงั้ ใจสอนและเอาใจใส่นกั เรยี น 4.29 3.32 มากทส่ี ดุ 2.5 มีวิธีการสอนหลากหลายแบบ เหมาะสมกบั วัยของ 4.03 0.77 มาก ผู้เรียน 2.6 มีวิธกี ารสอนทีน่ กั เรียนมีความรสู้ ึกอยากเรยี น 4.11 2.51 มาก 2.7 เปดิ โอกาสให้นักเรยี นมีโอกาสแสดงความคดิ เหน็ 3.98 0.74 มาก 2.8 เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน 4.01 0.76 มาก 2.9 ใชอ้ ุปกรณ์และส่ือการสอนได้อย่างถูกต้องและ 4.07 0.74 มาก เหมาะสม 2.10 สรา้ งบรรยากาศการเรยี นการสอนใหน้ า่ เรยี น 4.13 3.16 มาก 2.11 มีกจิ กรรมใหน้ ักเรียนทาอยา่ งหลากหลาย 3.95 0.75 มาก 2.12 มกี ารสาธติ ให้นกั เรยี นดกู ่อนการปฏบิ ัติจรงิ 4.01 2.50 มาก 2.13 ครูใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัตติ รงตามเนอื้ หาหรือหวั ข้อที่ 3.96 0.73 มาก กาหนด

2.14 ครูมีวิธีการสอนเกย่ี วกับการปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4.00 0.81 มาก เหมาะสม มาก มาก 2.15 ครูให้คาชมเชยเม่ือนักเรียนปฏบิ ัติตนไดเ้ หมาะสม 4.10 2.51 มาก 2.16 ครูมีวธิ ีการตาหนิหรอื ลงโทษเม่ือนักเรียนทาผิด ได้ 3.83 0.87 มาก อยา่ งเหมาะสม 2.17 เม่อื นักเรียนทาผิด ครูมีการแนะนาการปฏิบตั ทิ ่ี 4.02 0.82 ถูกต้องให้เสมอ 2.18 ครูสรปุ เน้อื หากอ่ นจบการสอนทุกครง้ั 4.03 0.83 ตารางที่ 3 แสดงค่าเฉลย่ี คา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจในวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ า เกษตรของนกั เรียนทเ่ี รียนวชิ าเกษตรด้านสอ่ื การเรยี นการสอน รายการ ค่าเฉลี่ย S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ 3.1 มีการใช้หนงั สอื คู่มือ เอกสารประกอบการเรียนการ 4.35 3.71 มากที่สดุ สอน 3.2 ครนู าของจริงมาใช้ประกอบการเรยี นการสอน 4.04 0.81 มาก 3.3 นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจดั เตรยี มและใช้สื่ออุปกรณ์ 3.98 4.15 มาก การเรียน การสอน 3.4 ครใู ช้ส่อื และอปุ กรณก์ ารเรยี นการสอนสัมพนั ธ์กบั 4.15 2.50 มาก เนอื้ หาที่เรียน 3.5 มีเครอ่ื งมอื สาหรบั การเกษตรด้านพืช เชน่ กรรไกรตัด 3.77 0.90 มาก กงิ่ เป็นต้น อย่างเพยี งพอ และเหมาะสม 3.6 มเี ครอื่ งมือสาหรบั การเกษตรด้านสัตว์ เชน่ อปุ กรณ์ 3.69 0.88 มาก เลี้ยงสตั ว์ เปน็ ต้น อยา่ งเพียงพอ และเหมาะสม 3.7 มีเครอ่ื งมือสาหรบั การเกษตรด้านการเตรียมดนิ เช่น 3.78 0.93 มาก จอบ เสียม คราด เปน็ ตน้ อย่างเพียงพอ และ เหมาะสม 3.8 มเี ครอื่ งมอื สาหรบั การเกษตรด้านการประมง เช่น 3.88 2.59 มาก อุปกรณ์ การเลยี้ งปลา เปน็ ตน้ อย่างเพียงพอ และเหมาะสม 3.9 มกี ารจัดระบบการจดั เก็บเครอ่ื งมอื เกษตรได้อย่าง 3.78 0.89 มาก เหมาะสม 3.10 ครนู านักเรยี นซ่อมแซมและปรบั ปรุงเคร่อื งมอื 3.71 0.95 มาก เกษตรท่ีชารดุ 3.11 เครื่องมอื เกษตรมสี ภาพท่พี รอ้ มจะใชง้ านได้ 3.74 0.90 มาก

3.12 มีหอ้ งเรยี นอยา่ งเพียงพอและเหมาะสม 3.82 0.95 มาก 3.13 มหี อ้ งปฏบิ ัตกิ ารเกษตรเพยี งพอและเหมาะสม 3.75 0.94 มาก 3.86 0.93 มาก 3.14 มีสถานทีใ่ ชป้ ฏิบัติงานเกษตรเพียงพอ 3.86 0.89 มาก 3.15 สถานทใี่ ชป้ ฏิบัติงานเกษตรมีความเหมาะสม และ 3.87 0.87 มาก สะดวกในการใช้พื้นที่ในการปฏิบตั ิงาน 3.84 0.96 มาก 3.16 มแี หล่งน้าทใี่ ช้ในงานเกษตร 3.75 1.02 มาก 3.17 มคี รภู มู ิปัญญาทอ้ งถิน่ มาสอนวชิ าเกษตรร่วมกบั ครู ในโรงเรยี น 3.18 นกั เรยี นมโี อกาสไปศึกษาดงู านนอกสถานท่ีด้าน เกษตร ตารางท่ี 4 แสดงคา่ เฉลีย่ คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความพงึ พอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชา เกษตรของนกั เรียนทเี่ รยี นวชิ าเกษตรด้านการวดั และประเมนิ ผล รายการ คา่ เฉลี่ย S.D. ระดับความพึง พอใจ 4.1 ครวู ดั และประเมนิ ผลจากความสนใจและความตัง้ ใจ 4.12 0.66 มาก เรียน 4.2 ครูวัดและประเมนิ ผลจากการเข้าร่วมกิจกรรมและ 4.08 0.68 มาก ความพงึ พอใจของผเู้ รยี น 4.3 ครูวดั และประเมินผลจากกระบวนการปฏิบัตงิ าน 4.14 0.71 มาก 4.4 ครวู ดั และประเมินผลจากความรบั ผิดชอบตอ่ การ 4.04 0.72 มาก ปฏบิ ตั ิงาน 4.5 ครูวัดและประเมินผลจากการทางานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ 4.05 0.69 มาก 4.6 ครูวัดและประเมนิ ผลด้วยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 4.24 3.13 มากที่สดุ 4.7 ครูวัดและประเมินผลดว้ ยแบบทดสอบระหวา่ งเรยี น 4.08 0.70 มาก 4.8 ครูวัดและประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบหลังจบเน้ือหา 4.01 0.69 มาก ทเ่ี รยี น 4.9 ครูวดั และประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกบั เน้อื หาท่ีเรียน 4.10 0.70 มาก 4.10 ครวู ดั และประเมนิ ผลหลายครงั้ ดว้ ยวิธีการที่ 4.07 0.76 มาก หลากหลาย 4.11 ครวู ัดและประเมนิ ผลโดยดูจากผลงานของผเู้ รียน 4.01 0.74 มาก 4.12 ครไู ดส้ รปุ ผลการประเมินใหน้ กั เรยี นทราบเป็นระยะ 4.08 0.85 มาก และเสนอแนะแก้ไขปรบั ปรุง

ตารางที่ 5 แสดงคา่ เฉลี่ย ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความพงึ พอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชา เกษตรของนกั เรยี นที่เรียนวชิ าเกษตรในภาพรวม รายการ ค่าเฉลย่ี S.D. ระดบั ความพึง พอใจ 1. ด้านหลักสูตร 4.00 0.48 มาก 2. ดา้ นครูผสู้ อน 4.08 0.65 มาก 3. ด้านส่อื การเรยี นการสอน 3.87 0.69 มาก 4. ด้านการวัดและประเมินผล 4.09 0.58 มาก รวม 4.01 0.46 มาก ตารางท่ี 6 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนวิชาเกษตรของนกั เรียนทเ่ี รยี นวิชาเกษตร รายการ จานวน (คน) 1. ด้านหลักสตู ร 1.1 ควรเน้นการปฏบิ ตั ิและควรมีการให้นกั เรียนได้ปฏบิ ัติเพม่ิ ข้ึน 32 1.2 หลกั สูตรควรกาหนดให้มีระยะเวลาสอนมากขึ้น 30 1.3 ควรใหค้ วามร้ทู ี่เข้าใจง่ายและให้เหมาะสมกบั ความสามารถของนกั เรียนและมี 25 ความหลากหลายในการสอน 1.4 หลักสูตรควรกาหนดใหม้ กี ารสอนทฤษฎีไปพรอ้ มๆ กับการปฏบิ ัติ 12 1.5 ควรจัดใหม้ ีการใช้ความรู้ท่ีเปน็ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินทส่ี ามารถนาไปใช้ใน 8 ชีวติ ประจาวนั 2. ดา้ นครผู สู้ อน 2.1 ครูควรกระตุ้นใหน้ ักเรยี นสนใจเรียนและได้ลองเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 28 2.2 ควรหากจิ กรรมใหน้ กั เรยี นไดท้ าอยา่ งหลากหลายมากขน้ึ 25 2.3 ควรมคี รเู กษตรเพ่ิมข้นึ 21 2.4 อยากใหค้ รชู ่วยเหลือนกั เรยี นอย่างใกล้ชิดในการเรยี นภาคปฏิบัติ 15 2.5 ครคู วรจดั การสอนให้มีการปฏิบตั ิมากขึ้น 12 2.6 ครคู วรสอนแบบสบายๆ เพ่อื ใหน้ ักเรียนได้ปฏบิ ตั เิ ตม็ ท่ี 11 3. ด้านส่ือการเรยี นการสอน 3.1 ควรมวี ัสดอุ ุปกรณ์ในการฝกึ ปฏิบัติวิชาเกษตรอย่างเพียงพอ 33 3.2 ควรมสี อื่ ของจริงมาใช้ในการเรยี นการสอน 30 3.3 ควรจดั พื้นท่แี ปลงเกษตรให้เล็กลงเพอ่ื การดูแลทส่ี ะดวก ควบคุมได้ และเกิด 28 ประโยชน์สงู สดุ ต่อการเรยี นการสอน 3.4 ควรมีหอ้ งทดลองด้านการเกษตร 18 3.5 ควรจัดทาแปลงสาธิตท่ที ันสมัย และเห็นผลผลิตทางการเกษตรอย่างครบวงจร 15 3.6 ควรมีสอื่ ในธรรมชาติท่ีมีในท้องถ่ินมาใช้ประกอบการสอน 15

4. ดา้ นการวดั และประเมินผล 12 4.1 ควรประเมนิ ผลก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 10 4.2 ควรมีการประเมนิ ผลตลอดเวลา เพื่อให้นกั เรยี นได้ปรับปรงุ แกไ้ ขให้ดขี ึ้น 5.3 ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในวิธีการเรียนการสอนวิชาเกษตรของนักเรียนที่เรียน วิชาเกษตรที่มีเพศและระดับการศึกษาต่างกัน โดยใช้ค่า t-test แบบ Independent Samples Test พบวา่ นักเรียนท่ีมีเพศแตกต่างกันและมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความพึงพอใจในวิธีการเรียนการ สอนวิชาเกษตรในภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเม่ือพิจารณาความ พงึ พอใจเปน็ รายดา้ นพบวา่ นักเรียนท่ีมเี พศแตกตา่ งกนั และมีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ไมแ่ ตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05 ในทกุ ดา้ นเช่นเดียวกนั ซ่งึ ได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้าน ครผู ้สู อน ด้านสื่อการเรยี นการสอน และด้านการวัดและประเมนิ ผล ดังข้อมูลท่ีแสดงไว้ในตารางที่ 7 และ ตารางที่ 8 ตารางที่ 7 ผลการเปรียบเทียบความพงึ พอใจของนักเรยี นท่มี เี พศต่างกนั รายการ ชาย (N = 67) หญงิ (N = 212) t. sig คา่ เฉล่ีย S.D. คา่ เฉล่ยี S.D. 0.662 0.508 1.183 0.238 1. ด้านหลักสูตร 4.04 0.49 3.99 0.47 1.714 0.088 0.921 2. ดา้ นครูผสู้ อน 4.16 0.80 4.05 0.60 - 0.099 0.372 3. ด้านสื่อการเรียนการสอน 4.00 0.49 3.83 0.74 0.894 4. ดา้ นการวัดและประเมินผล 4.08 0.48 4.09 0.61 รวม 4.05 0.41 3.99 0.47 ตารางท่ี 8 ผลการเปรยี บเทยี บความพึงพอใจของนกั เรียนทีม่ ีระดบั การศึกษาต่างกนั รายการ มธั ยมต้น (N = มธั ยมปลาย (N = t. sig 54) 225) 0.883 ค่าเฉลยี่ S.D. ค่าเฉลีย่ S.D. 0.115 1. ดา้ นหลักสูตร 4.00 0.45 4.01 0.48 - 0.921 0.313 0.148 0.825 2. ด้านครผู สู้ อน 3.95 0.64 4.11 0.65 - 1.583 3. ด้านสือ่ การเรียนการสอน 3.88 0.58 3.87 0.71 0.099 4. ด้านการวัดและประเมินผล 4.16 0.48 4.07 0.61 1.012 รวม 4.00 0.43 4.01 0.47 - 0.221

อภิปรายและสรปุ ผล ความพงึ พอใจในวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเกษตรของนักเรียนทเี่ รียนวิชาเกษตรในภาพรวม พบว่า นักเรียนมีความ พึงพอใจในวิธีการจัดการเรียนการสอนวิชาเกษตรในระดับมาก ท้ังด้านหลักสูตร ด้าน ครูผ้สู อน ดา้ นส่ือการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล โดยมีบางรายการที่มีระดับความพึง พอใจของนักเรียนในระดับมากท่ีสุด ซึ่งมีรายการท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงท่ีสุดที่อยู่ในด้านครูผูสอน คือ การที่ ครูผ้สู อนมีบุคลกิ ภาพดี แตง่ กายเหมาะสม เรียบร้อยและเป็นตัวอย่างท่ีดี (ค่าเฉลี่ย = 4.42) ซึ่งแสดงให้ เห็นว่านักเรียนท่ีเรียนวิชาเกษตรน้ันให้ความสาคัญต่อประเด็นน้ีมากที่สุด สอดคล้องกับ ฉวีวรรณ เรือง ชาญ[8] ที่พบว่า นักเรียนให้ความสาคญั และมีความเห็นว่าครผู ู้สอนวิชางานเกษตรพ้ืนฐานแต่งกายสุภาพ เรยี บร้อยมากทส่ี ดุ จากการศกึ ษาความคดิ เหน็ ทมี่ ตี อ่ การเรยี นการสอนวิชางานเกษตรพนื้ ฐานของนักเรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองจอก กรุงเทพมหานคร และสอดคล้องกับ มยุรี เศวตนัย[9] ทพี่ บว่านักเรียนช้ันประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ระบุถึงคุณลักษณะของครูท่ีดีในระดับแรก คือ การมบี คุ ลิกภาพดี ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี มีความรดู้ ี แตง่ กายสะอาด สุภาพ ย้มิ แยม้ แจ่มใส มีอารมณ์ดี ครคู วรวางตัวเป็นแบบอย่างทดี่ ีแกศ่ ิษย์ จากการศึกษาเรอ่ื งคณุ ลกั ษณะของครูที่ดีตามแนวคิดของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร นอกจากนแี้ ล้วนกั เรยี นยงั ใหม้ คี วามพงึ พอใจในระดับมากที่สุดใน ด้านครูผู้สอนในประเด็น ครูให้ความช่วยเหลือดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด และครูตั้งใจสอนและเอาใจใส่ นักเรียน ซ่งึ สอดคล้อง มยุรี เศวตนัย[9] ที่พบว่า นกั เรียนชั้นประถมศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร ระบุถึง คุณลักษณะของครูที่ดีในด้านคุณธรรม จริยธรรม ว่าครูท่ีดีควรเป็นผู้ให้คาปรึกษา ให้ความยุติธรรม ให้ อภัยเหน็ คณุ คา่ ของศิษย์ มคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจริตและมคี วามเมตรกรณุ า แก่ศิษย์ ด้านส่ือการเรียนการสอน พบว่า นักเรียนใหค้ วามสาคัญประเด็นที่มีการใช้หนังสือ คู่มือ เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนมากท่ีสุด รวมทั้งการท่ีครูนาส่ือของจริงมาประกอบการสอนและมี ความสัมพนั ธก์ ับเนื้อหา ซึง่ เปน็ ประเด็นที่มีคา่ เฉลี่ยระดับความพึงพอใจมากในระดับต้นๆ แสดงให้เห็นว่า การสอนวิชาเกษตร ยงั จาเป็นอย่างย่งิ ตอ่ การทคี่ รูผู้สอนจะตอ้ งจดั เตรียมส่อื ที่เป็นของจริง ซงึ่ สอดคล้องกับ ข้อเสนอแนะตอ่ การพัฒนาการเรยี นการสอนวิชาเกษตรของนักเรียน ได้แก่ ควรมีส่ือของจริงมาใช้ในการ เรยี นการสอน ควรมีสือ่ ในธรรมชาติท่ีมีในท้องถิ่นมาใช้ประกอบการสอน ควรจัดทาแปลงสาธิตที่ทันสมัย และเห็นผลผลิตทางการเกษตรอย่างครบวงจร และ ควรมีห้องทดลองด้านการเกษตร เป็นต้น จาก ขอ้ เสนอแนะน้นั แสดงใหว้ า่ การมีส่ือของจริงในการสอนวิชาเกษตรอย่างเพียงพอ ทันสมัย และเหมาะสม แล้วอาจจะสามารถทาให้ผู้เรียนมีความสนใจและมีทัศนคติที่ดีและมีความพึงพอใจในการเรียนการสอน วิชาเกษตรเพิ่มข้ึนได้มาก ซ่ึงสอดคล้องกับ อัมพล สุขศร[10] ได้ศึกษาปัญหาบางประการท่ีมีผลต่อการ สอนภาคปฏบิ ตั ิวชิ าเกษตรในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา เขตการศกึ ษา 12 พบว่า นกั เรยี นมีความคิดเห็นว่าควร เพิ่มสือ่ การเรยี นการสอนวิชาเกษตรให้มากขน้ึ เพือ่ ก่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ให้ เกิดข้ึนกับนกั เรียนให้มากทส่ี ุด โดยเหน็ ไดจ้ ากท่ีนักเรียนมคี วามพงึ พอใจการเรียนการสอนวิชาเกษตรด้าน สอ่ื การเรยี นการสอนโดยเฉลีย่ เพยี งระดับปานกลางทกุ รายการ ด้านการวัดและประเมินผล นกั เรยี นมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดต่อการที่ครูผู้สอนมีการวัด และประเมินผลด้วยการทดสอบก่อนเรียน รวมท้ังครูผู้สอนมีการวัดและประเมินจากกระบวนการ

ปฏิบตั ิงาน ความสนใจและความต้งั ใจเรียน ในระดับมาก ในด้านน้ีนักเรียนยังมีข้อเสนอแนะท่ีน่าสนใจคือ ครูผสู้ อนควรมกี ารประเมนิ ผลตลอดเวลา เพอื่ ให้นักเรยี นไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขให้ดีข้นึ ดงั น้ันครผู ูส้ อนจึงควรให้ ความสาคัญในประเด็นเรอ่ื งการประเมินควบคูก่ ับการการแนะนาการปรบั ปรงุ ตัวของผู้เรียนไปพร้อมๆ กัน นอกจากนแ้ี ลว้ นักเรียนมขี อ้ เสนอแนะในการพฒั นาการเรียนการสอนวชิ าเกษตรในประเด็น หลักสูตร ควร เนน้ การปฏิบตั ิและควรมกี ารให้นักเรียนได้ปฏิบัติเพิ่มขึ้น กาหนดให้มีระยะเวลาสอนมากขึ้น กาหนดให้มี การสอนทฤษฎีไปพร้อมๆ กับการปฏิบัติ และจัดให้มีการใช้ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สามารถ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งสอดคล้องการธรรมชาติของการสอนวิชาเกษตรท่ีเน้นการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับ ภัคพงศ์ ปวงสขุ [1] ทกี่ ลา่ วว่า ปรัชญาของการศึกษาเกษตรน้ันเน้นหลักของการเรียนรู้ด้วย การปฏิบัติจริง การศึกษาเกษตรเป็นการศึกษาแบบต่อเน่ือง โรงเรียนหรือสถานศึกษาเกษตรเป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชน วิชาการเกษตรเป็นวิชาการท่ีทันสมัยอยู่เสมอ ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษาเกษตร จากผลการเปรียบเทยี บระดับความพึงพอใจในวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเกษตรของนกั เรยี นทเี่ รยี น วิชาเกษตรท่ีมีเพศและระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า นักเรียนที่มีเพศแตกต่างกันและมีระดับการศึกษา แตกตา่ งกนั มคี วามพงึ พอใจในวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเกษตรในภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถติ ิที่ระดับ 0.05 ซง่ึ อาจจะเน่ืองจากนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมาจากครอบครัวท่ีประกอบอาชีพ หลักดา้ นเกษตรกรรม ถึงรอ้ ยละ73.84 จงึ ทาให้มคี วามเข้าใจหรือมีทักษะพื้นฐานเบ้ืองต้นด้านเกษตรอยู่ แล้ว รวมท้ังอาจจะเกิดจากสภาพแวดล้อมของโรงเรียนที่เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรและรอบบริเวณ โรงเรยี นก็เป็นพ้ืนที่ทาการเกษตรของชุมชนรอบๆ โรงเรียน จึงอาจจะเป็นสาเหตุท่ีทาให้นักเรียนท้ังชาย และหญิงท่ีเรียนอยู่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชา เกษตรทไี่ มแ่ ตกต่างกนั

ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอจากผลการวิจยั และข้อเสนอเพ่ือวิจยั คร้ังตอ่ ไปมีดงั น้ี 7.1 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือใหส้ ามารถนาข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการศึกษาระดับความพึงพอใจในวธิ ีการเรยี น การสอนวชิ าเกษตรดงั น้ี 7.1.1 จากผลการวจิ ัยพบว่า เนื้อหาวิชาเกษตรท่ีสอนมีความสอดคล้องกับความต้องการ ของผเู้ รยี นมคี า่ เฉลยี่ น้อยกว่าทุกรายการ ดงั นัน้ ครผู ้สู อนควรจดั ทาหลักสูตรท่ีให้ชมุ ชน ผูป้ กครอง นักเรียน มีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตรเพื่อให้หลักสูตรมีเนื้อหาท่ีสอดคล้อ งกับความต้องการของผู้เรียนและ ท้องถ่นิ 7.1.2 จากผลการวจิ ยั พบว่า ครูผู้สอนวิชาเกษตรมีวิธีการตาหนิหรือลงโทษเม่ือนักเรียน ทาผิดได้อย่างเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าทุกรายการ ดังนั้นครูผู้สอนควรหามาตรการ วิธีการใน ช่วยเหลือนักเรียนท่ีทาผิด เพ่ือให้นักเรียนไม่ต้องมีการทาผิดซ้า เช่น การกากับดูแลอย่างใกล้ชิด การ มอบหมายงานให้สอดคล้องกบั ความรู้ ความสามารถของนักเรียน การกล่าวยกย่องชมเชยเมื่อนักเรียนทา ดี เปน็ ตน้ เพ่ือเป็นการลดข้อผดิ พลาดของนกั เรียนใหไ้ ดม้ ากท่สี ุด 7.1.3 จากผลการวิจัยพบว่า มีเคร่ืองมือสาหรับการเกษตรด้านสัตว์ เช่น อุปกรณ์การ เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น มีอย่างเพียงพอและเหมาะสมแต่มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าทุกรายการ ดังนั้นครูผู้สอนควร จัดการเรียนการสอนวิชาเกษตรดา้ นสตั ว์ทม่ี กี ารใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ท่ีมรี าคาไมแ่ พง หาไดง้ า่ ย หรอื เลือกจัดการ เรียนการสอนวชิ าเกษตรด้านสัตว์ท่มี ีการเลี้ยงอยู่ในทอ้ งถนิ่ เพราะจะทาให้ให้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์มาใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไดส้ ะดวกและง่ายข้ึน 7.1.4 จากผลการวิจัยพบว่า ครูวัดและประเมินผลด้วยแบบทดสอบหลังจบเน้ือหาท่ีเรียน และครูวัดและประเมินผลโดยดูจากผลงานของผู้เรียน มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่ารายการอ่ืน ดังน้ันครูผู้สอนทา การสอนในเนอื้ หานัน้ จบ ควรทาการทอดสอบทา้ ยชวั่ โมงเพ่ือทาใหผ้ สู้ อนทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียนว่า ผเู้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจมากน้อยเพียงใด โดยครผู ู้สอนอาจประเมนิ โดยการทาแบบทดสอบ การอธิบาย สรปุ เนื้อหา อธบิ ายขนั้ ตอนการทางาน การทางานเป็นรูปเล่มส่ง เป็นต้น นอกจากนั้นครูผู้สอนควรมีการ ตรวจให้คะแนนการปฏิบัติงานของนักเรียนทุกๆ ขั้นตอนเพื่อทาให้ทราบถึงข้ันตอนต่างๆ ในการทางาน และตรวจให้คะแนนผลสาเร็จของงาน 7.2 ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การทาการวิจยั ในคร้งั ตอ่ ไปดงั นี้ จากขอ้ เสนอแนะของนักเรียนที่เรียนวิชาเกษตร พบว่า นักเรียนเสนอแนะด้านหลักสูตรท่ีควรมี การเน้นการปฏิบัติและระยะเวลาการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น การกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ จัด กิจกรรมที่หลากหลาย เป็นต้น ดังนั้นควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบวิธีการสอนวิชาเกษตร ที่มีความ สอดคล้องเหมาะสมสาหรบั การจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ทกั ษะปฏิบตั ิเพ่ือเพ่ิมเจตคติท่ีดีต่อการเรียนการ สอนวิชาเกษตร และควรมีการวิจัยและพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานวิชาเกษตรโดยใช้แปลงเกษตรใน โรงเรยี น

เอกสารอา้ งอิง [1] ภคั พงศ์ ปวงสขุ . 2557. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การศกึ ษาเกษตร. พิมพ์คร้งั ที่ 3. กรงุ เทพฯ: มีนเซอร์วิส ซพั พลาย ลิมติ เต็ด พาทเนอรซ์ ิพ. 260 น. [2] สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานกั นายกรฐั มนตร.ี 2553. พระราชบญั ญัติการศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. [3] ทวปี อภสิ ทิ ธิ์. 2524. ยทุ ธศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจรญิ วทิ ยก์ ารพมิ พ.์ 123 น. [4] วินิจ โชติสวา่ ง. 2539. เอกสารประกอบคาสอนวชิ าหลกั และวิธีการสอนวชิ าเกษตร. ชลบรุ ี: ภาควิชาเกษตรศึกษาบางพระ คณะเกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต บางพระ. 274 น. [5] รมณยี ์ อาภาภริ ม. 2531. วิธีการสอนวชิ าเกษตร. กรุงเทพฯ: โครงการตาราคณะครศุ าสตร์ อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง. 215 น. [6] พรรณี ลีกจิ วฒั นะ. 2555. วธิ วี จิ ยั ทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มีน เซอร์วสิ ซพั พลาย. 408 น. [7] รวิวรรณ ชินะตระกลู . 2533. ค่มู ือการทาวิจยั ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. [8] ฉวีวรรณ เรอื งชาญ. 2540. “ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวชิ าชพี ครเู กษตรใน รายวชิ าต่างๆ ของนกั เรียนเกษตร สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วิทยาเขตสรุ ินทร์ ปกี ารศกึ ษา 2540”. ปัญหาพิเศษครุศาสตร์อตุ สาหกรรมบณั ฑติ คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง [9] มยรุ ี เศวตนัย. 2542. “คุณลกั ษณะของครูที่ดีตามแนวคิดของนกั เรยี นประถมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานคร”. วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทยิ าลัยเกษตรศาสตร.์ [10] อัมพล สุขศร. 2543. “ปญั หาบางประการท่มี ีผลตอ่ การสอนภาคปฏบิ ัติวชิ าเกษตรในโรงเรียน มัธยมศึกษา เขตการศกึ ษา 12”. วทิ ยานพิ นธว์ ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาครศุ าสาตร์ เกษตร บณั ฑิตวิทยาลยั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง