แผนการ จัดการ เรียน รู้ ภาษาไทย ม.2 ท 22101

ปีการศึกษา

ชั้น

กลุ่มสาระ

ชั่วโมง 13

แผนการสอนโดย ครูฟารีดะห์ เบญญากาจ และ ครูรุ่งพิรุณ เขื่อนรอบ

ครูผู้สอน ครูฟารีดะห์ เบญญากาจ และ ครูรุ่งพิรุณ เขื่อนรอบ

กําหนดการรายชั่วโมง

ครูฟารีดะห์ เบญญากาจ และ ครูรุ่งพิรุณ เขื่อนรอบ
ภาษาไทย

๑. ด้านการเรียนการสอน

    ๑.๑ การสอน

        ๑.๑.๑ ภาระงานชั่วโมงสอน(คาบ/สัปดาห์)

        ๑.๑.๒ ภาระงานสอนชั่วโมงสอนรายวิชาร่วมหรือภาระงานรายชั่วโมง

        ๑.๑.๓ ผลการประเมินของนักเรียน

     ๑.๒ เว็บไซต์ส่วนตัว

        ๑.๒.๑ โครงการสอน /แผนการสอน

        ๑.๒.๒ เอกสารประกอบการสอน / สื่อการเรียนการสอน

     ๑.๓ การพัฒนากระบวนการสอน 

        ๑.๓.๑ คะแนนสอบภาษาอังกฤษ

๒. ด้านการวิจัย / งานสร้างสรรค์

      ๒.๑ แหล่งทุนวิจัย

      ๒.๑.๑ แหล่งทุนส่วนตัว หรืองานวิจัยในชั้นเรียน

      ๒.๑.๒ แหล่งทุนงบประมาณมหาวิทยาลัย

     ๒.๒ การเผยแพร่งานวิจัย

          ๒.๒.๒ การเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ระดับนานาชาติ

          ๒.๒.๕ วารสารตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SJR, ISI และ SCOPUS 

๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคมและวัฒนธรรม

     ๓.๑ การบริการวิชาการแก่สังคม

          ๓.๑.๑ การพัฒนานักเรียนตาม Road map ของกลุ่มสาระฯ 

     ๓.๒ การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม

          การเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมของมหาลัย โรงเรียน

๔. ภาระงานที่ได้รับมอบหมายของหน่วยงาน

    ๔.๒ การปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษา

        ๔.๒.๑ การควบคุมแถวหน้าเสาธง

        ๔.๒.๒ การเข้าโฮมรูมนักเรียน

        ๔.๒.๓ การพัฒนานักเรียน

    ๔.๔ การปฏิบัติงานหน้าที่อื่นภายในโรงเรียน

         ๔.๔.๕ งานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

         ๔.๔.๑๘ ภาระงานด้านการสอนส่วนที่เกินจากเกณฑ์ที่กำหนด

                 - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการสอนเสริม ๒๕๖๒

                 - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการสอนปรับพื้นฐาน ๒๕๖๓

       ๔.๔.๑๙ งานจัดโครงการกิจกรรมวันสำคัญ/กิจกรรมพิเศษ

                - คำสังแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานสายสัมพันธ์ ครั้งที่ ๓๕

                - แต่งตั้งกรรมการเข้าค่ายลูกเสือเนตรนารี

       ๔.๔.๒๐ งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

                - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการทบทวนและติดตามการจัดการเรียนการสอนตาม Road Map

                - แต่งตั้งคระกรรมการการดำเนินงานรับนักเรียนเข้าศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ , ๔ ประเภทสอบคัดเลือก ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

                - แต่งตั้งอาจารย์เวรประจำวัน

                - แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ตรวจเวรและอยุ่เวร ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID - 19 

                - แต่งตั้งคณะกรรมการสหการ

                - แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการบรรยายพิเศษ

- ขอความท่กี ลาวถงึ พระราชประวัติ (เชน “พอกชู ื่อศรอี ินทราทติ ย แมกูช่อื นางเสอื ง”)
- ขอ ความท่แี สดงถึงระบบการเมืองการปกครอง (เชน “พกี่ ูตายจงึ่ ไดเ มืองแกกทู ้งั กลม”)
กลุมใดยกมือตอบไดเ ร็วทส่ี ุด และถูกตอ งเปนฝา ยชนะ
5. นักเรียนกลุมเดมิ สง ตัวแทนออกมาจับฉลากหมายเลขกลุม แลวปฏบิ ัตกิ จิ กรรมดงั น้ี

กลุมท่ี ๑ กับกลมุ ท่ี ๔ อธิบายคณุ คาดานเนอ้ื หาของศลิ าจารึก หลักท่ี ๑
กลมุ ท่ี ๒ กบั กลุมที่ ๕ อธิบายคุณคาดานวรรณศิลปของศลิ าจารึก หลักที่ ๑
กลมุ ที่ ๓ กับกลุมท่ี ๖ อธบิ ายคุณคาดานสังคมของศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑
ตัวแทนกลุม ออกมานำเสนอบนกระดานใหเ พอ่ื น ๆ และครชู วยกนั เพ่ิมเติมใหส มบูรณ
6. นกั เรียนทำใบกจิ กรรม เร่ือง การอธบิ ายคุณคาวรรณคดี
7. นักเรียนรวมกันพิจารณาวาศิลาจารึกพอขุนรามคำแหงมีคุณคาตอชีวิตนกั เรยี นอยางไรบาง แลว
รว มกนั เขยี นขอ สรปุ ทีไ่ ดบ นกระดาน ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติม
8. นักเรียนและครูรวมกันสรปุ ความรู ดงั น้ี
 คุณคาของศิลาจารึก ดีเดนทั้งดานวรรณศิลปทีใ่ ชคำงา ย ๆ มีสัมผัสคลองจอง ดานเนื้อหาท่ี
สอดแทรกขอคิดในการดำเนินชีวิตหลายประการ และดานสังคมที่สะทอนภาพสังคมไทย การตระหนักใน
คณุ คา ของศิลาจารกึ ทำใหเกิดความรกั และหวงแหนความเปน ไทย
คาบเรียนที่ 13
๑. นกั เรียนรวมกนั สนทนา โดยครูใชคำถาม ดังนี้
- ผนู ำที่ดีควรมลี กั ษณะอยางไร
2. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓-๕ คน ทบทวนความรู เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ แลวบอกความรูท่ี
ไดร ับจากการอาน จากนัน้ ออกมานำเสนอหนา ช้นั เรยี น ครใู หคำแนะนำและเสนอแนะเพิ่มเตมิ
3. นักเรียนออกมาเลาพระราชจริยวัตรของพอขุนรามคำแหงมหาราชที่ประทับใจ พรอมทั้งบอก
เหตุผล
4. นักเรยี นทำใบกิจกรรม เรือ่ ง การสรุปความรแู ละขอ คดิ จากศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ ครตู รวจผลงานของ
นักเรียนเปน รายบคุ คล
5. นักเรียนกลุมเดิมแสดงบทบาทสมมุติ โดยแตงเรื่องราวใหมีขอคิดที่สอดคลองกับเรื่องราวใน
ศลิ าจารึกหลักท่ี ๑ ครูและนักเรียนรว มกันประเมินผลงาน
6. นักเรียนกลุมเดิมนำขอคิดที่ไดจากเรื่องที่แสดงบทบาทสมมุติมาเขียนผังความคิด แลวออกมา
นำเสนอหนา ชั้นเรียน ครูและนกั เรยี นรว มกนั แสดงความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ
7. นักเรยี นและครูรวมกนั สรปุ ความรู ดังน้ี
 การสรปุ ความรูและการนำขอคิดท่ีไดจากการอานไปประยุกตใชในชวี ิตจริงจะทำใหการอาน
วรรณคดีเร่ืองนั้น ๆ เกดิ ประโยชนในการดำเนนิ ชวี ติ และรูจกั แกปญ หาที่เกดิ ขน้ึ
10. การประเมินผล
ชิน้ งานหรอื ภาระงาน
1) อานออกเสียงศิลาจารกึ หลกั ที่ 1
2) เขียนผังความคดิ นำเสนอความรู
3) ใบกจิ กรรม หลกั การเขียนเรียงความ
4) เขยี นเรยี งความเกีย่ วกบั ประสบการณ
5) ใบกจิ กรรม จำแนกประโยคและวลี

6) ใบกจิ กรรม ประโยคสามญั
7) ใบกิจกรรม ประโยครวม
8) ใบกิจกรรม ประโยคซอ น
9) ใบกิจกรรม สรุปเนอ้ื หาศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑
10) ใบกิจกรรม การวิเคราะหส ภาพสงั คมในสมยั สุโขทยั จากศิลาจารกึ
11) ใบกจิ กรรม วิเคราะหคุณคาศิลาจารกึ หลกั ที่ 1
12) ใบกจิ กรรม การสรุปความรูและขอคิดจากศลิ าจารึกหลกั ที่ 1
เกณฑก ารประเมนิ ผลชิ้นงานหรือภาระงาน
ระดับคณุ ภาพ
ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช) 1 (ปรบั ปรงุ )
ไมส นใจทำกจิ กรรม
1. ความสนใจและความ มีความสนใจในการ มคี วามสนใจในการ มคี วามสนใจใน และทำกจิ กรรมไม
ถกู ตองในการทำกจิ กรรม ทำกจิ กรรมได ทำกิจกรรมได การทำกิจกรรม ครบถวน
ถูกตองครบถวน ครบถวน ยังไมค รบถว น ไมสนใจทำกจิ กรรม
2. ทำกจิ กรรมตรงตาม ทำกิจกรรมได ทำกจิ กรรมได ทำกิจกรรมไม และทำกจิ กรรมไม
เวลาทกี่ ำหนด ครบถว นและตรง ครบถวนแตเกิน ครบถวนตาม ทันตามกำหนดเวลา
ตามเวลาที่กำหนด เวลาทีก่ ำหนด เวลาท่ีกำหนด ไมใชความคดิ
3. ทำกจิ กรรมโดยใช ทำกจิ กรรมโดยใช ทำกิจกรรมโดยใช ทำกิจกรรมโดย สรา งสรรคใ นการทำ
ความคดิ สรางสรรค ความคิดสรางสรรค ความคดิ สรา งสรรค ไมใ ชค วามคดิ กจิ กรรมทก่ี ำหนด
ทกุ กิจกรรม บางกจิ กรรม สรางสรรค ไมใหความรว มมือใน
4. ความรว มมือในการทำ ใหค วามรวมมอื ใน ใหความรวมมอื ใน ใหความรวมมือ การทำกจิ กรรม
กจิ กรรม การทำกิจกรรม การทำกจิ กรรม ในการทำ
ทกุ กิจกรรมดมี าก ทกุ กิจกรรมดี กิจกรรมบางคร้งั

เกณฑการตดั สิน
คะแนน 13 – 13 ระดับดีมาก
คะแนน 9 – 12 ระดับดี
คะแนน 5–8 ระดับพอใช
คะแนน 1–4 ระดับปรับปรุง
เกณฑการผาน ต้ังแตร ะดบั ดี ขน้ึ ไป
11. สอ่ื และแหลงเรียนรู
1) แถบขอความ
2) ผงั ความคิด
3) ใบความรู
4) งานเขียนประเภทสารคดี
5) กระดาษชารตและปากกาเคมี
6) คำถามอะไรเอย
7) ตวั อยางเรยี งความ
8) แถบประโยค
9) สือ่ PowerPoint เร่อื ง ประโยคสามญั

10) ส่อื PowerPoint เร่อื ง ประโยครวม
11) สื่อ PowerPoint เร่อื ง ประโยคซอน
12) สื่อ PowerPoint เรอื่ ง ศิลาจารึกหลักที่ 1
13) ภาพสงั คมสมยั สโุ ขทัย
14) หนงั สอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน หลกั ภาษาและการใชภ าษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๒
15) หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒

รหสั วชิ า ท22101 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 1 กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
ชือ่ หนวยการเรียนรู รายวชิ าภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เรอื่ ง อา นออกเสียงรอ ยแกว ศลิ าจารึกหลกั ที่ 1
ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอา นสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชต ัดสนิ ใจแกปญหาในการ
ดำเนินชีวติ และมนี ิสยั รกั การอาน
ตัวชว้ี ัด

ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา นออกเสยี งบทรอ ยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอ ง
ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการอาน
2. สาระสำคญั
การเขาใจความหมายของคำศัพทจะทำใหอ านออกเสยี งไดถ ูกตองและสรุปความเรอื่ งท่อี านได
3. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
๑) นกั เรยี นสรุปหลักการอา นออกเสยี งบทรอยแกวได (K)
๒) นักเรยี นอา นออกเสียงศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ ได (P)
3) นกั เรียนมีมารยาทในการอาน (A)
4. สาระการเรยี นรู
การอา นออกเสียงบทรอ ยแกว
5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค (เฉพาะท่เี กิดในแผนการจัดการเรียนรนู ้)ี
 มวี นิ ัย
 ใฝเรียนรู
 มงุ มน่ั ในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน (เฉพาะทีเ่ กิดในแผนการจัดการเรียนรูนี)้
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคดิ
7. จุดเนน สูก ารพฒั นาผูเรยี น ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู ี)้  R2- W(R)iting (เขยี นได)
1)  R1-(R)eading (อานออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทกั ษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกปญ หา)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรียนรู)

8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู ้ี)
 บูรณาการกับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

9. กจิ กรรมการเรียนรู
ขั้นนำ
1. นกั เรียนรว มกันสนทนา โดยครใู ชคำถาม ดงั นี้
 ถานักเรยี นอานโดยไมเ วนวรรคจะเปนอยา งไร (แนวคำตอบ :ทำใหไมน าฟง หรอื ฟง มารเู ร่ือง)
 ถานักเรียนอานออกเสียง ร และ ล ไมชัดจะเปนอยางไร (แนวคำตอบ : ทำใหเขาใจผิด

ความหมาย และไมประสบสำเรจ็ ในการสอ่ื สาร)
ขนั้ สอน
๑. นักเรียนอา นออกเสยี งศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ พรอ มกัน แลว รวมกนั บอกหลักการอา นออกเสียง

บทรอ ยแกวตามความเขาใจของนกั เรียน
๒. นักเรียนศึกษาความรูเรื่อง การอานออกเสียงบทรอยแกว จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานหลกั

ภาษาและการใชภ าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๒
๓. นกั เรยี นรวมกันสรุปหลักการอา นออกเสียงบทรอ ยแกว เปน แผนภาพความคดิ

อา นถูกตอ งตามอักขรวธิ ี การอา นออกเสียง ออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ
มีน้ำเสยี งจงู ใจผูฟ ง บทรอยแกว และ ร ล ชัดเจน

อา นคำพองรูปใหถูกตอ ง

ออกเสียงโดยใชสำเนียง อา นออกเสยี งวรรณยกุ ต
ภาษาไทยมาตรฐาน ใหถ กู ตอ ง

4. นกั เรียนอา นออกเสยี งศิลาจารึก หลักที่ ๑ พรอ มกนั อีกครัง้ ตามหลกั การอา นออกเสียงบทรอยแกว
แลวรวมกันประเมินผลการอานโดยเปรียบเทียบการอานครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ ครูใหคำแนะนำและขอเสนอแนะ
เพ่ิมเติม

๕. นกั เรยี นแตละคนอา นศลิ าจารกึ พอ ขนุ รามคำแหงดานที่ ๑ บรรทัดท่ี ๑-๑๘ โดยออกเสยี งใหช ัดเจน
ใชน ำ้ เสยี งเหมาะสม

ขนั้ สรปุ
๑. นักเรียนและครรู วมกันสรุปความรู ดังน้ี

- การอานออกเสียงบทรอยแกว ตองอานใหถูกตอง ชัดเจน และตองใชน้ำเสียงใหเหมาะสม
และสอดคลองกับเร่อื งท่ีอา น ท่สี ำคญั ตอ งรูค วามหมายของคำศพั ทเพ่อื ใหเ ขาใจเร่ืองไดอ ยา งถกู ตอง

10. การวดั และประเมินผลการเรียนรู

เปาหมาย ภาระงาน/ช้ินงาน/ วธิ ีการวัด เครือ่ งมือวัด เกณฑก ารให
จุดประสงคการเรียนรู รองรอยหลกั ฐาน - แบบประเมินตรวจ คะแนน
๑. นกั เรยี นบอกคำ - สมดุ บนั ทกึ - ตรวจสมุดบนั ทึก สมุดบนั ทึก
อา นและความหมาย - อานออกเสียง - ประเมนิ การอา น - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ ดี
ของคำศัพทในบท ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ออกเสยี งบท อา นออกเสียงบท - รอยละ 70 ขึน้ ไป
เสภาสามัคคีเสวกได รอยแกว รอยแกว
๒. นักเรยี นอานออก - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต
เสียงบทเสภาสามคั คี รายบคุ คล พฤติกรรมรายบคุ คล
เสวกได
3. นกั เรียนมมี ารยาท
ในการอาน

11. สือ่ การเรยี นรู / แหลง เรียนรู
1) หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานหลักภาษาและการใชภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒

รหสั วชิ า ท22101 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชอ่ื หนว ยการเรียนรู รายวชิ าภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เรื่อง เขียนผังความคดิ ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2

1. มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพือ่ นำไปใชต ัดสนิ ใจแกปญหาในการ
ดำเนินชีวิต และมนี ิสยั รกั การอา น
ตัวช้วี ัด
ท ๑.๑ ม. ๒/3 เขียนผังความคดิ เพอ่ื แสดงความเขาใจในบทเรยี นตา ง ๆ ทอ่ี า น
2. สาระสำคญั
การเขยี นผังความคิดจากขอ ความยาว ๆ หรือขอความท่เี ขาใจยากจะชวยจัดลำดบั ความคิดทำใหจดจำ
ไดงายและเขา ใจดขี นึ้
3. จดุ ประสงคก ารเรียนรู

๑) นักเรียนอธิบายรปู แบบและการใชผังความคิดได (K)
๒) นักเรียนเขียนผงั ความคดิ จากเรอ่ื งที่อา นได (P)
3) นกั เรยี นเหน็ ความสำคญั ของการเขียนผงั ความคดิ เพือ่ สรุปความเรอื่ งทีอ่ าน (A)
4. สาระการเรยี นรู
การเขยี นผังความคิด
5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรยี นรูน้ี)
 มีวนิ ัย
 ใฝเรียนรู
 มงุ มั่นในการทำงาน
 รกั ความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน (เฉพาะที่เกดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู )ี้
 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
7. จดุ เนนสูก ารพัฒนาผเู รยี น ความสามารถและทักษะของผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะท่ีเกิดในแผนการจัดการเรียนรูน)ี้  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทักษะดา นการคดิ อยางมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา)

 C5-Communications,InformationandMediaLiteracy (ทักษะดานการส่ือสารสารสนเทศและการรูเทา ทันสื่อ)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรียนร)ู

8. การบรู ณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะที่เกิดในแผนการจัดการเรียนรูนี้)
 บูรณาการกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

9. กจิ กรรมการเรียนรู
ขน้ั นำ
1. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวาการนำเสนอขอมูลแบบใด ทำใหเขาใจงายกวากัน พรอม

อธิบายเหตผุ ล
ขัน้ สอน
๑. นักเรยี นรวมสนทนาเก่ียวกับรปู แบบของผังความคดิ ทรี่ จู ักหรือเคยใชใ นกลมุ สาระการเรยี นรตู า ง ๆ
๒. นักเรียนศึกษาความรูเรือ่ ง การเขียนผังความคิดจากเรือ่ งท่ีอาน จากหนังสอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน

หลกั ภาษาและการใชภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ชวยกนั ตอบคำถามเพ่ือสรปุ ความเขา ใจ
 ผังความคิดแบบใยแมงมุมเหมาะสำหรับจัดขอมลู แบบใด (ขอ มลู ทีม่ รี ายละเอียดในหวั ขอ ตา ง ๆ
ซง่ึ เปน การนำคำสำคญั มาบนั ทกึ ไว)
 การวิเคราะหผลดี ผลเสีย เพื่อตัดสินใจเลือกปฏิบัติควรใชผังความคิดแบบใด (ผังความคิดเพ่ือ
ตดั สนิ ใจ)
 ผังความคิดแบบข้ันบันไดมวี ิธีใชอยางไร (ใชจ ดั ขอ มูลท่ีมีขั้นตอนการปฏบิ ตั ิชดั เจน
โดยเริ่มจากข้นั ลา งสุดเรียงลำดบั ขึ้นไป)
 ผงั ความคิดแบบเปรียบเทียบมจี ุดประสงคอยา งไร (เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตาง
วเิ คราะหร ายละเอียดของแตละสิ่งเพอื่ จำแนกหรอื จดั กลุม )
 ผังความคดิ แบบกา งปลาสื่อความหมายอยางไร (แสดงสาเหตุหรือท่มี าของสิ่งท่เี กดิ ขน้ึ )
 ผังความคดิ แบบโครงสรางใชเมอ่ื ตอ งการแสดงส่งิ ใด (แสดงสวนประกอบที่รวมเปน สง่ิ ใดสิ่งหนง่ึ )
๓. นกั เรยี นศึกษาตัวอยา งการเขยี นผังความคดิ ใหเหมาะกบั เน้ือหาตาง ๆ ในใบความรู เรื่อง การเขียน

ผงั ความคดิ
๔. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓-๕ คน นำความรูที่ครูมอบหมายใหเตรียมไวมาแลกกันอา น จากนั้น

รวมกันคัดเลือกความรู ๑ เรื่อง ชวยกันเขียนผงั ความคิดนำเสนอความรูนั้น โดยใชกระดาษชารตและปากกา
เคมีที่ครแู จกให

๕. นักเรียนแตละกลุมนำผังความคิดออกมานำเสนอหนาช้ันเรียนพรอมทัง้ อธิบายประกอบ นักเรียน
กลุมอนื่ สามารถซักถามและแสดงความคดิ เหน็ ได เม่ือเพอื่ นนำเสนอจบ ครชู วยอธบิ ายเพมิ่ เตมิ

ข้นั สรุป
๑. นกั เรยี นและครูรวมกันสรปุ ความรู ดังน้ี

 การเขียนผังความคิดจากขอความยาว ๆ หรือขอความที่เขาใจยากจะชวยจัดลำดับ
ความคิดทำใหจดจำไดง า ยและเขา ใจดีข้นึ

10. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

เปา หมาย ภาระงาน/ชนิ้ งาน/ วธิ กี ารวดั เครอื่ งมอื วดั เกณฑก ารให
จุดประสงคการเรยี นรู รอ งรอยหลักฐาน คะแนน
๑. นกั เรยี นอธบิ าย - เขยี นผังความคิด - ประเมินการเขียนผงั - แบบประเมินการ
รปู แบบและการใชผัง นำเสนอความรู ความคดิ นำเสนอ เขยี นผงั ความคดิ - ระดบั คุณภาพ ดี
ความคิดได ความรู นำเสนอความรู - รอยละ 70 ข้นึ ไป
๒. นกั เรียนเขยี นผัง - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต
ความคดิ จากเรือ่ ง รายบคุ คล พฤตกิ รรมรายบคุ คล
ท่อี านได - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต
3. นักเรียนเหน็ การทำงานกลุม พฤตกิ รรมการทำงาน
ความสำคัญของการ กลมุ
เขียนผงั ความคิดเพอ่ื
สรุปความเร่อื งท่อี าน

11. ส่อื การเรยี นรู / แหลงเรียนรู
1) หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานหลักภาษาและการใชภ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๒
2) แถบขอ ความ
๓) ผังความคิด
๔) ใบความรู
๕) งานเขียนประเภทสารคดี
6) กระดาษชารต และปากกาเคมี

รหัสวชิ า ท22101 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 3 กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย
ช่ือหนว ยการเรยี นรู รายวิชาภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เรือ่ ง เขยี นผังความคิด ศิลาจารกึ หลกั ท่ี 1
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 2

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรา งความรูและความคดิ เพือ่ นำไปใชต ัดสนิ ใจแกปญ หาในการ
ดำเนนิ ชวี ิต และมนี ิสัยรักการอาน
ตัวชี้วัด

ท ๑.๑ ม. ๒/3 เขียนผงั ความคดิ เพอ่ื แสดงความเขาใจในบทเรยี นตาง ๆ ทีอ่ าน
2. สาระสำคญั

การเขียนผังความคิดจากเรื่องท่ีอานทำใหเขาใจเนื้อเร่อื งไดชัดเจนและประเมนิ แนวคิดจากเรื่องทำให
สามารถนำแนวคิดไปใชใ นชวี ติ จริงได
3. จุดประสงคก ารเรยี นรู

๑) นกั เรียนอธบิ ายการเขยี นผังความคิดได (K)
๒) นกั เรียนเขียนผงั ความคิดจากเรอ่ื งท่อี านได (P)
3) นกั เรียนเห็นความสำคัญของการเขียนผงั ความคดิ เพือ่ สรุปความเร่อื งท่ีอาน (A)
4. สาระการเรยี นรู
การเขียนผังความคิด

5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค (เฉพาะทเี่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรูนี้)
 มีวินยั
 ใฝเรียนรู
 มงุ ม่ันในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน (เฉพาะที่เกิดในแผนการจัดการเรียนรนู )้ี
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกไขปญ หา
7. จุดเนน สูการพัฒนาผูเ รยี น ความสามารถและทักษะของผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะทีเ่ กิดในแผนการจัดการเรียนรูน ้)ี  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทักษะดานการคดิ อยางมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกปญหา)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรียนรู)

8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ (เฉพาะท่เี กดิ ในแผนการจัดการเรยี นรูนี้)
 บรู ณาการกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

9. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นนำ
1. นกั เรยี นรวมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค ำถามทาทาย ดังนี้
 นักเรยี นชอบสถานทีท่ อ งเท่ยี วตามธรรมชาติแหลง ใดมากท่สี ุด เพราะเหตุใด
ข้ันสอน
๑. นักเรยี นตอบคำถามอะไรเอย จากคำถามตอ ไปน้ี
๑) อะไรเอยเปน สตั วป ามาอยูบ า น กินอาหารอยางเดยี ว เค้ียวแลวกค็ าย
(กระตา ยขูดมะพรา ว)
๒) อะไรเอย สองปก หัวหก มสี องบาทา ยามทิวาพักผอ น ยามราตรอี อกหากนิ
(คางคาว)
๓) อะไรเอย เกิดมามหี างไมม ขี า พอสน้ิ ชีวามแี ตข าไมมหี าง
(กบ)
๔) อะไรเอยหนา แลง อยใู นถำ้ หนาน้ำเทย่ี วจร ไวม วยเหมือนมอญ นามวา อะไร
(หอยโขง)
๕) อะไรเอย ไมใ ชแ ขก ไมใ ชจ นี ไมใชญวน ตากอวนบนยอดไม
(แมงมมุ )
๖) อะไรเอยชอ่ื นากลัว ตัวนา รกั
(ผีเส้อื )
๗) อะไรเอย ช่ือหนงึ่ อยูใ นทอง ชื่อสองอยบู นฟา
(ไสเ ดือน)
๘) อะไรเอย ขึน้ ก็สิบ ลงก็สบิ ขยุบขยิบไมค อยเหน็ ตวั ไมม ีหางมีแตห วั มีแตต ัวกะลกู ตา
(ปู)
๙) อะไรเอย คว่ำกเ็ ดินได หงายก็เดินได
(จง้ิ จก)
๑๐) อะไรเอย ไมม ีตนี ปนตน ไมไ ด
(งู)
๒. นักเรียนทบทวนเรอื่ งการเขียนผงั ความคดิ ดวยการสนทนาแลกเปลยี่ นและตอบขอซักถาม
๓. นักเรยี นแบง กลุม อานขอความที่ครูกำหนดให แลว เขยี นผงั ความคิด เมื่อเสรจ็ แลวใหนำเสนอหนา

ชน้ั เรยี น จากนน้ั ครูอธบิ ายเพ่มิ เติม
๔. นักเรียนเขียนแนวคิดที่ไดจากบทความในการอนุรักษแหลงน้ำเพื่อใหใชไดอยางยั่งยืน เมื่อเสร็จ

แลว รวมกันเฉลยคำตอบ
ขั้นสรุป
๑. นกั เรยี นและครรู ว มกันสรปุ ความรู ดงั น้ี
 การเขียนผังความคิดจากเรื่องท่อี านทำใหเขา ใจเนอื้ เรือ่ งไดชัดเจนและการประเมินแนวคิด

จากเรื่องท่อี า นทำใหสามารถนำแนวคดิ ไปใชใ นชีวติ จริงได

10. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

เปาหมาย ภาระงาน/ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เคร่ืองมือวัด เกณฑการให
รอ งรอยหลักฐาน คะแนน
จดุ ประสงคการเรียนรู - เขียนผังความคิด - ตรวจสมุดบนั ทกึ - แบบประเมินตรวจ
๑. นักเรียนอธบิ าย นำเสนอความรู - ประเมินการเขียนผงั สมุดบันทึก - ระดบั คณุ ภาพ ดี
รปู แบบและการใชผัง ความคดิ นำเสนอ - แบบประเมินการ - รอ ยละ 70 ขนึ้ ไป

ความคดิ ได ความรู เขียนผงั ความคิด
2. นักเรยี นเขียนผงั
ความคดิ จากเรอื่ ง - สงั เกตพฤติกรรม นำเสนอความรู
- แบบสงั เกต
ทอ่ี า นได รายบุคคล พฤตกิ รรมรายบุคคล

3. นักเรียนเห็น
ความสำคญั ของการ
เขยี นผังความคิดเพือ่
สรปุ ความเร่อื งทอ่ี าน

11. สื่อการเรยี นรู / แหลงเรียนรู
1) คำถามอะไรเอย

รหัสวชิ า ท22101 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 4 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
ช่อื หนวยการเรียนรู รายวิชาภาษาไทย 3 จำนวน 2 คาบ
เรื่อง เขยี นเรยี งความ ศิลาจารึกหลกั ท่ี 1
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2

1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 2.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราว
รปู แบบตาง ๆ เขียนรายงานขอ มูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคนควาอยา งมีประสิทธภิ าพ
ตวั ช้วี ัด

ท 2.๑ ม. ๒/3 เขยี นเรยี งความ
ท 2.๑ ม. ๒/๘ มีมารยาทในการเขียน
2. สาระสำคัญ
เรียงความเปนงานเขียนที่มีรูปแบบชัดเจน ประกอบดวย คำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป การเขยี นเรยี งความ
เกี่ยวกับประสบการณตองกลาวถึงเรื่องที่ไดประสบมาจริงเพื่อใหเกิดประโยชนแกผูอาน ผูเขียนเรียงความ
ควรวางโครงเรือ่ งใหชดั เจนจงึ จะทำใหเ รยี งความมเี อกภาพ นาสนใจและชวนอา น
3. จุดประสงคก ารเรยี นรู
๑) นักเรียนอธิบายหลกั การเขยี นเรยี งความได (K)
๒) นักเรยี นเขยี นเรียงความเกี่ยวกับประสบการณได (P)
3) นกั เรยี นมีมารยาทในการเขียน (A)
4. สาระการเรยี นรู
การเขียนเรยี งความ
5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค (เฉพาะทเี่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรูน้ี)
 มีวนิ ยั
 ใฝเรียนรู
 มุงม่นั ในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน (เฉพาะทีเ่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู ี)้
 ความสามารถในการสอ่ื สาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกป ญ หา
7. จุดเนน สูก ารพัฒนาผเู รยี น ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะท่เี กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู )ี้  R2- W(R)iting (เขยี นได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving(ทกั ษะดานการคดิ อยา งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกปญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรา งสรรคและนวตั กรรม)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรยี นร)ู

8. การบรู ณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะทเ่ี กดิ ในแผนการจัดการเรยี นรนู ้ี)
 บรู ณาการกับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

9. กิจกรรมการเรยี นรู
คาบที่ 1

ขัน้ นำ
1. นักเรียนรวมกนั สนทนา โดยครูใชคำถามทา ทาย ดงั นี้

 นกั เรียนมีความรเู ก่ียวกับเรยี งความอยา งไรบาง
ข้ันสอน
๑. นักเรียนดตู ัวอยา งการเขยี นเรยี งความจากประสบการณ จากนนั้ ใหช วยกันวเิ คราะหวาเรียงความ

ท่ีเปนตวั อยา งมขี อดีอยางไรบาง (ช่ือเรือ่ งนาสนใจ เทคนิคการเขยี นคำนำนาสนใจ เน้อื เร่ืองชัดเจน สรุป

ประทับใจปดทายดวยคำคม)

๒. นกั เรยี นศกึ ษาการเขยี นเรียงความเก่ียวกับประสบการณ โดยใชคำถามตรวจสอบความเขา ใจดงั น้ี

 เรียงความคืออะไร (งานเขียนที่มลี ักษณะเฉพาะ คือ คำนำ เน้ือเร่ือง และสรปุ )

 คำนำท่นี า สนใจมกี ลวธิ กี ารเขยี นอยา งไรบา ง (เขยี นคำจำกดั ความ คำคม สภุ าษิต หรือ

คำประพันธมาใช)

 เนอื้ เรือ่ งตอ งเขียนอยา งไร (ตองเขียนจากประสบการณจ ริง และเปนประโยชนแกผอู น่ื )

 สรุปควรมีลักษณะอยางไร (เขียนสรุปแนวคิดทั้งหมด ตรงประเด็น อาจใชคำคมหรือ

สภุ าษิตสรุปจะทำใหน าประทบั ใจยงิ่ ขนึ้ ) ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ

๓. นกั เรียนชวยกันเสนอความคิดวาหากตองการใหง านเขียนเรยี งความของเราเปน งานเขียนที่ดี ควร

จะมีขั้นตอนกระบวนการใดบาง (๑. ขั้นกำหนดหัวขอ ๒. ขั้นกำหนดขอบเขตของเรื่อง ๓. ขั้นหาขอมูล

เพิ่มเตมิ ๔. ข้ันวางโครงเรอ่ื ง ๕. ขัน้ ลงมือเขยี น ๖. ขน้ั ตรวจทาน) ครคู อยแนะนำ

๔. นักเรยี นศึกษาความรู เร่ือง ขัน้ ตอนการเขียนเรยี งความ จากใบความรู แลว เขยี นเปน แผนภาพ

ความคิด ๕. ขัน้ ลงมือเขยี น

๔. ขนั้ วางโครงเรือ่ ง

๓. ขั้นหาขอมลู เพ่ิมเตมิ

๒. ขัน้ กำหนดขอบเขตของเรื่อง

๑. ขน้ั กำหนดหวั เรื่อง

๕. นักเรียนรางหัวขอ/โครงเรื่องของเรียงความที่ตนเองสนใจแตใหมีเนื้อหาเกี่ยวกับจิตสาธารณะ
พรอ มทง้ั ใหเ หตผุ ลไดวามคี วามเปนสาธารณะอยางไร

ข้นั สรปุ
๑. นักเรียนและครรู ว มกันสรุปความรู ดังนี้
 เรียงความเปนงานเขียนที่มีรูปแบบชัดเจน ประกอบดวย คำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป การ
เขียนเรยี งความเก่ยี วกบั ประสบการณตอ งกลาวถึงเร่อื งที่ไดป ระสบมาจรงิ เพ่ือใหเ กิดประโยชนแกผ อู า น ผูเขียน
เรียงความควรวางโครงเรือ่ งใหช ัดเจนจงึ จะทำใหเ รยี งความมเี อกภาพ นา สนใจและชวนอาน
คาบท่ี 2
ข้ันนำ
๑. นักเรียนรวมกนั สนทนา โดยครใู ชคำถามทา ทาย ดงั น้ี
 ถานักเรียนจะเขียนเลาประสบการณ นักเรียนจะเขียนอยางไร (แนวคำตอบ : เขียนเปน
ความเรยี ง ลำดบั เรื่องราวใหชัดเจน)
ขัน้ สอน
๑. นกั เรียนทบทวนความรเู รอ่ื งการเขยี นเรียงความ จากหนงั สือรายวิชาพื้นฐาน หลกั ภาษาและการใช
ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๒
๒. นกั เรียนศึกษาตวั อยางเรยี งความในหนังสอื เรียน ครอู ธบิ ายความรูเพิ่มเติม
๓. นักเรียนคนควาขอมูลเพื่อจะนำมาเขียนเรียงความ ตามหัวขอ/โครงเรื่อง ที่ตนเองรางไว
จากหนังสือหรืออนิ เทอรเน็ต พรอ มท้ังบอกแหลงขอ มลู อางองิ ดวย
๔. นกั เรียนทำใบกจิ กรรม เรื่อง การเขียนเรียงความ แลวรว มกนั ตรวจสอบความถูกตอง
ข้ันสรุป
๑. นักเรยี นและครูรว มกันสรุปความรู ดงั นี้
 เรียงความประกอบดวย คำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป ในการเขียนเรียงความเกี่ยวกับ
ประสบการณ ตองเปนเรื่องทีผ่ ูเ ขยี นประสบจรงิ และเขยี นโดยมีการวางโครงเรื่องท่ีชดั เจนจะทำใหงานเขยี นมี
เอกภาพและนา สนใจมากยิง่ ขน้ึ
10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ภาระงาน/ชน้ิ งาน/ เกณฑการให
เปา หมาย รองรอยหลักฐาน วิธกี ารวัด เครื่องมอื วัด คะแนน

จดุ ประสงคการเรียนรู - ใบกิจกรรม - ประเมนิ ใบกิจกรรม - แบบประเมนิ ใบ - ระดับคณุ ภาพ ดี
๑. นกั เรียนอธิบาย หลักการเขยี น - รอ ยละ 70 ขึ้นไป
หลักการเขียน เรยี งความ - ประเมินการเขยี น กิจกรรม
เรียงความได - เขียนเรียงความ เรียงความ - แบบประเมนิ การ
๒. นักเรียนเขยี น เก่ยี วกบั - สังเกตพฤติกรรม เขียนผงั เรยี งความ
เรียงความเกีย่ วกับ ประสบการณ รายบคุ คล - แบบสงั เกต
ประสบการณไ ด พฤติกรรมรายบคุ คล

3. นกั เรียนมีมารยาท
ในการเขียน

11. สื่อการเรียนรู / แหลง เรยี นรู
1) หนังสือรายวชิ าพนื้ ฐาน หลกั ภาษาและการใชภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒
2) ตัวอยา งเรียงความ

รหสั วชิ า ท22101 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 5 กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชอื่ หนวยการเรยี นรู รายวชิ าภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เรอ่ื ง ประโยคและวลี ศลิ าจารึกหลกั ที่ 1
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 2

1. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 4.๑ เขา ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภูมปิ ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ขิ องชาติ
ตัวช้วี ัด

ท 4.๑ ม. ๒/2 วิเคราะหโครงสรางประโยคสามญั ประโยครวม และประโยคซอน
2. สาระสำคัญ

วลี คือ กลมุ คำที่กลาวออกมาไดใจความ แตไ มค รบทั้งสองภาค ถามีภาคประธานก็ขาดภาคแสดง ถา มี
ภาคแสดงก็จะขาดภาคประธาน สวนประโยค คือ ถอยคำที่เรียงกันเปนระเบียบสมบูรณ ประกอบดวยภาค
ประธานและภาคแสดง แตละภาคจะมีสวนขยายหรอื ไมก ็ได
3. จุดประสงคการเรียนรู

๑) นักเรียนอธิบายความหมายและสวนประกอบของประโยคได (K)
๒) นักเรียนจำแนกประโยคและวลีได (P)
๓) นักเรยี นเหน็ คุณคา ของการใชภาษาไทยไดถ ูกตองตามหลักเกณฑของภาษา (A)
4. สาระการเรยี นรู

ประโยคและวลี
5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค (เฉพาะท่เี กดิ ในแผนการจัดการเรียนรูน)ี้

 มวี ินยั
 ใฝเรียนรู
 มุงม่ันในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน (เฉพาะทีเ่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู )้ี
 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคดิ
7. จดุ เนนสกู ารพัฒนาผูเรียน ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะทเี่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู )้ี  R2- W(R)iting (เขยี นได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทกั ษะดานการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกปญหา)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรียนรู)

8. การบูรณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะที่เกิดในแผนการจัดการเรียนรูน)้ี
 บรู ณาการกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

9. กจิ กรรมการเรยี นรู
ข้นั นำ
1. นกั เรยี นอา นแถบขอความทค่ี รเู ตรยี มมาใหดังตอไปน้ี
แจกันดอกไม เคร่อื งคิดเลข

โทรศัพทมือถอื คุณครูตดั กระดาษ

ตุกตาตวั ใหญ

๒. นักเรียนสังเกตขอความที่ไดอานแลวสังเกตวา ขอความใดมีลักษณะแตกตางจากพวก พรอมบอก
เหตุผล (คุณครูตัดกระดาษ เพราะเปนประโยค สวนขอความที่เหลือไมใชประโยค) จากนั้นครูเชื่อมโยงเขาสู
บทเรยี น

ขน้ั สอน
๑. นกั เรียนรว มกันระบุขอแตกตางระหวางวลกี บั ประโยค จากนนั้ ครสู ุม นักเรยี น ๒ คนออกมาหนาชั้น
เรยี นเพ่อื บอกขอแตกตา งระหวา งวลกี ับประโยค
๒. นกั เรยี นฟงครอู ธิบายความรูเรือ่ งวลี จากนั้นนักเรยี นจับคกู ันหาตัวอยางวลีมาคูละ ๑๐ คำ พรอม
กบั บันทกึ ลงในสมุดของตนเอง
๓. นักเรียนตอบคำถามในประเดน็ ดงั ตอ ไปนี้

๓.๑ ประโยคท่นี ักเรียนรูจกั มกี ่ีชนิด อะไรบาง
๓.๒ ประโยคแตละชนดิ มีความแตกตางกันอยา งไร
๔. นักเรียนฟงครูอธิบายความรูเรื่องความหมายและโครงสรางของประโยค พรอมกับยกตัวอยาง
ประโยคใหนกั เรียนแยกตามโครงสราง ดังน้ี

- เดก็ ผหู ญิงคนน้ันจงู แมวตัวสขี าวมาดวย
- พิชญาภรณเ ปนนกั เรียนโรงเรียนศกึ ษานารี
- คณุ ยายนั่งสมาธทิ กุ วัน
๕. นกั เรยี นทำใบกจิ กรรม จำแนกประโยคและวลี จากน้นั รวมกนั เฉลยและตรวจสอบความถูกตอง
๖. ครูมอบหมายใหนักเรียนหาประโยคจากสื่อและแหลงขอมูลตาง ๆ (อินเทอรเน็ต หนังสือพิมพ
วารสาร) มาคนละ ๑๐ ประโยค จากนั้นใหแยกโครงสรางของประโยค ตามตัวอยางที่ครูใหดูพรอมกับบันทกึ
ลงในสมุด แลวนำมาสงครใู นคาบถดั ไป
ข้ันสรปุ
1. นกั เรยี นและครูรว มกันสรุปความรูเ กีย่ วกบั วลแี ละประโยค จากนัน้ บันทกึ ลงในสมดุ

10. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู เกณฑการให
ภาระงาน/ชนิ้ งาน/ คะแนน
เปา หมาย รองรอยหลกั ฐาน วธิ ีการวดั เครือ่ งมือวดั
- ตรวจสมุดบันทึก - ระดับคุณภาพ ดี
จุดประสงคการเรยี นรู - ใบกจิ กรรม เรื่อง - ประเมนิ ใบกจิ กรรม - แบบประเมนิ ตรวจ - รอยละ 70 ข้ึนไป
๑. นกั เรยี นอธิบาย จำแนกประโยคและ - สงั เกตพฤติกรรม สมุดบันทกึ
ความหมายและ วลี รายบุคคล - แบบประเมนิ ใบ
สวนประกอบของ กจิ กรรม
ประโยคได -แบบสงั เกต
๒. นกั เรียนจำแนก พฤตกิ รรมรายบุคคล
ประโยคและวลไี ด
๓. นักเรียนเหน็ คณุ คา
ของการใชภาษาไทย
ไดถกู ตอ งตาม
หลักเกณฑข องภาษา

11. สอ่ื การเรยี นรู / แหลงเรยี นรู
1) แถบประโยค

รหสั วชิ า ท22101 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 6 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชื่อหนวยการเรยี นรู รายวชิ าภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เรอื่ ง ประโยคสามญั ศลิ าจารกึ หลักท่ี 1
ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 2

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 4.๑ เขา ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภูมิปญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ิของชาติ
ตวั ชี้วัด

ท 4.๑ ม. ๒/2 วิเคราะหโครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอ น
2. สาระสำคญั

ประโยคสามัญ เปนประโยคที่มีองคประกอบเล็กที่สุด คือ มีใจความสำคัญเพียงใจความเดียว
เปน ประโยคทเี่ ราใชส อื่ สารกนั ในชีวิตประจำวนั ท่วั ไป
3. จดุ ประสงคก ารเรียนรู

๑) นกั เรยี นอธบิ ายลกั ษณะของประโยคสามญั ได (K)
๒) นักเรยี นวิเคราะหโ ครงสรางประโยคสามญั ได (P)
๓) นักเรียนเห็นคุณคา ของการใชภาษาไทยไดถ กู ตองตามหลกั เกณฑของภาษา (A)
4. สาระการเรยี นรู
ประโยคสามัญ

5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค (เฉพาะทเ่ี กิดในแผนการจัดการเรียนรูน)ี้
 มวี ินยั
 ใฝเรียนรู
 มุงมนั่ ในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรียนรูน ้ี)
 ความสามารถในการสอื่ สาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกปญ หา
7. จุดเนน สูการพัฒนาผเู รียน ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะท่ีเกิดในแผนการจัดการเรยี นรูน ี้)  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทกั ษะดา นการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป ญ หา)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรียนรู)

8. การบูรณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะทเ่ี กดิ ในแผนการจัดการเรยี นรูน)ี้
 บูรณาการกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

9. กิจกรรมการเรยี นรู
ขนั้ นำ
1. นักเรียนรวมกันพิจารณาแถบประโยคแตละประโยคที่ครูเตรียมให จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน
วเิ คราะหว าเปน ประโยคชนิดใด
ไกต วั เมียออกไข นองชายชอบถายภาพดอกไม

รถไฟฟา ใตดินหยดุ วงิ่ ครอบครวั ของเราไปว่งิ ออกกำลงั กายทส่ี วนสาธารณะ

ฉนั ไมช อบกนิ อาหารสกุ ๆ ดิบ ๆ เด็กตดิ เกมทำใหเสยี การเรยี น
๒. ครูอธิบายใหน กั เรียนเขา ใจวา ประโยคที่มอี งคประกอบลกั ษณะนเ้ี รยี กวา ประโยคสามญั จากน้นั
เชอ่ื มโยงเขา สูบทเรียน
ข้ันสอน
1. นักเรยี นยกตัวอยา งประโยคที่นกั เรยี นใชในชีวติ ประจำวันมาคนละ ๑ ประโยค
๒. ครูสุมตัวอยางประโยคที่นักเรียนยกตัวอยางมาเขียนบนกระดานจำนวน ๕ ประโยค แลวให
นกั เรียนรวมกันวิเคราะหวา ประโยคบนกระดานทค่ี รเู ขยี นไวเปนประโยคชนดิ ใด
๓. นกั เรยี นศึกษาความรู เรอ่ื ง ประโยคสามญั จากส่ือ PowerPoint เรอื่ ง ประโยคสามญั โดยครูเปน
ผอู ธิบายความรเู พมิ่ เติม และตอบขอ สงสัยของนักเรยี น
๔. นกั เรียนแตงประโยคสามญั ลงในสมุด คนละ ๑๐ ประโยค จากน้ันสงใหครูตรวจสอบความถูกตอง
๕. นักเรียนทำใบกิจกรรม เร่อื ง ประโยคสามัญ จากนั้นรว มกนั เฉลยในช้ันเรยี น
ขั้นสรปุ
๑. นกั เรยี นและครูรวมกันสรปุ ความรเู รอื่ ง ประโยคสามญั จากน้นั ครูสมุ นักเรยี น ๓ คน ยกตัวอยา ง
ประโยคความเดียวทีไ่ ดแตงลงในสมุดใหเ พอ่ื นในชั้นเรยี นฟง คนละ ๑ ประโยค
10. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู

เปาหมาย ภาระงาน/ชิน้ งาน/ วิธีการวัด เครอ่ื งมือวดั เกณฑก ารให
รอ งรอยหลกั ฐาน คะแนน
จดุ ประสงคการเรยี นรู - ใบกจิ กรรม เร่อื ง - ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมนิ ตรวจ
๑. นกั เรยี นอธบิ าย ประโยคสามญั - ประเมนิ ใบกจิ กรรม สมดุ บันทกึ - ระดับคณุ ภาพ ดี
ลักษณะของประโยค - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมินใบ - รอ ยละ 70 ข้ึนไป
กิจกรรม
สามัญได รายบุคคล -แบบสงั เกต
๒. นกั เรยี นวิเคราะห พฤติกรรมรายบุคคล
โครงสรางประโยค
สามญั ได
๓. นกั เรียนเหน็ คุณคา
ของการใชภ าษาไทย
ไดถกู ตองตาม
หลักเกณฑข องภาษา
11. ส่ือการเรยี นรู / แหลง เรยี นรู
1) ส่ือ PowerPoint เรอ่ื ง ประโยคสามญั

รหสั วชิ า ท22101 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 7 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชือ่ หนว ยการเรยี นรู รายวชิ าภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เรอื่ ง ประโยครวม ศลิ าจารึกหลักท่ี 1
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2

1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 4.๑ เขา ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ
ตัวชี้วัด

ท 4.๑ ม. ๒/2 วิเคราะหโ ครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอ น
2. สาระสำคัญ

ประโยครวม เปนประโยคที่ประกอบดวยประโยคความเดียวตั้งแต ๒ ประโยคขึน้ ไปมารวมกัน โดยมี
สันธานเชื่อมประโยคใหมีเนื้อความตอเนื่องกันเปนประโยคเดียวกัน ประโยคความรวมมีเนื้อความหลาย
ลักษณะ ไดแก เนื้อความคลอยตามกัน ขัดแยงกัน เลือกเอาอยางหนึ่งอยางใด และเปนเหตุเปนผลกัน
3. จดุ ประสงคการเรียนรู

๑) นักเรียนอธบิ ายลกั ษณะของประโยครวมได (K)
๒) นกั เรียนวเิ คราะหโ ครงสรางประโยครวมได (P)
๓) นักเรยี นเหน็ คณุ คาของการใชภาษาไทยไดถูกตองตามหลักเกณฑของภาษา (A)
4. สาระการเรยี นรู

ประโยครวม
5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรยี นรูน ้ี)

 มีวินยั
 ใฝเรียนรู
 มงุ มน่ั ในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน (เฉพาะทีเ่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู ี้)
 ความสามารถในการสอื่ สาร
 ความสามารถในการคิด
7. จุดเนน สูการพฒั นาผูเรียน ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะทีเ่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรูนี้)  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อานออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทักษะดา นการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกปญหา)

3)  L1 - Learning (ทกั ษะการเรยี นรู)

8. การบรู ณาการตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติ (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรยี นรนู ี)้
 บรู ณาการกบั หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

9. กจิ กรรมการเรียนรู
ขั้นนำ
1. นักเรียนทบทวนเรื่องประโยคที่เคยเรียนไปแลว จากนั้นซักถามนักเรียนเรื่อง สวนประกอบของ

ประโยควา มีสวนประกอบใดบาง สวนประกอบภาคประธานและภาคแสดงมลี ักษณะอยา งไร
ข้ันสอน
1. นกั เรยี นจับกลุม กลุม ละ ๓ คน แลว สงตัวแทนกลมุ ละ ๑ คน ออกมาใบป ระโยคสามัญใหเพ่ือน ๆ

ชวยกันตอบ เชน ผมนอนหลับ ลูกกินนมแม กระตายวิ่งเร็ว ปลาวายน้ำ เมื่อนักเรียนทายประโยคถูกตอง
จากน้นั ครูเขียนประโยคนน้ั บนกระดาน

๒. นักเรยี นกลมุ เดิมนำประโยคสามัญท่คี รเู ขยี นบนกระดาน จากการทายประโยคมาแตงประโยค-รวม
โดยใหมคี ำเหลานีอ้ ยา งละ ๑ ประโยค

และ แต หรอื ทงั้ ...ก็ พอ...ก็

จากนัน้ ออกมานำเสนอหนา ชน้ั เรยี น ครแู ละนักเรยี นรว มกันตรวจสอบความถูกตอง
๓. นักเรียนศกึ ษาความรูจ ากสอ่ื PowerPoint เรอ่ื ง ประโยครวม ครอู ธิบายเพ่มิ เติม
๔. นักเรียนรว มกนั แตงประโยครวมตามเนื้อหาที่ไดเรียนไป ใหครูและเพื่อนรวมช้ันเรียนฟงมาคนละ

๑ ประโยค
๕. นักเรียนรวมกันอานแถบประโยคที่ครเู ตรียมใหด ังน้ี

พอ และแมไปทํางานตา งจงั หวัด เพราะอากาศหนาวคณุ ยายจงึ ไมสบาย

เธอจะเลอื กไปกับฉันหรอื ไปกับเขา เขาชอบรองเพลงหรือเลน ดนตรี

ถงุ แปงอยากไปเทย่ี วแตแมไมอ นุญาต เขาขยันอา นหนงั สอื เพราะฉะนนั้ เขาจงึ
ถงุ แปง อยากไปเท่ียวแตแ มไ มอ นญุ าต สอบไดที่ ๑

จากนั้นครใู หน ักเรียนชว ยกันแยกประโยคขา งตน วา เปนประโยครวมที่มีเน้ือหาแบบใด (คลอยตามกัน ขัดแยง
กนั ใหเลือกอยา งใดอยา งหนึง่ และเปนเหตุเปนผลกนั ) จากนั้นครูเฉลยคำตอบใหกบั นกั เรียน

๖. นกั เรยี นทำใบกจิ กรรม การวเิ คราะหโครงสรา งประโยคในใบกจิ กรรม วิเคราะหป ระโยครวมจากน้นั
ใหนกั เรยี นรว มกนั เฉลยคำตอบเพือ่ ตรวจสอบความถกู ตอง

ข้นั สรุป
๑. นักเรียนและครูรวมกนั สรุปความรเู รือ่ งประโยคความรวม จากน้ันครสู ุม นักเรยี น ๕ คน อธิบาย
และยกตวั อยา งประโยคความรวมที่ไดเ รียนไป

10. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

เปา หมาย ภาระงาน/ชน้ิ งาน/ วิธีการวัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑการให
รอ งรอยหลกั ฐาน คะแนน
จดุ ประสงคการเรียนรู - ใบกจิ กรรม - ประเมนิ ใบกิจกรรม - แบบประเมนิ ใบ
๑. นักเรียนอธิบาย ประโยครวม - สังเกตพฤติกรรม กจิ กรรม - ระดบั คุณภาพ ดี
ลกั ษณะของประโยค รายบุคคล -แบบสงั เกต - รอ ยละ 70 ขน้ึ ไป
พฤติกรรมรายบคุ คล
รวมได
๒. นกั เรยี นวิเคราะห
โครงสรา งประโยครวม
ได
๓. นกั เรียนเห็นคณุ คา
ของการใชภ าษาไทย
ไดถ ูกตอ งตาม
หลกั เกณฑของภาษา
11. สอ่ื การเรียนรู / แหลง เรยี นรู
1) สื่อ PowerPoint เรือ่ ง ประโยครวม
2) แถบประโยค

รหสั วชิ า ท22101 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 8 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ช่อื หนว ยการเรียนรู รายวิชาภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เร่ือง ประโยคซอ น ศิลาจารกึ หลกั ท่ี 1
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ท 4.๑ เขา ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภูมิปญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ิของชาติ
ตัวชว้ี ัด

ท 4.๑ ม. ๒/2 วิเคราะหโ ครงสรา งประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอน
2. สาระสำคญั

ประโยคซอน เปนประโยคใหญที่มีใจความสำคัญเพียงใจความเดียวเปนประโยคหลัก และมีประโยค
ยอยมาขยายสวนใดสวนหนึง่ ของประโยคหลัก ประโยคยอยที่มาขยายประโยคหลักแบงออกเปน ๓ ชนิด คือ
นามานุประโยค คุณานุประโยค และวิเศษณานุประโยค การมีความรูเร่ือง ประโยคความซอน จะเปนพ้ืนฐาน
ในการเรียนเรอ่ื งประโยคในระดบั สูงตอ ไป
3. จุดประสงคการเรียนรู

๑) นักเรยี นอธบิ ายลกั ษณะของประโยคซอ นได (K)
๒) นักเรยี นวเิ คราะหโ ครงสรา งประโยคซอนได (P)
๓) นกั เรยี นเหน็ คณุ คา ของการใชภ าษาไทยไดถูกตองตามหลกั เกณฑของภาษา (A)
4. สาระการเรยี นรู
ประโยคซอน
5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (เฉพาะทเี่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู )ี้
 มวี นิ ัย
 ใฝเรียนรู
 มงุ มน่ั ในการทำงาน
 รกั ความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน (เฉพาะทเี่ กดิ ในแผนการจัดการเรียนรูน ี)้
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
7. จดุ เนน สูก ารพัฒนาผูเ รียน ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะทีเ่ กิดในแผนการจัดการเรียนรนู )ี้  R2- W(R)iting (เขยี นได)
1)  R1-(R)eading (อานออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทกั ษะดา นการคดิ อยางมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแกปญ หา)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรยี นรู)

8. การบรู ณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะทเ่ี กิดในแผนการจัดการเรียนรูนี้)
 บรู ณาการกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

9. กิจกรรมการเรียนรู
ขน้ั นำ
1. นักเรียนทบทวนความรูจากการตอบคำถามของครูวา ประโยคสามัญกับประโยครวมแตกตางกนั

อยา งไร
2. ครูยกตวั อยา งประโยคใหนกั เรยี นดู จากนน้ั ใหน ักเรยี นเปรยี บเทยี บความแตกตางของประโยคที่ครู

ยกตวั อยางมาให ดังน้ี
1) สุนัขเหา 2) สุนัขเหา แตไ มก ัด 3) สุนัขท่เี หา กัดนองของฉัน

ขัน้ สอน
1. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น นอกจากประโยคสามัญและประโยครวมยังมี
ประโยคชนดิ ใดอกี บา ง (ประโยคซอน)
๒. นักเรียนฟงครูบรรยายความรูจากสื่อ PowerPoint เรื่อง ประโยคซอน พรอมกับยกตัวอยาง
ประโยคซอนใหนักเรยี นดู จากนั้นครูสุม นกั เรียนใหแยกประโยคหลกั และประโยคยอ ยจากตวั อยางของครู
๓. นกั เรยี นแตละคนแตง ประโยคซอนจากความรูท ีไ่ ดเรียนไป คนละ ๕ ประโยค และใหแยกประโยค
หลักและประโยคยอ ย จากนัน้ ใหบ นั ทกึ ลงในสมดุ ของตนเอง
๔. ครูสุมนักเรียน ๕ คน ออกมาหนาชั้นเรียน จากน้ันใหนักเรียนเขียนประโยคซอนที่ตนเองแตง
บนกระดานใหเ พอ่ื นในชัน้ เรียนและครดู ู คนละ ๑ ประโยค
๕. นักเรียนที่นั่งอยูในชั้นเรียน รวมกันแยกประโยคหลักและประโยคยอยแตละประโยคที่เขียนบน
กระดาน จากนั้นใหเจาของประโยคเฉลยคำตอบ โดยครูเปนผูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้งและใหนักเรียน
ซกั ถามขอ สงสยั เพ่ิมเตมิ
๖. นกั เรียนทำใบกิจกรรม วิเคราะหป ระโยคซอน จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรวมกนั เฉลยใบกิจกรรมและ
ตรวจสอบความถูกตอ ง
ข้นั สรปุ
๑. นักเรยี นและครรู ว มกันสรปุ ความรเู รือ่ งประโยคความรวม จากนั้นครูสมุ นักเรียน ๕ คน อธิบาย
และยกตวั อยา งประโยคความรวมท่ไี ดเ รยี นไป

10. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

เปาหมาย ภาระงาน/ช้นิ งาน/ วธิ กี ารวัด เครือ่ งมือวดั เกณฑก ารให
รองรอยหลกั ฐาน คะแนน
จุดประสงคการเรียนรู - ใบกจิ กรรม - ตรวจสมุดบนั ทึก - แบบประเมินสมดุ
๑. นกั เรียนอธบิ าย ประโยคซอน - ประเมนิ ใบกจิ กรรม บนั ทกึ - ระดบั คุณภาพ ดี
ลักษณะของประโยค - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินใบ - รอ ยละ 70 ข้นึ ไป
กิจกรรม
ซอนได รายบคุ คล -แบบสงั เกต
๒. นกั เรยี นวเิ คราะห พฤตกิ รรมรายบคุ คล
โครงสรางประโยคซอ น
ได
๓. นกั เรยี นเห็นคุณคา
ของการใชภ าษาไทย
ไดถ ูกตองตาม
หลักเกณฑของภาษา
11. สอื่ การเรยี นรู / แหลงเรียนรู
1) สื่อ PowerPoint เร่อื ง ประโยคซอ น
2) แถบประโยค

รหัสวชิ า ท22101 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 9 กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
ช่อื หนวยการเรียนรู รายวิชาภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
เร่ือง ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1 ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 5.๑ เขาใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว รรณคดีและวรรณกรรมไทย อยางเหน็ คณุ คา
และนำมาประยุกตใ ชในชีวติ จริง
ตวั ชี้วัด

ท 5.๑ ม. ๒/1 สรปุ เนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า นในระดับทีย่ ากข้ึน
2. สาระสำคัญ

ศิลาจารึกพอขุนรามคำแหง เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับสภาพการเมืองการปกครอง
ในสมัยสุโขทัย รวมทั้งขอมูลอื่น ๆ เชน พระราชประวัตพิ อขุนรามคำแหงมหาราช การประดิษฐอกั ษรไทยใช
ซ่งึ นอกจากมคี วามสำคญั ในเชิงประวัติศาสตร และโบราณคดยี งั มคี วามสำคัญทีส่ ะทอนพัฒนาการทางวรรณคดี
และวรรณกรรมของชาติไทยไดอีกดว ย
3. จดุ ประสงคการเรยี นรู

๑) นกั เรยี นบอกความหมายของคำศพั ทในศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ ได (K)
๒) นักเรยี นสรุปเนอ้ื หาศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑ ได (P)
๓) นักเรียนเหน็ ความสำคญั และตระหนักในคุณคาของตวั อักษรไทย (A)
4. สาระการเรียนรู
ศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1
5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค (เฉพาะทีเ่ กดิ ในแผนการจัดการเรยี นรนู ้)ี
 มวี ินัย
 ใฝเรียนรู
 มงุ มนั่ ในการทำงาน
 รกั ความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน (เฉพาะท่เี กดิ ในแผนการจัดการเรียนรูน ้)ี
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคดิ
7. จุดเนนสกู ารพัฒนาผูเรยี น ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะท่เี กิดในแผนการจัดการเรยี นรนู ้ี)  R2- W(R)iting (เขยี นได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทกั ษะดานการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป ญ หา)

3)  L1 - Learning (ทกั ษะการเรยี นรู)

8. การบรู ณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ (เฉพาะทีเ่ กิดในแผนการจัดการเรยี นรนู ี้)
 บรู ณาการขามกลมุ สาระการเรียนรู : กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

9. กิจกรรมการเรียนรู
ขน้ั นำ
1. นักเรยี นรว มกันสนทนา โดยครูใชค ำถาม ดงั นี้
- ศลิ าจารกึ ในความคดิ ของนกั เรยี นมีลกั ษณะอยา งไร
- เม่อื กลาวถึงศิลาจารกึ นักเรยี นจะนึกถึงส่ิงใดบา ง
ขนั้ สอน
1. นักเรียนอานบทนำเรื่องและที่มาของศิลาจารึกหลักที่ ๑ จากนั้นใหสรุปสาระสำคัญ ครูอธิบาย

เพมิ่ เติมและตอบขอ ซกั ถามของนักเรียน
๒. นักเรียนศึกษาเนื้อเรื่องยอ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวรรณคดีและ

วรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ และสื่อ PowerPoint เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ 1 แลวรวมกันตอบคำถาม
ตอไปนี้

- ศลิ าจารกึ พอ ขนุ รามคำแหงมกี ี่ตอน ( ๓ ตอน )
- แตละตอนมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร (ตอนที่ ๑ กลาวถึงพระราชประวัติของพอขุนรามคำแหง
มหาราช ตอนที่ ๒ กลา วถึงเหตุการณบ านเมอื งและความเจริญรุง เรอื งในสมยั พอขนุ รามคำแหงมหาราช ตอนที่
๓ กลาวถึงพระราชกรณยี กจิ และพระเกยี รตคิ ณุ ของพอ ขนุ รามคำแหงมหาราช)
- ตอนใดที่มผี สู นั นิษฐานวา พระองคทรงพระราชนิพนธด ว ยพระองคเ อง และสังเกตจากอะไร (ตอน
ที่ ๑ สงั เกตจากการใชส รรพนามแทนพระองคว า “กู”)
- พระแทนมนังคศิลาบาตรใชสำหรับทำอะไร (ใชสำหรับประทับวาราชการและใหพระสงฆใชเ ปน
ธรรมาสนแสดงธรรม)
๓. นักเรยี นชวยกนั อธิบายเน้อื หาของศิลาจารกึ หลักท่ี ๑
๔. นกั เรยี นสรุปเนื้อหาศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ แลว บนั ทึกลงในสมุด
ขน้ั สรุป
๑. นกั เรียนและครรู ว มกนั สรุปเน้ือหาศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑
10. การวดั และประเมินผลการเรียนรู

เปา หมาย ภาระงาน/ช้นิ งาน/ วิธีการวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑก ารให
รองรอยหลักฐาน - ตรวจสมุดบนั ทึก คะแนน
จุดประสงคการเรียนรู - ใบกจิ กรรม สรุป - ประเมนิ ใบกิจกรรม - แบบประเมนิ สมดุ
๑. นกั เรียนบอก เนื้อหาศิลาจารกึ หลกั - สังเกตพฤติกรรม บันทึก - ระดับคุณภาพ ดี
ความหมายของ ท่ี ๑ รายบุคคล - แบบประเมินใบ - รอยละ 70 ข้นึ ไป
กิจกรรม
คำศัพทในศลิ าจารึก -แบบสังเกต
หลักท่ี ๑ ได พฤติกรรมรายบคุ คล
๒. นักเรยี นสรุปเนอื้ หา
ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ได
๓. นักเรยี นเห็น
ความสำคญั และ
ตระหนักในคุณคาของ
ตวั อักษรไทย

11. ส่อื การเรียนรู / แหลงเรียนรู
1) ส่อื PowerPoint เรอ่ื ง ศิลาจารึกหลักท่ี 1
2) หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานวรรณคดแี ละวรรณกรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒

รหัสวิชา ท22101 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 10 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
รายวชิ าภาษาไทย 3
ช่อื หนวยการเรยี นรู ศลิ าจารึกหลกั ที่ 1
เร่อื ง วิเคราะหสภาพสังคมในศลิ าจารึกหลักที่ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 จำนวน 1 คาบ

1. มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ท 5.๑ เขา ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยางเห็นคุณคา
และนำมาประยุกตใ ชในชีวิตจรงิ
ตัวชวี้ ัด

ท 5.๑ ม. ๒/2 วิเคราะหแ ละวจิ ารณวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถนิ่ ทอ่ี า นพรอมยก
เหตุผลประกอบ

2. สาระสำคญั
การวิเคราะห วิจารณ จะตองแยกแยะเนื้อหาใหเขาใจในสวนตาง ๆ แลวจึงอธิบายเหตุผลประกอบ

การแสดงความคดิ เห็น เพอ่ื นำไปสขู อ สรปุ ความคดิ เหน็ ทีค่ ลอยตามและโตแ ยง จากเรอ่ื งท่อี าน
3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

๑) นกั เรียนอธบิ ายหลักการวเิ คราะห วจิ ารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมได (K)
๒) นักเรียนวเิ คราะห วจิ ารณ สภาพสงั คมในสมัยสุโขทัยจากศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ได (P)
๓) นักเรียนเห็นความสำคัญของการวเิ คราะห วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรม (A)
4. สาระการเรียนรู
วเิ คราะหส ภาพสังคมในศลิ าจารกึ หลักที่ 1
5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค (เฉพาะทีเ่ กดิ ในแผนการจัดการเรยี นรนู ี)้
 มีวินยั
 ใฝเรียนรู
 มงุ มั่นในการทำงาน
 รกั ความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน (เฉพาะทเี่ กิดในแผนการจัดการเรียนรูน ้)ี
 ความสามารถในการสอ่ื สาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกปญหา
 ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต
7. จดุ เนนสกู ารพัฒนาผเู รยี น ความสามารถและทักษะของผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะที่เกิดในแผนการจัดการเรียนรนู ้)ี  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อา นออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทักษะดา นการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป ญ หา)

3)  L1 - Learning (ทกั ษะการเรยี นรู)

8. การบรู ณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะที่เกดิ ในแผนการจัดการเรยี นรนู )้ี
 บรู ณาการขา มกลมุ สาระการเรยี นรู : กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

9. กจิ กรรมการเรยี นรู
ข้ันนำ
1. นกั เรยี นรวมกนั สนทนา โดยครใู ชคำถาม ดงั นี้
- นักเรียนคดิ วาสังคมในสมยั สุโขทัยกับสงั คมไทยในปจจบุ ัน สมัยใดนาอยูกวากันเพราะเหตุใด
ขั้นสอน
1. นักเรยี นพูดจินตนาการเก่ียวกับชวี ิตความเปนอยูและสภาพสงั คมในสมยั สโุ ขทยั
๒. นกั เรยี นดภู าพสงั คมไทยในสมยั สโุ ขทยั จากวดี ทิ ัศนหรือทางอนิ เทอรเ นต็ แลวรวมกันบอกลักษณะ

สภาพสงั คมท่ีปรากฏ จากน้ันเปรยี บเทยี บวา เหมือนหรือแตกตา งจากท่นี กั เรียนจินตนาการไวห รือไม อยางไร
๓. นักเรยี นศกึ ษาความรเู รอ่ื ง การวเิ คราะห วิจารณว รรณคดีและวรรณกรรม
๔. นักเรยี นรว มกนั บอกลักษณะสภาพสังคมท่ปี รากฏในปจจบุ นั แลววเิ คราะหค วามเหมอื นและ

ความแตกตางกับสงั คมไทยในสมัยสโุ ขทัย
๕. นักเรียนแบงกลมุ กลุมละ ๕-๗ คน เปรยี บเทยี บสภาพสงั คมไทยในสมยั สุโขทัยกับปจ จบุ ัน

ลงในตาราง พรอ มทง้ั บอกแนวโนมในอนาคต เชน

เรอ่ื ง สมยั สุโขทยั สมยั ปจ จุบัน แนวโนมในอนาคต
๑. การเมอื ง พอปกครองลกู ประชาธปิ ไตย โดยมี ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษตั รยิ เ ปน
เชอื่ เรอ่ื งไสยศาสตร พระมหากษตั รยิ เปนประมขุ ประมขุ
การปกครอง นบั ถือศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดูและ มคี วามเชือ่ เร่ืองไสยศาสตร ความเชอ่ื เร่ืองไสยศาสตรล ดนอยลง
๒. ความเชอ่ื พระพุทธศาสนา นอ ยลงเพราะความ ผคู นจะใหความสำคญั กบั ความเปน
เจรญิ กาวหนาทางเทคโนโลยี วิทยาศาสตร การนับถือศาสนาอาจจะ
และศาสนา เสรีนิยม ประชาชนประกอบ มกี ารนบั ถอื ศาสนาอยางหลากหลาย แบง แยกเปน นิกายตาง ๆ มากขนึ้
อาชีพเกษตรกรรม เนื่องจากไดรบั อทิ ธพิ ลจากทางตะวันตก แตพระพทุ ธศาสนายังคงเปนศาสนา
๓. เศรษฐกจิ อดุ มสมบรู ณไปดว ย และตะวันออก เชน ทีค่ นสว นใหญนบั ถือและให
๔.สภาพ พืชพรรณธัญญาหาร ศาสนาคริสต ศาสนาอสิ ลาม ความสนใจในการนำพระพทุ ธศาสนามา
แวดลอ ม คนอาศัยธรรมชาติ สว นพระพุทธศาสนายังเปนที่ ประยกุ ตใชใ นชีวิตประจำวนั มากขึ้น
ในการดำเนินชีวติ นับถอื ของคนสว นใหญ เสรีนิยม มีการนำเขาสนิ คา
เสรีนยิ ม ประชาชน เกษตรกรรมมากขึ้น เนือ่ งจากวตั ถุดิบไม
เขา สูร ะบบอุตสาหกรรม เพยี งพอตอความตองการ และอาจทำใหผ คู น
แตเ กษตรกรรมยังคงเปน หนั มาสนใจ การผลิตดา นเทคโนโลยีแทน
รายไดหลักของประเทศ กลบั มาใหความสำคัญและสนใจ
พชื พรรณธญั ญาหารนอยลง ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยประยกุ ต
ทรัพยากรตาง ๆ ถกู ใชไป ความเปนธรรมชาตกิ ับเทคโนโลยี
และถกู ทำลาย ธรรมชาติ เขาดวยกนั
ไมส ามารถทดแทนไดท ัน
มีอาคารตกึ รามบา นชอ งมากขึ้น
เทคโนโลยีเขามามบี ทบาท
ในการดำเนินชวี ิต

๕. ครอบครัว อยูรวมกันเปน ครอบครวั ใหญ มแี ยกตัวออกจากครอบครวั ใหญ ใหความสำคญั กบั ครอบครวั นอ ยลง โดยอาจ
ชวยเหลอื เกื้อกูลกนั อยูรวมกนั เปน ครอบครวั เล็ก ๆชว ยเหลอื ใชชีวติ อยูตามลำพังมากกวา
เกื้อกูลกนั นอ ยลง
6. นักเรียนกลุมเดิมเขียนปญหาสภาพสังคมไทยในปจจุบัน กลุมละ ๑ ปญหา และรวมกัน

เสนอแนวทางแกไขเปนแผนภาพความคดิ จากนั้นออกมานำเสนอผลงานหนาช้ันเรยี น เชน

อุตสาหกรรมขยายตวั ปัญหาทีแ� ทจ้ ริง ผลกระทบ
ทรัพยากร ๑. ประชาชนยากจน
การเพมิ� ข�ึนของประชากร ธรรมชาติ ๒. สุขภาพร่างกาย
มนุษยต์ ดั ไมท้ าํ ลายป่ า ถูกทาํ ลาย
เสื�อมโทรม
๓. เศรษฐกิจถดถอย
๔. ขาดแคลนอาหาร

แนวทางป้องกนั สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ขปัญหา
๑.เร่งสรา้ งจิตสาํ นึกใหร้ ูจ้ กั ๑. ช่วยกนั ปลูกและดูแลตน้ ไม้
มคนุณุษคยา่ต์ แดั ลไะมคท้ วาําลมาสยาปํ ค่ าญั ของ ๒.ใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั
ทรพั ยากร ๓. นาํ ทรพั ยากรมาใชซ้ �าํ ให้
๒. ออกกฎหมายทม�ี ีบทลงโทษ คุม้ คา่ มากทส�ี ุด
อยา่ งเขม้ งวด
๓. ศึกษาและจดั ทาํ รายงานการ
ประเมินการใชท้ รพั ยากรอยา่ ง
ต่อเน�ือง

๗. นักเรียนทำใบกิจกรรม เรื่อง การวิเคราะหสภาพสังคมในสมัยสุโขทยั จากศิลาจารึกครูประเมินผล
งานของนกั เรียนเปนรายบคุ คล

ขั้นสรุป
๑. นกั เรียนและครูรว มกนั สรปุ ความรู ดังนี้

- การวิเคราะห วิจารณจะตองแยกแยะเนื้อหาใหเขาใจในสวนตาง ๆ แลวจึงอธิบายเหตุผล
ประกอบการแสดงความคิดเหน็ เพ่อื นำไปสูขอสรปุ ความคิดเห็นทคี่ ลอ ยตามและโตแ ยงจากเรื่องท่ีอาน

10. การวดั และประเมินผลการเรียนรู

เปาหมาย ภาระงาน/ชิ้นงาน/ วิธีการวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑก ารให
รอ งรอยหลักฐาน - ประเมนิ ใบกิจกรรม คะแนน
จดุ ประสงคการเรยี นรู - ใบกจิ กรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ ใบ
๑. นักเรยี นอธบิ าย การวเิ คราะหสภาพ รายบุคคล กิจกรรม - ระดบั คุณภาพ ดี
หลักการวเิ คราะห สงั คมในสมยั สโุ ขทยั - สงั เกตพฤติกรรม - รอ ยละ 70 ข้นึ ไป
การทำงานกลมุ
วิจารณวรรณคดแี ละ จากศลิ าจารึก - แบบสงั เกต

วรรณกรรมได พฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. นกั เรียนวิเคราะห - แบบสงั เกต
วจิ ารณ สภาพสังคมใน พฤตกิ รรมการทำงาน
สมยั สโุ ขทยั จากศลิ า กลุม

จารกึ หลกั ท่ี ๑ ได
๓. นกั เรียนเหน็
ความสำคญั ของการ
วิเคราะห วจิ ารณ
วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม

11. สอื่ การเรียนรู / แหลง เรยี นรู
1) ภาพสังคมสมยั สโุ ขทยั
2) หนงั สอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวรรณคดแี ละวรรณกรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒

แผนการจดั การเรียนรูท ี่ 11
รหัสวชิ า ท22101 รายวชิ าภาษาไทย 3 กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
ชอื่ หนวยการเรยี นรู ศลิ าจารึกหลักท่ี 1 จำนวน 1 คาบ
เรอ่ื ง วเิ คราะหคณุ คาศิลาจารกึ หลกั ที่ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2

1. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 5.๑ เขา ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยา งเห็นคณุ คา
และนำมาประยุกตใ ชใ นชวี ิตจรงิ
ตัวช้วี ัด

ท 5.๑ ม. ๒/3 อธิบายคณุ คาของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า น
2. สาระสำคญั

คุณคาของศิลาจารึกหลกั ที่ 1 ดีเดนทั้งดานวรรณศิลปท ี่ใชค ำงาย ๆ มีสัมผัสคลองจอง ดานเนื้อหาท่ี
สอดแทรกขอคิดในการดำเนินชีวิตหลายประการ และดานสังคมที่สะทอนภาพสังคมไทย การตระหนักใน
คณุ คาของศิลาจารกึ หลักที่ 1 ทำใหเกดิ ความรักและหวงแหนความเปน ไทย
3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

๑) นักเรยี นอธบิ ายหลกั การวิเคราะห วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมได (K)
๒) นกั เรียนวเิ คราะหค ณุ คาของศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ ได (P)
๓) นักเรยี นตระหนกั ในคณุ คา ของศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ (A)
4. สาระการเรยี นรู
วิเคราะหคณุ คาศิลาจารึกหลกั ท่ี 1
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค (เฉพาะท่เี กดิ ในแผนการจัดการเรียนรนู ้ี)
 มวี นิ ยั
 ใฝเรยี นรู
 มุง ม่ันในการทำงาน
 รักความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน (เฉพาะท่ีเกิดในแผนการจัดการเรียนรนู ี)้
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแกปญหา
 ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ
7. จดุ เนน สูการพฒั นาผเู รยี น ความสามารถและทักษะของผูเรยี นในศตวรรษที่ 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะท่ีเกิดในแผนการจัดการเรยี นรูน ี)้  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อานออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทักษะดา นการคิดอยางมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกปญ หา)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปนทมี และภาวะผนู ำ)

3)  L1 - Learning (ทักษะการเรียนรู)

8. การบรู ณาการตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ (เฉพาะทเ่ี กิดในแผนการจัดการเรยี นรูนี)้
 บูรณาการขา มกลมุ สาระการเรียนรู : กลมุ สาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

9. กิจกรรมการเรียนรู
ข้นั นำ
1. นักเรยี นรวมกนั สนทนา โดยครูใชคำถาม ดงั นี้
- หากนักเรยี นยอนเวลากลบั ไปสมัยสุโขทัยได นกั เรียนอยากไปดูอะไรมากที่สุด เพราะเหตุใด
ขั้นสอน
1. นักเรียนทบทวนความรู เรอ่ื ง การพจิ ารณาคณุ คา ของวรรณคดีและวรรณกรรม โดยเลอื กนักเรยี น

ใหออกมาสรุปความคดิ เปน แผนภาพ เพื่อน ๆ และครูอธิบายเพ่ิมเติม
๒. นักเรียนอานขอความ “ในน้ำมีปลา ในนามีขาว” จากแถบขอความที่ครูติดบนกระดาน แลว

รวมกันอภิปรายวา ขอ ความดงั กลา วมผี จู ดจำ และนำไปใชอา งอิงอยา งแพรห ลาย เพราะเหตุใด
๓. นักเรียนนับ ๑-๖ ตอ กันจนครบจำนวนนกั เรยี นทงั้ หอ ง จะได ๖ กลมุ แลวแขงขนั กนั บอกประโยค

ท่ปี รากฏในศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ตามเงื่อนไขทค่ี รูกำหนด ไดแ ก
- ขอ ความที่แสดงถงึ ความกตัญู (เชน “ เมอ่ื ช่ัวพอกู กูบำเรอแกพอ กู กูบำเรอแกแ มก.ู ..”)
- ขอความท่ีแสดงถงึ ความอุดมสมบูรณ (เชน “กไู ดต ัวเนอ้ื ตวั ปลา กูเอามาแกพ อ ก”ู )
- ขอ ความทีแ่ สดงถงึ ความกลาหาญ (เชน “ตนกพู งุ ชางขุนสามชนตัวชือ่ มาสเมืองแพ”)
- ขอความทก่ี ลา วถงึ พระราชประวัติ (เชน “พอกูชื่อศรอี นิ ทราทติ ย แมกูช่ือนางเสอื ง”)
- ขอ ความท่แี สดงถงึ ระบบการเมืองการปกครอง (เชน “พี่กูตายจงึ่ ไดเมอื งแกกทู ัง้ กลม”)

กลุมใดยกมือตอบไดเ รว็ ทสี่ ดุ และถูกตอ งเปนฝายชนะ
๔. นักเรียนกลุมเดมิ สงตวั แทนออกมาจบั ฉลากหมายเลขกลมุ แลว ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมดังนี้
กลุมที่ ๑ กบั กลมุ ที่ ๔ อธิบายคุณคา ดา นเน้อื หาของศิลาจารกึ หลักท่ี ๑
กลุม ที่ ๒ กับกลมุ ที่ ๕ อธิบายคณุ คา ดานวรรณศลิ ปข องศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑
กลุม ท่ี ๓ กบั กลมุ ท่ี ๖ อธบิ ายคณุ คาดา นสงั คมของศลิ าจารกึ หลักที่ ๑

ตัวแทนกลมุ ออกมานำเสนอบนกระดานใหเ พ่อื น ๆ และครชู ว ยกนั เพิ่มเติมใหสมบรู ณ
๕. นกั เรียนทำใบกิจกรรม เร่ือง การอธิบายคณุ คา วรรณคดี
๖. นักเรียนรวมกันพิจารณาวา ศิลาจารึกพอขุนรามคำแหงมีคุณคาตอชีวิตนักเรียนอยางไรบาง แลว

รว มกนั เขยี นขอสรปุ ท่ีไดบ นกระดาน ครูอธบิ ายเพิ่มเติม
ขน้ั สรุป
๑. นกั เรยี นและครรู ว มกนั สรุปความรู ดงั น้ี
 คุณคาของศิลาจารึก ดีเดนทั้งดานวรรณศิลปทีใ่ ชคำงา ย ๆ มีสัมผัสคลองจอง ดานเนื้อหาที่

สอดแทรกขอคิดในการดำเนินชีวิตหลายประการ และดานสังคมที่สะทอนภาพสังคมไทย การตระหนักใน
คณุ คา ของศลิ าจารกึ ทำใหเ กดิ ความรกั และหวงแหนความเปน ไทย

10. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

เปา หมาย ภาระงาน/ชนิ้ งาน/ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก ารให
รอ งรอยหลักฐาน - ประเมินใบกิจกรรม คะแนน
จดุ ประสงคการเรียนรู - ใบกจิ กรรม - ประเมนิ การ - แบบประเมินใบ
๑. นกั เรียนอธิบาย วิเคราะหคุณคา วิเคราะหค ณุ คา กิจกรรม - ระดบั คุณภาพ ดี
หลกั การวเิ คราะห ศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 - สังเกตพฤติกรรม - รอยละ 70 ข้นึ ไป
รายบุคคล
วิจารณว รรณคดแี ละ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ การ
การทำงานกลุม
วรรณกรรมได วิเคราะหคณุ คา
๒. นักเรยี นวเิ คราะห - แบบสังเกต

คณุ คาของศลิ าจารกึ พฤตกิ รรมรายบคุ คล
หลกั ที่ ๑ ได - แบบสงั เกต
๓. นกั เรียนตระหนกั พฤติกรรมการทำงาน
ในคณุ คาของศิลาจารกึ กลมุ

หลักท่ี ๑

11. สอ่ื การเรียนรู / แหลงเรียนรู
1) ฉลาก
2) หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวรรณคดีและวรรณกรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๒

แผนการจดั การเรียนรูที่ 12 กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย
รหสั วิชา ท22101 รายวิชาภาษาไทย 3 จำนวน 1 คาบ
ชอื่ หนวยการเรยี นรู ศิลาจารึกหลกั ท่ี 1
เรอ่ื ง ความรแู ละขอ คิดศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรยี นรู

มาตรฐาน ท 5.๑ เขาใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยา งเหน็ คุณคา
และนำมาประยุกตใชในชวี ติ จรงิ
ตัวช้ีวัด

ท 5.๑ ม. ๒/4 สรุปความรแู ละขอ คิดจากการอานไปประยกุ ตใชใ นชวี ิตจริง
2. สาระสำคญั

การสรุปความรูและการนำขอคดิ ที่ไดจ ากการอานไปประยุกตใชในชีวิตจรงิ จะทำใหการอา นวรรณคดี
เร่อื งน้ัน ๆ เกดิ ประโยชนใ นการดำเนนิ ชวี ติ และรูจกั แกปญหาท่ีเกิดขึน้
3. จุดประสงคก ารเรยี นรู

๑) นักเรยี นบอกความรแู ละขอ คิดที่ไดจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ได (K)
๒) นักเรยี นสังเคราะหความรแู ละขอคดิ จากศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ได (P)
๓) นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญของการสรุปความรูและขอคดิ จากการอาน (A)
4. สาระการเรยี นรู
การสรุปความรแู ละขอคดิ จากศิลาจารกึ หลักที่ 1
5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค (เฉพาะท่เี กิดในแผนการจัดการเรียนรูน้)ี
 มวี ินัย
 ใฝเรียนรู
 มุงม่นั ในการทำงาน
 รกั ความเปนไทย
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน (เฉพาะท่เี กิดในแผนการจัดการเรียนรนู )ี้
 ความสามารถในการสอื่ สาร
 ความสามารถในการคดิ
7. จดุ เนนสูก ารพฒั นาผเู รยี น ความสามารถและทักษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 (3R x 8C x 2Ls)

(เฉพาะทเี่ กิดในแผนการจัดการเรียนรนู ี)้  R2- W(R)iting (เขียนได)
1)  R1-(R)eading (อานออก)

2)  C1 – CriticalThinking andProblemSolving (ทักษะดา นการคิดอยา งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา)

3)  L1 - Learning (ทกั ษะการเรยี นร)ู

8. การบรู ณาการตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจัดการเรยี นรูน )้ี
 บูรณาการขา มกลมุ สาระการเรียนรู : กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

9. กจิ กรรมการเรยี นรู
ขนั้ นำ
1. นกั เรยี นรวมกนั สนทนา โดยครใู ชคำถาม ดังนี้
- ผนู ำที่ดคี วรมลี กั ษณะอยา งไร
ขัน้ สอน
1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓-๕ คน ทบทวนความรู เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ แลวบอกความรูที่

ไดรับจากการอาน จากนั้นออกมานำเสนอหนาช้นั เรยี น ครูใหคำแนะนำและเสนอแนะเพิ่มเตมิ
๒. นักเรียนออกมาเลาพระราชจริยวัตรของพอขุนรามคำแหงมหาราชที่ประทับใจ พรอมทั้งบอก

เหตุผล
๓. นกั เรยี นทำใบกิจกรรม เร่อื ง การสรุปความรแู ละขอ คิดจากศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑ ครตู รวจผลงานของ

นักเรียนเปนรายบุคคล
๔. นักเรียนกลุมเดิมแสดงบทบาทสมมุติ โดยแตงเรื่องราวใหมีขอคิดที่สอดคลองกับเรื่องราวใน

ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ครูและนักเรียนรว มกันประเมินผลงาน
๕. นักเรียนกลุมเดิมนำขอคิดที่ไดจากเรื่องที่แสดงบทบาทสมมุติมาเขียนผังความคิด แลวออกมา

นำเสนอหนา ชนั้ เรียน ครูและนกั เรียนรวมกนั แสดงความคดิ เห็นเพมิ่ เติม

ถา้ ปฏิบตั ิ ผลที�เกิดข�นึ

ขอ้ คดิ

ผลท�เี กิดข�นึ

ถา้ ไม่ปฏิบตั ิ

ข้นั สรุป
๑. นกั เรียนและครูรว มกนั สรปุ ความรู ดงั นี้

 การสรปุ ความรูและการนำขอคิดท่ีไดจากการอานไปประยุกตใชในชีวิตจรงิ จะทำใหการอาน
วรรณคดเี รื่องน้ัน ๆ เกิดประโยชนในการดำเนินชีวิตและรูจักแกป ญ หาทเ่ี กดิ ข้ึน

10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู

เปาหมาย ภาระงาน/ชน้ิ งาน/ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมือวดั เกณฑการให
รองรอยหลักฐาน - ประเมินใบกิจกรรม คะแนน
จดุ ประสงคการเรยี นรู - ใบกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ ใบ
๑. นกั เรียนบอก การสรปุ ความรแู ละ รายบุคคล กิจกรรม - ระดบั คณุ ภาพ ดี
ความรูและขอคิดท่ีได ขอคดิ จากศลิ าจารึก - สังเกตพฤติกรรม - รอ ยละ 70 ขนึ้ ไป
การทำงานกลมุ
จากศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ หลกั ที่ ๑ - แบบสังเกต

ได พฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. นกั เรยี นสงั เคราะห - แบบสงั เกต
ความรูและขอคดิ จาก พฤติกรรมการทำงาน
ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ ได กลุม

๓. นกั เรยี นเห็น
ความสำคัญของการ
สรปุ ความรูแ ละขอคิด
จากการอา น

11. สอื่ การเรียนรู / แหลง เรียนรู
1) หนังสอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐานวรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒

ใบกจิ กรรม หลกั การเขยี นเรยี งความ

ชื่อ - นามสกุล ....................................................................................... ชน้ั ........................... เลขท่ี ..............

คำชี้แจง : นักเรยี นเขียนแผนภาพความคดิ เพื่อวางโครงเรือ่ งในการเขียนเรยี งความของตนเอง

ใบกจิ กรรม การเขยี นเรยี งความ

ชื่อ - นามสกุล ....................................................................................... ช้ัน ........................... เลขท่ี ..............

คำช้ีแจง : นักเรยี นนำแผนภาพความคิดที่นกั เรยี นเตรยี มไว้ มาเขียนเป็นเรียงความ ความยาว ๑ หนา้
พรอ้ มตงั้ ชอ่ื เร่อื งให้สมั พนั ธ์กัน

ใบกจิ กรรม ประโยคซอ้ น

ชื่อ - นามสกลุ ....................................................................................... ช้นั ........................... เลขที่ ..............

คำชีแ้ จง : นักเรียนพิจารณาประโยคความซ้อนต่อไปนี้ ว่าประโยคใดเป็นประโยคหลกั และประโยคใด
เป็นประโยคย่อย

๑. จันทรเ์ จา้ ชอบเรยี นวชิ าภาษาไทยเพราะคุณครสู อนสนุก
ประโยคหลัก ....................................... ประโยคยอ่ ย ........................................... คำเชือ่ ม ...............

๒. ฝนตกหนักถนนจึงล่ืนมาก
ประโยคหลกั ....................................... ประโยคยอ่ ย ........................................... คำเชอ่ื ม ...............

๓. คุณปสู่ อนวา่ เกิดเปน็ คนตอ้ งมีความพยายาม
ประโยคหลัก ....................................... ประโยคย่อย ........................................... คำเชอ่ื ม ...............

๔. หนงั สอื พมิ พ์เสนอข่าวทน่ี า่ สนใจ
ประโยคหลกั ....................................... ประโยคย่อย ........................................... คำเชอื่ ม ...............

๕. คอมพวิ เตอรซ์ ่ึงเขาซอื้ มามีไวรัส
ประโยคหลกั ....................................... ประโยคย่อย ........................................... คำเชื่อม ...............

๖. ปนี ฝี้ นตกชกุ รม่ จึงขายดกี วา่ ปีก่อน
ประโยคหลัก ....................................... ประโยคยอ่ ย ........................................... คำเช่อื ม ...............

๗. เขาปว่ ยจนไม่สามารถเดินได้
ประโยคหลัก ....................................... ประโยคย่อย ........................................... คำเชือ่ ม ...............

๘. คนขยันคอื คนทม่ี คี วามพยายาม
ประโยคหลกั ....................................... ประโยคยอ่ ย ........................................... คำเชอ่ื ม ...............

๙. ผมจะมาหาเมือ่ คณุ ตอ้ งการ
ประโยคหลัก ....................................... ประโยคย่อย ........................................... คำเชอ่ื ม ...............

๑๐. ปงั ปอนดส์ อบตรงติด เพราะเขาอา่ นหนังสือ
ประโยคหลกั ....................................... ประโยคยอ่ ย ........................................... คำเชื่อม ...............

ใบกจิ กรรม ประโยครวม

ชอ่ื - นามสกุล ....................................................................................... ชัน้ ........................... เลขท่ี ..............

คำชแ้ี จง : นกั เรยี นพจิ ารณาเน้อื ความของประโยครวมว่ามลี ักษณะอย่างไร

๑. กว่าจะไปถงึ บา้ น คณุ ยายก็หลับแล้ว
..........................................................................................
๒. เมอ่ื เขา้ หนา้ ฝนอากาศก็เรมิ่ เยน็
..........................................................................................
๓. เพราะเธอเป็นคนดีเธอจงึ มคี นชว่ ยเหลอื
..........................................................................................
๔. เขาพดู ความจริงแตเ่ ธอไมเ่ ชอ่ื เขา
..........................................................................................
๕. โปป๊ และเบลลา่ เป็นดาราทม่ี ชี อ่ื เสียง
..........................................................................................
๖. เธอจะดม่ื ชาเขียวหรือนมเย็น
..........................................................................................
๗. คณุ พ่อจะไปเท่ียวหรอื ไปทำงาน
..........................................................................................
๘. กายเขาสบายแต่ทว่าใจเขาไมส่ บาย
..........................................................................................
๙. เธอจะต้องเลิกการพนนั มิฉะนน้ั จะติดคกุ
..........................................................................................
๑๐. เธอมีความสวยแตไ่ มม่ เี สนห่ ์
..........................................................................................

ใบกจิ กรรม ประโยคและวลี

ช่อื - นามสกลุ ....................................................................................... ชั้น ........................... เลขที่ ..............

คำชี้แจง : นกั เรยี นทำเคร่ืองหมาย  หน้าขอ้ ความทีเ่ ป็นประโยค และทำเครือ่ งหมาย 
หนา้ ข้อความที่เปน็ กล่มุ คำ

..................๑. กระดาษขาด
..................๒. เรือล่ม
..................๓. ตเู้ สื้อผา้ ลายไมส้ ัก
..................๔. ปลาวาฬเปน็ สตั วเ์ ลย้ี งลูกด้วยนม
..................๕. ดอกไม้จากเจา้ ของสวนชานเมอื ง
..................๖. ของขวญั ในกลอ่ งใบน้ี
..................๗. นาฬิกาคือเครือ่ งประดบั อย่างหนึง่
..................๘. พดั ลมเครอ่ื งนพี้ ดั แรงดีจัง
..................๙. ต้นมะม่วงเขยี วเสวยหนา้ บา้ น
..................๑๐. นกเกาะสายไฟฟ้า

ใบกจิ กรรม ลายสอื ไทย

ชอื่ - นามสกุล ....................................................................................... ชน้ั ........................... เลขท่ี ..............

คำช้ีแจง : นกั เรยี นเขยี นพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ภาษาไทย ในแบบลายสอื ไทย
พยญั ชนะ

ก ขฅคฅฆ งจฉชซ
ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑฒณ ด ต ถ
ท ธน บป ผ ฝพฟภ ม
ย รล วศษสหฬอ ฮ

ะา สระ ึ ื
ุู ิี แ-ะ แ
โ-ะ โ เ-ะ เ ัว
เ-ียะ เ-ีย เ-าะ อ วั ะ เ-อ
ำไ เ-อะ เ-อ เ-อะ
ใ เ-า ๋
่ ๊
วรรณยกุ ต์

ใบกจิ กรรม การวเิ คราะหส์ ภาพสงั คมในสมยั สโุ ขทยั จากศลิ าจารึก

ช่ือ - นามสกุล ....................................................................................... ชั้น ........................... เลขท่ี ..............

คำช้ีแจง : นกั เรยี นวเิ คราะหส์ ภาพสงั คมในสมัยสโุ ขทยั จากการศึกษาศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ ตามหัวขอ้
ต่อไปน้ใี หค้ รบถ้วนสมบรู ณ์

๑. นักเรียนศึกษาคน้ ควา้ สภาพสงั คมในสมยั สุโขทัยเพื่อนำมาประกอบการวเิ คราะหส์ งั คมไทยสมยั
พ่อขนุ รามคำแหง ตามท่ปี รากฏในศิลาจารึกหลักท่ี ๑

๑.๑ ครอบครวั ............................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๑.๒ การเมอื งการปกครอง ..........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๑.๓ สภาพแวดล้อม ...................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๒. สภาพสังคมในปจั จุบันเปรียบเทยี บกบั สมยั สุโขทัยแตกต่างกนั อยา่ งไรบา้ ง นักเรยี นคิดวา่ เปน็ เพราะเหตุใด
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ใบกจิ กรรม สรปุ เนอ้ื หาศลิ าจารกึ

ช่อื - นามสกลุ ....................................................................................... ชนั้ ........................... เลขที่ ..............

คำช้ีแจง : นักเรยี นสรุปเนอ้ื หาขอ้ ความจากศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ ที่กำหนดใหต้ อ่ ไปน้ี

๑. ตพู น่ี ้องท้องเดียวหา้ คน
....................................................................................................................................................

๒. พี่เผอื ผู้อ้ายตายจากเผอื เตยี มแตย่ ังเลก็
....................................................................................................................................................

๓. เมือ่ กขู ึ้นใหญไ่ ดส้ ิบเกา้ เข้า
....................................................................................................................................................

๔. กูต่อช้างดว้ ยขนุ สามชน
....................................................................................................................................................

๕. พ่อกจู ึงขน้ึ ชอื่ กูชอื่ พระรามคำแหง เพื่อกูพ่งุ ชนชา้ งขุนสามชน
....................................................................................................................................................

๖. กไู ดต้ ัวเนอ้ื ตัวปลา กเู อามาแก่พอ่ กู
....................................................................................................................................................

๗. เมื่อช่ัวพอ่ กู กบู ำเรอแกพ่ อ่ กู
....................................................................................................................................................

๘. กไู ปตีหนงั วังชา้ งได้
....................................................................................................................................................

๙. กพู รำ่ บำเรอแกพ่ ีก่ ดู ่ังบำเรอแกพ่ ่อกู
....................................................................................................................................................

๑๐. พก่ี ูตายจงึ ไดเ้ มอื งแก่กูทงั้ กลม
....................................................................................................................................................

ใบกจิ กรรม วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑

ชอ่ื - นามสกลุ ....................................................................................... ชัน้ ........................... เลขท่ี ..............

คำชี้แจง : นกั เรยี นวเิ คราะห์คณุ ค่าศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ ลงในแผนผงั ความคิด

คณุ คา่ ดา้ นเนือ้ หา คณุ คา่ ดา้ นเนอื้ หา
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................

คณุ คา่ ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑

คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ คณุ คา่ ดา้ นสงั คม
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................

ใบกจิ กรรม สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑

ชอื่ - นามสกลุ ....................................................................................... ชัน้ ........................... เลขท่ี ..............

คำชแี้ จง : นักเรียนสรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากศลิ าจารึก หลกั ท่ี ๑

ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั
๑. .......................................................................................................................
๒. .......................................................................................................................
๓. .......................................................................................................................
๔. .......................................................................................................................
๕. .......................................................................................................................

ขอ้ คดิ ทไี่ ดร้ บั
๑. .......................................................................................................................
๒. .......................................................................................................................
๓. .......................................................................................................................
๔. .......................................................................................................................
๕. .......................................................................................................................

แบบทดสอบ วรรณคดี เรอ่ื ง ศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑

คำชีแ้ จง ใหนกั เรียนเลอื กตอบคำตอบทีถ่ ูกตอ งท่ีสุดเพยี งขอ เดียว
1. ขอ ใดมใิ ชประโยชนของการศกึ ษาศิลาจารกึ

ก. ทำใหทราบประวตั ิศาสตรข องกรุงสุโขทัย

ข. ทำใหท ราบลกั ษณะทางวฒั นธรรมของคนสโุ ขทัย

ค. ทำใหเขาใจพระราชประวัติของพอขุนรามคำแหง

ง. ทำใหเ ขาใจการสถาปนาพระพทุ ธศาสนาในอดีต

2. ขอ ความใดตอไปนี้ท่เี ปนภาษาวรรณศิลป

ก. เม่อื กขู น้ึ ใหญไ ดสิบเกา เขา

ข. เพอื่ นจูงวัวไปคา ข่ีมาไปขาย

ค. พีก่ ตู ายจงึ่ ไดเ มืองแกก ูท้ังกลม

ง. ขนุ สามชนเจาเมืองฉอดมาทเมอื งตาก

3. เมอื่ อายุ ๑๙ ปพ อขุนรามคำแหงไดท ำสงครามกบั ใคร

ก. พระเจา บุเรงนอง ข. พระเจา ตองอู

ค. พระเจา ตะเบ็งชะเวงตี้ ง. ขนุ สามชน

4. ขอ ใดตอไปนแี้ สดงใหเ ห็นความกตญั ขู อง

พอ ขนุ รามคำแหงมากทีส่ ดุ

ก. กูไดตวั เนื้อตัวปลา กเู อามาแกพอ กู

ข. เมอื่ ชว่ั พอ กู กบู ำเรอแกพอ กู

ค. กขู ี่ชางเบกพล กูขบั เขากอ นพอ กู

ง. ไดเงือนไดทอง กูเอามาเวนแกพ อกู

๕. บมชี า ง บม ีมา บมปี ว บมีนาง บมีเงือน บม ีทอง

ลกั ษณะการใชภ าษาขางตน สอดคลองกบั ขอ ใด

ก. ตูพี่นองทองเดยี วหา คน ผูชายสาม ผหู ญิงโสง

ข. ตนกูพุง ชา งขุนสามชนตวั ชอื่ มาสเมอื งแพ

ค. เมอื่ ช่วั พอ กู กูบำเรอแกพ อกู กูบำเรอแกแ มกู

ง. ไพรฟ า หนาใสพอ กหู นีญญา ยพายจแจน

๖. ขอใดมีคำทแี่ สดงถึงการเปลย่ี นแปลงของภาษา

ก. กพู รำ่ บำเรอแกพ่ีกูดัง่ บำเรอแกพอ กู

ข. พอ กูไปรบขุนสามชน

ค. แมกชู ่ือนางเสอื ง พี่กชู ่ือบานเมอื ง

ง. กูขบั เขา กอ นพอ กู