เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย

ยุคสมัยของดนตรีไทย

1 สมัยก่อนสุโขทัย(สมัยน่านเจ้า)
ในสมัยนี้ไม่มีหลักฐานแน่นอนเป็นเพียงข้อสันนิษฐานจากการอ้างอิงหลายบทความกล่าวว่าได้พบเพลงไทยในโบราณยุคน่านเจ้า ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ กล่าวว่ากษัตริย์ไทยแห่งอาณาจักรน่านเจ้าได้ส่งวงดนตรีไปแสดงในราชสำนักจีน ข้อสันนิษฐานนี้แสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านดนตรีไทยหรือการเกิดดนตรีไทยตั้งแต่สมัยก่อนสุโขทัย


2 สมัยสุโขทัย
จากการรวบรวมหลักฐานที่ปรากฏสรุปได้ว่าสมัยสุโขทัยมีการผสมวงดนตรีในรูปแบบของการขับไม้มีผู้แสดง 3 คน ผู้ขับร้อง ผู้สีซอสามสาย และผู้ทำหน้าที่ไกวบัณเฑาะว์ การขับไม้ใช้ในพิธีสมโภชพระมหาเศวตฉัตรหรือการสมโภชช้างเผือก ลักษณะของเนื้อร้องคล้ายกาพย์ยานีเรียกว่าการขับไม้


3 สมัยอยุธยา
สมัยนี้ดนตรีเจริญมากมีการประสมวงเกิดขึ้น ได้แก่วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย การขับไม้เพิ่มจาก 3 คนเป็น 4 คนเรียกว่ากองมโหรีเครื่องสี่ บทเพลงนิยมเพลงอัตราจังหวะ 2 ชั้นมากกว่าจังหวัดอื่น


 
การศึกษาเรื่องราวของดนตรีไทยนั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบถึงแหล่งกำเนิด ความเป็นมา และวิวัฒนาการของดนตรีไท่ยในแต่ละยุคสมัย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความซาบซึ้ง  มองเห็นคุณค่าของดนตรีไทย อันเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมประจำชาติไทย ซึ่งการแบ่งยุคสมัยทางดนตรีของไทยจะนิยมกำหนดตามยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  ดังต่อไปนี้
          1. สมัยสุโขทัย
           สมัยสุโขทัยนับเป็นสมัยเริ่มต้นที่คนไทยรวตัวกันเป็นชาติอย่างสมบูรณ์  แทนที่จะเป็นเพียงอาณาจักรที่มีเขตอิทธิพลอย่างจำกัดดังแต่กอ่น เรื่องราวของสุโขทัยมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เมื่อพ่อขุนรามคำแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยและจารึกเรื่องราวต่างๆ ลงในหลักศิลาจารึก  และจากศิลาจารึกนี้เองทำให้คนรุ่นหลังทราบว่าสมัยสุโขทัยเป็นยุคสมัยหนึ่งที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ  การเมือง  การทหาร  ภาษา  และศิลปวัฒนธรรม  ชาวเมืองมีเครื่องเล่นสร้างควงามรื่นเริงบันเทิงใจ  และมีอิสระเสรีที่จะแสดงออกในเรื่องราวของบทเพลงและดนตรี  เพลงและเรื่องราวของดนตรีบางส่วนจึงปรากฏอยู่บนหลักศิลาจารึก  เช่น ข้อความที่ว่า "เสียงพาทย์ เสียงพิณ  เสียงเลื่อน  เสียงขับ" แสดงให้เห็นว่า ในสมัยสุโขทัยมีการนำดนตรีมาใช้ในกิจกรรมต่างๆ ทั้งในราชสำนักและประเพณีของราษฎร
           เครื่องดนตรีที่ปรากฏหลักฐานว่ามีการใช้กันในสมัยสุโขทัย เช่น บัณเฑาะห์  สังข์  แตรงอน (กาหล)  แตรเขาควาย (พิสเนญชัย) พิณเพียะ หรือเบี๊ยะะพวง  กรับคู่  มโหระทึก ฆ้อง  กลอง  กังสดาล ฉิ่ง ฉาบ เป็นต้น  เพลงไทยที่ปรากฏขึ้นในสมัยนี้ได้แก่  เพลงเทพทอง หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "เพลงสุโขทัย"
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
พิณน้ำเต้า

เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
แตรเขาควาย
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
แตรสังข์

เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
แตรงอน
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
มโหระทึก


เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
กังสกาล
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
                     บัณเฑาะห์



          2. สมัยอยุธยา
           สมัยอยุธยาดนตรีมีการพัฒนาในหลายๆด้าน ทั้งนี้ เพราะอยุธยาเป็นราชธานียาวนนานถึง 417 ปีจึงมีการติดต่อสัมพันธ์กับชาติต่างๆ หลายชาติ ดดยผ่านทางการเมือง  การค้า และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม  เชื่อกันว่าในสมัยอยุธยาดนตรีไทยน่าจะมีความเจริญมาก  ทำให้ประชาชนนิยมเล่นดนตรีกันมากมาย  แม้แต่ในเขตพระราชฐาน  จนกระทั่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนถ (พ.ศ.1991-2031) ต้องมีกฏมณเฑียรบาลกำหนดว่า "ห้ามร้องเพลงเรือ  เป่าขลุ่ย เป่าปี่  สีซอ ดีดกระจับปี่  ดีดจะเข้  ตีโทนทับ ในเขตพระราชฐาน"
            เครื่องดนตรีในสมัยอยุธยาบางชนิดรับช่วงมาจากสมัยสุโขทัย  แต่ได้มีการพัฒนาในการคิดสร้างเครื่องดนตรีขึ้นมาอีกหลายชิ้นจำทำให้ดครื่องดนตรีในสมัยนี้มีครบเกือบทุกประเภท  เช่น กระจับปี่  จะเข้ (พัฒนามาจากเครื่องดนตรีของมอญ) พิณน้ำเต้า  ซอสามสาย ซออู้  ซอด้วง ขลุย กรับคู่  กรับเสภา  ระนาดเอก  ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องชัย  ฆ้องโหม่ง ฉิง  ฉาบ ตะโพน  โทน  รำมะนา  กลองทัด กลองตุ๊ก ปี่ใน ปี่กลาง แตรงอน  แตรสังข์  เป็นต้น

เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย



เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
ซออู้
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
ซอด้วง
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
จะเข้
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
ตะโพน
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
กลองตุ๊ก (กลองชาตรี)
เครื่องดนตรีสมัยก่อนสุโขทัย
ปี่ใน
             เพลงที่ปรากฏในสมัยนี้ สามารถจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ
          1. เพลงมโหรี ใช้วงมโหรีบรรเลง มีไว้สำหรับบรรเลงขับกล่อม  เพลงที่บรรเลงมี 2 ชนิด คือ เพลงตับและเพลงเกร็ด ซึ่งมีตำราเพลงมโหรีปราฏกรายชื่อตกทอดมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ถึงจำนวน 197 เพลง
           2. เพลงปี่พาทย์  ใช้วงปี่พาทย์ มีไว้สำหรับบรรเลงประกอบการแสดงโขน  ละคร และใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรมต่างๆ เพลงที่บรรเลง เช่น เพลงหน้าพาทย์ เพลงประกอบละคร เพลงเรื่อง เป็นต้น
           3. เพลงภาษา เป็นเพลงไทยที่มีสำเนียงของชาติต่างๆ มักใช้เพลงประกอบตัวละครตามเชื้อชาติ นั้นๆ เช่น เพลงสำเนียงภาษาจีน เพลงาสำเนียงมอญ  เป็นต้น

                                                                ตัวอย่างเพลงภาษา
















ผลิตภัณฑ์ WINKWHITE

เครื่องดนตรีในยุคก่อนสมัยสุโขทัย มีอะไรบ้าง

ดนตรีไทยสมัยก่อนกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี มีประวัติความเป็นมาควบคู่กับชนชาติไทย ก่อนที่จะอพยพมาสู่ถิ่นแหลมทองในปัจจุบัน เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่ค้นพบคือ กลองและแคน ต่อมาได้พัฒนาจากแคนเป็นปี่ซอและขลุ่ย ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่า เพราะทำได้ง่ายเพียงแต่เจาะรูแล้วทำเครื่องบังคับลมก็สามารถเป่าเป็นเสียงดนตรีได้แล้ว

เครื่องดนตรีชนิดใดเกิดในสมัยสุโขทัย

ส่วนวรรณกรรมลายลักษณ์ในสมัยสุโขทัยอีกเรื่องหนึ่งคือไตรภูมิกถานั้นปรากฏเครื่อง ดนตรีดังนี้แตร สังข์ปี่ไฉน พิณ ซอพุงตอ พาทย์ฆ้อง กังสดาล ฉิ่ง แฉ่ง บัณเฑาะว์

เพลงสมัยก่อนสุโขทัยมีอะไรบ้าง

เพลงรัวสามลา,เพลงเสมอ เพลงพญาเดิน,พญาสี่เสา ,พญาโศก เพลงเทพทอง เพลงนางนาค และเพลงขับไม้บัณเฑาะว์

ดนตรีในสมัยสุโขทัยคือข้อใด

วงดนตรีไทย ที่ปรากฏในสมัยสุโขทัย ดังนี้ • วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ ปี่ฆ้องวง ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง • วงขับไม้ประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ คนขับลานา ซอสามสาย บัณเฑาะว์