เนื้อหาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ

วิทยาลยั อาชีวศึกษาลาปาง รหสั วิชา 30001-2003

Information

Digital for Works

เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เพื่อการจัดการอาชีพ

เทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือการจัดการอาชีพ
(Information Digital for Works)

เสนอ
ครูปรียา ปันธยิ ะ

นางสาวณัฐชา วงษว์ ิชยั
เลขที่ 9 สบจ 63.1

สาขาวชิ าการจดั การสำนักงาน

รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของวชิ า 30001 – 2003
เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพือ่ การจัดการอาชพี

สาขาวิชาการจดั การสำนกั งาน แผนกวิชาการจัดการสำนกั งาน
คณะบรหิ ารธรุ กิจ

วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาลำปาง
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

คานา

รายงานเล่มน้ี เป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า 30001 – 2003 เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่อื การ
จดั การอาชพี ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายจาก ครปู รยี า ปันธยิ ะ ไดใ้ หศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เกย่ี วกบั เรอ่ื ง ความรู้
พน้ื ฐาน ประวตั คิ วามเป็นมา ความหมาย ลกั ษณะ ความสาคญั องคป์ ระกอบ และจดั การขอ้ มลู
ขนาดใหญ่ (Big Data), อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสงิ่ (Internet Of Things), เทคโนโลยที ่ใี ช้ในการ
ทาธุรกรรม โดยไม่ต้องผ่านบุคคลท่ีสาม (Blockchain), ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech),
ระบบเงนิ ดจิ ทิ ลั สกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั หรอื ครปิ โทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency), การทาธุรกจิ ดจิ ทิ ลั
บนส่อื สงั คมออนไลน์ (Digital Marketing), คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ ความปลอดภยั
ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และกฎหมายเกย่ี วกบั การใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์, เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
เชอ่ื มโยงอาชพี

ผจู้ ดั ทา ไดท้ าการศกึ ษา คน้ ควา้ และเรยี บเรยี ง เป็นรายงานฉบบั สมบูรณ์ เพ่อื ใหผ้ ทู้ ่ี
สนใจศกึ ษาเกย่ี วกบั เรอ่ื ง เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื การจดั การอาชพี เพม่ิ เตมิ จากรายงานเลม่ น้ี

ผูจ้ ดั ทา หวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่าผูอ้ ่าน ผู้ท่สี นใจจะได้รบั ประโยชน์ และนาไปประยุกต์ใช้
ในชวี ติ ประจาวนั ได้

ณฐั ชา วงษว์ ชิ ยั
สาขาวชิ าการจดั การสานกั งาน

สารบญั

เรอ่ื ง หน้า

หน่วยท่ี 1 ความร้พู ืน้ ฐาน ประวตั ิความเป็นมา ความหมาย ลกั ษณะ ความสาคญั 1
องคป์ ระกอบ และจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) 2
4
Big Data คอื อะไร 5
องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ของขอ้ มลู 5
Big data ทม่ี คี ณุ ภาพสงู ควรมลี กั ษณะพน้ื ฐานอยู่ 6 ประการ
รปู แบบของขอ้ มลู Big Data
การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big data

หน่วยท่ี 2 อินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสิ่ง (Internet Of Things) 9
10
ความหมายของอนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสงิ่ 11
ววิ ฒั นาการของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสง่ิ 11
ลกั ษณะการทางานของอนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสงิ่ 12
ประเภทของอนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสง่ิ 13
สว่ นประกอบของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่ 14
ประโยชน์ของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง Internet Of Things และ Big data

หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีท่ีใช้ในการทาธรุ กรรม โดยไม่ต้องผา่ นบคุ คลที่สาม (Blockchain)

ความหมายของ Blockchain 18

แนวคดิ Blockchain 19

ววิ ฒั นาการของ Blockchain ดว้ ย Fork 19

ลกั ษณะการทางานของ Blockchain 22

หลกั การทางานขอองเทคโนโลยี Blockchain 24

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี Blockchain 25

ประเภทของ Blockchain 26

ประโยชน์ของ Blockchain 29

สารบญั (ต่อ)

เรอื่ ง หน้า
หน่วยที่ 4 ธรุ กรรมการเงินดิจิทลั (Fintech)
32
ความหมายของ (Fintech) 33
ววิ ฒั นาการของธุรกรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech) 35
ประเภทของ Fintech 37
ประโยชน์ของธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั Fintech 38
39
เทคโนโลยที างการเงนิ มปี ระโยชน์อยา่ งไร กบั ใครบา้ ง 40
ผลกระทบของ Fintech ทม่ี ตี ่อธนาคารและอุตสาหกรรม 43
บทบาทของ Fintech กบั ระบบการเงนิ ของไทยในอนาคต 45
ผลสาเรจ็ ของธุรกรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (FinTech)
Fintech Starup

หน่วยที่ 5 ระบบเงินดิจิทลั สกลุ เงินดิจิทลั หรอื คริปโทเคอรเ์ รนซี (Cryptocurrency)

สกุลเงนิ ดจิ ติ อล (Cryptocurrency) คอื อะไร 48

สกลุ เงนิ ดจิ ติ อลทางานอยา่ งไร 48

รปู แบบของการทางานสกุลเงนิ ดจิ ติ อล (Cryptocurrency) 49

ประเภทของสกลุ เงนิ ดจิ ติ อล มกี ป่ี ระเภท อะไรบา้ ง 49

ววิ ฒั นาการของสกลุ เงนิ ดจิ ติ อล 49

ขอ้ ดขี อ้ เสยี ของสกุลเงนิ ดจิ ติ อล (Cryptocurrency) 51

10 อนั ดบั สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั ทม่ี มี ลู คา่ สงู สดุ 54

หน่วยท่ี 6 การทาธรุ กิจดิจิทลั บนสื่อสงั คมออนไลน์ (Digital Marketing) 61
62
ความหมายของ Digtal Marketing 62
5 ปัจจยั สาคญั ของ Digital Marketing เป็นภาพรวมงา่ ย ๆ 63
YouTube คอื อะไร 64
ประโยชน์ของ Youtube 65
YouTube ชอ่ งทางในการทา Digital Marketing ทน่ี ่าสนใจ 68
ขอ้ ดขี องการทา Digital Marketing Campaign บน YouTube 69
Digital Marketing ของ YouTube Analysis 70
Digital Marketing กบั Youtube Analysis
Mandala Analysis ตวั ชว่ ยสาคญั ของการตลาดบน Youtube

สารบญั (ต่อ)

เรอ่ื ง หน้า
หน่วยที่ 7 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ความปลอดภยั ในการใช้
74
เทคโนโลยีสารสนเทศ และกฎหมายเกี่ยวกบั การใช้ส่ือสงั คมออนไลน์ 74
ความหมายของคุณธรรม 75
ความหมายของคุณธรรมสมยั โบราณ 76
ความหมายของจรยิ ธรรม 77
คุณธรรมจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 78
จรยิ ธรรมและคณุ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 80
จรรยาบรรณทผ่ี ใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตยดึ ถอื ไวเ้ ป็นบทการปฏบิ ตั เิ พอ่ื เตอื นความจา 83
จรยิ ธรรมในสงั คมสารสนเทศ 86
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั
กฎหมายเกย่ี วกบั การใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์ 94
94
หน่วยที่ 8 เทคโนโลยีดิจิทลั เชื่อมโยงอาชีพ 102
ความหมายของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 103
เทคโนโลยใี นการประกอบอาชพี 104
การประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานสาธารณสุขและการแพทย์ 107
Digital Health กบั การดแู ลสขุ ภาพยคุ ใหม่
เทคโนโลยสี ขุ ภาพในยคุ 4.0 และเครอ่ื งมอื ดจิ ทิ ลั ทางการแพทย์ 111
ธรุ กจิ Digital Healthcare

อ้างอิง

สารบญั ภาพ

ภาพที่ หน้า

หน่วยท่ี 1 ความร้พู ืน้ ฐาน ประวตั ิความเป็นมา ความหมาย ลกั ษณะ ความสาคญั 1
องคป์ ระกอบ และจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) 3
ภาพท่ี 1.1 Big Data 4
ภาพท่ี 1.2 ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน (Procedure) 5
ภาพท่ี 1.3 The Six Vs of Big Data 7
ภาพท่ี 1.4 การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big data
ภาพท่ี 1.5 Grid Computing (การประมวลผลแบบกรดิ ) 9
9
หน่วยท่ี 2 อินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสิ่ง (Internet Of Things) 10
ภาพท่ี 2.1 อนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสง่ิ 11
ภาพท่ี 2.2 เทคโนโลยี IoT 13
ภาพท่ี 2.3 นาย Kevin Ashton 14
ภาพท่ี 2.4 ประเภทของอนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสง่ิ 15
ภาพท่ี 2.5 ประโยชน์ของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่
ภาพท่ี 2.6 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง Internet Of Things และ Big dat 18
ภาพท่ี 2.7 โรงงานอจั ฉรยิ ะแหง่ อนาคต (Smart Factory) 20
20
หน่วยท่ี 3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการทาธรุ กรรม 22
โดยไมต่ ้องผา่ นบคุ คลที่สาม (Blockchain) 24
ภาพท่ี 3.1 ความหมายของ Blockchain 26
ภาพท่ี 3.2 ววิ ฒั นาการของ Blockchain ดว้ ยการ Fork 27
ภาพท่ี 3.3 ForkedTokenA 28
ภาพท่ี 3.4 การทางานของ Blockchain 28
ภาพท่ี 3.5 การประยกุ ตใ์ ช้ Blockchain
ภาพท่ี 3.6 Blockchain แบบเปิด
ภาพท่ี 3.7 Blockchain แบบปิด
ภาพท่ี 3.8 Blockchain แบบ เฉพาะกลมุ่
ภาพท่ี 3.9 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain กบั ระบบ Supply

สารบญั ภาพ (ต่อ)

ภาพท่ี หน้า

หน่วยที่ 4 ธรุ กรรมการเงินดิจิทลั (Fintech) 32
33
ภาพท่ี 4.1 Fintech คอื อะไร 35
ภาพท่ี 4.2 ววิ ฒั นาการของธุรกรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech) 36
ภาพท่ี 4.3 Banking Technology 37
ภาพท่ี 4.4 Cryptocurrency 38
ภาพท่ี 4.5 Insurance Technology 39
ภาพท่ี 4.6 เทคโนโลยที างการเงนิ มปี ระโยชน์ต่อใคร 40
ภาพท่ี 4.7 สถาบนั การเงนิ ประเภทธนาคาร 40
ภาพท่ี 4.8 ผลกระทบตอ่ หา้ งสรรพสนิ คา้ 45
ภาพท่ี 4.9 Fintech กบั ระบบการเงนิ ของไทยในอนาคต 46
ภาพท่ี 4.10 Starup
ภาพท่ี 4.11 10 อนั ดบั มลู คา่ ระดมทนุ มากทส่ี ดุ ในประเทศไทย

หน่วยท่ี 5 ระบบเงินดิจิทลั สกลุ เงินดิจิทลั หรือคริปโทเคอรเ์ รนซี (Cryptocurrency)

ภาพท่ี 5.1 ความหมายของ สกุลเงนิ ดจิ ติ อล (Cryptocurrency) 48

ภาพท่ี 5.2 การทางานของสกุลเงนิ ดจิ ติ อล 48

ภาพท่ี 5.3 ประเภทของสกลุ เงนิ ดจิ ติ อล 49

ภาพท่ี 5.4 ววิ ฒั นาการของสกลุ เงนิ ดจิ ติ อล 50

ภาพท่ี 5.5 ขอ้ ดขี อง Cryptocorrency 52

ภาพท่ี 5.6 สกุลเงนิ Bitcoin 54

ภาพท่ี 5.7 สกุลเงนิ Ethereum 55

ภาพท่ี 5.8 สกลุ เงนิ Ripple 55

ภาพท่ี 5.9 สกุลเงนิ Bitcoin Cash 56

ภาพท่ี 5.10 สกลุ เงนิ EOS 56

ภาพท่ี 5.11 สกลุ เงนิ Stellar 57

ภาพท่ี 5.12 สกลุ เงนิ Litecoin 57

ภาพท่ี 5.13 สกลุ เงนิ Tether 58

ภาพท่ี 5.14 สกุลเงนิ Cardano 58

ภาพท่ี 5.15 สกลุ เงนิ Monero 59

สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า

ภาพท่ี 61
62
หน่วยท่ี 6 การทาธรุ กิจดิจิทลั บนส่ือสงั คมออนไลน์ (Digital Marketing) 63
ภาพท่ี 6.1 Digtal Marketing 64
ภาพท่ี 6.2 ธรุ กจิ YouTube 66
ภาพท่ี 6.3 ประโยชน์ของ Youtube 66
ภาพท่ี 6.4 YouTube ชอ่ งทางในการทา Digital Marketing 67
ภาพท่ี 6.5 การโฆษณาบนหน้าหลกั (Home Page) 68
ภาพท่ี 6.6 TrueView in-Search 69
ภาพท่ี 6.7 การโฆษณาในหน้าวดิ โี อ (Watch Page) 70
ภาพท่ี 6.8 การโฆษณาบนหน้าของเวบ็ ไซตร์ ปู แบบอ่นื ๆ 70
ภาพท่ี 6.9 Digital Marketing กบั Youtube Analysis 71
ภาพท่ี 6.10 Target Audience 72
ภาพท่ี 6.11 Audience Behavior
ภาพท่ี 6.12 Audience Engagement 71
ภาพท่ี 6.13 Mandala Analysis 75
76
หน่วยที่ 7 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ความปลอดภยั ในการใช้ 77
เทคโนโลยีสารสนเทศ 78
ภาพท่ี 7.1 คุณธรรม จรยิ ธรรม 80
ภาพท่ี 7.2 จรยิ ธรรม 81
ภาพท่ี 7.3 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 82
ภาพท่ี 7.4 จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 82
ภาพท่ี 7.5 จรรยาบรรณในการใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ต 83
ภาพท่ี 7.6 ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy)
ภาพท่ี 7.7 ความถูกตอ้ งแมน่ ยา (Information Accuracy)
ภาพท่ี 7.8 ความเป็นเจา้ ของ (Information Property)
ภาพท่ี 7.9 การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู (Information Accessibility)
ภาพท่ี 7.10 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า
84
ภาพที่ 85
ภาพท่ี 7.11 ไวรสั คอมพวิ เตอร์ (computer virus) 85
ภาพท่ี 7.12 ตรวจสอบจากสงิ่ ทผ่ี ใู้ ชร้ ู้ 86
ภาพท่ี 7.13 ตรวจสอบจากสงิ่ ทผ่ี ใู้ ชม้ ี
ภาพท่ี 7.14 ตรวจสอบจากสง่ิ ทเ่ี ป็นสว่ น 94
95
หน่วยที่ 8 เทคโนโลยีดิจิทลั เช่ือมโยงอาชีพ 96
ภาพท่ี 8.1 ความหมายของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 97
ภาพท่ี 8.2 เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร 98
ภาพท่ี 8.3 เครอ่ื งเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ 99
ภาพท่ี 8.4 คอมพวิ เตอร์ 100
ภาพท่ี 8.5 เครอ่ื งสแกนลายน้วิ มอื 101
ภาพท่ี 8.6 ระบบบตั รควิ อตั โนมตั ิ (Automatic Queue System) 102
ภาพท่ี 8.7 เครอ่ื งอลั ตรา้ ซาวด์ 103
ภาพท่ี 8.8 เครอ่ื ง Gentle YAG Laser 104
ภาพท่ี 8.9 แกมมา ไนฟ์ (Gamma Knife) 105
ภาพท่ี 8.10 Digital Health 105
ภาพท่ี 8.11 การดแู ลสขุ ภาพยคุ ใหม่ 106
ภาพท่ี 8.12 บรกิ ารทเ่ี ป็นสว่ นประกอบของ Digital Health 106
ภาพท่ี 8.13 Global Digital Health 107
ภาพท่ี 8.14 แสดงใหเ้ หน็ ถงึ สดั สว่ นของแอปฯ จดั การโรค 108
ภาพท่ี 8.15 เครอ่ื งมอื เกบ็ ขอ้ มลู /สญั ญาณชพี จร 109
ภาพท่ี 8.16 ปรบั ใหต้ รงตามความตอ้ งการ 110
ภาพท่ี 8.17 สรา้ งเครอื ขา่ ยการใหบ้ รกิ ารแบบ Digital Healthcare
ภาพท่ี 8.18 จดั การขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพ
ภาพท่ี 8.19 เพมิ่ ชอ่ งทางตดิ ตอ่ ตลอด 24 ชวั่ โมง

หน่วยที่

ความร้พู ืน้ ฐาน ประวตั ิความเป็นมา

ความสาคญั อคงวคาป์ มรหะมกอายบ ลแลกั ะษจดณั กะารข้อมลู ขนาดใหญ่ (BigData)

สาระการเรยี นรู้

1. องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ของขอ้ มลู
2. Big data ทม่ี คี ุณภาพสงู ควรมลี กั ษณะพน้ื ฐานอยู่ 6 ประการ
3. รปู แบบของขอ้ มลู Big Data
4. การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big data

1

หน่วยท่ี 1
ความร้พู ื้นฐาน ประวตั ิความเป็นมา ความหมาย ลกั ษณะ
ความสาคญั องคป์ ระกอบ และจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data)

ภาพท่ี 1.1 Big Data

Big Data คืออะไร

Big Data คอื ขอ้ มูลขนาดใหญ่มากจนซอฟต์แวรห์ รอื ฮารด์ แวรธ์ รรมดานัน้ ไม่สามารถท่ี
จะจดั การ หรอื วเิ คราะหไ์ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

Big Data คอื การรวบรวมขอ้ มูลทงั้ Structured (พวกท่เี ก็บในโครงสรา้ งตารางขอ้ มูล)
และ Unstructured (พวกท่ีเป็น text ยาว ๆ รูปภาพ และ วิดีโอต่าง ๆ) มาทาการประมวล
วเิ คราะหข์ อ้ มลู และนาไปใชป้ ระโยชน์

Big Data คือ 4Vs ท่ีทุกคนพูดถึงกัน ซ่ึงได้แก่ Volume (ข้อมูลขนาดใหญ่) Velocity
(ขอ้ มูลท่เี กิด และไหลเขา้ สู่การจดั เก็บด้วยความเรว็ สูง) Variety (ขอ้ มูลท่มี คี วามหลากหลาย
ในรปู แบบ) Veracity (ขอ้ มลู ทม่ี รี ะดบั คุณภาพปะปนกนั ไป)

Big Data คอื ไม่ใช่การทเ่ี ราซอ้ื Hardware จานวนมาก เพ่อื มาเกบ็ ขอ้ มลู ใหไ้ ดเ้ ยอะทส่ี ดุ
ไมใ่ ชก่ ารถกเถยี งวา่ เราจะเกบ็ ขอ้ มลู อะไรดี ไม่ใชก่ ารมานงั่ ภูมใิ จวา่ เรามขี อ้ มลู มากมายมหาศาล

Big Data คอื งานของทุกคน ไม่ใช่แค่งานของไอที หรอื ทมี วเิ คราะหข์ อ้ มูล งานนัน้ เรมิ่
ตงั้ แต่การตดั สนิ ใจว่าจะเกบ็ ขอ้ มลู อนั ไหน หรอื ไม่เกบ็ อนั ไหน จะเกบ็ ไวน้ านเท่าไหร่ จะเกบ็ ไว้
ทไ่ี หนอยา่ งไร จะเอาไปใชอ้ ยา่ งไร

Big Data คือ การสร้างทกั ษะและความรู้ให้กับทีมงานเพ่ือให้สามารถจดั การข้อมูล
ปรมิ าณขนาดใหญ่ได้ และเขา้ ใจเชงิ ลกึ ถงึ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ไม่ใช่แค่หลบั หหู ลบั ตาจบั ขอ้ มลู โยน
เขา้ ถงั

2

Big Data คอื การลงทุนระยะยาว ไม่ใช่การตงั้ งบโครงการ แลว้ เรยี ก vendor มา demo
ระบบใหด้ แู ลว้ จา่ ยเงนิ เพอ่ื ใหม้ รี ะบบซกั ระบบหน่ึง

องคป์ ระกอบที่สาคญั ของข้อมูล

ความเป็ นมาของฐานข้อมลู
การจดั การฐานข้อมูล มกั นาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจดั เก็บฐานข้อมูล
เพ่ือให้ทนั ต่อความต้องการในการทางานการใช้งาน สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมีความ
น่าเช่อื ถือได้ โดยมซี อฟต์แวร์ หรอื โปรแกรมช่วยจดั การขอ้ มูล องค์ประกอบของฐานขอ้ มูล
แบ่งออกเป็น 5 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี ฮารด์ แวร์ (Hardware) ซอฟตแ์ วร์ (Software) ขอ้ มลู (Data)
และบคุ ลากร (Personal)

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อเข้ากบั
เครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถจบั ตอ้ งได้ ฐานขอ้ มลู ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพควรมฮี ารด์ แวรท์ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
สามารถอานวยความสะดวก ในการบรหิ ารฐานขอ้ มูลไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เช่น ขนาดของ
หน่วยความจาหลกั ความเรว็ ของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาสารอง อุปกรณ์นาเขา้
ขอ้ มลู และอปุ กรณ์ออกรายงานตอ้ งรองรบั ประมวลผลขอ้ มูลไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสัง่ ท่ีสัง่ ให้
คอมพวิ เตอรท์ างาน ซง่ึ ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ประกอบดว้ ยซอฟต์แวร์ 2 ประเภท คอื เม่อื เกดิ
ปัญหาขน้ึ กบั ฐานขอ้ มลู เชน่ แฟ้มขอ้ มลู เสยี หายเน่อื งจากดสิ กเ์ สยี หรอื ถกู โปรแกรมไวรสั ทาลาย
ข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้ระบบสารองน้ีในการฟ้ืนฟูสภาพการทางานของระบบ
ใหส้ สู่ ภาวะปกติ

3. ข้อมูล (Data) ข้อมูลท่ีเก็บอยู่ในฐานข้อมูลควรเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ
ไว้ด้วยกนั โดยมีวตั ถุประสงค์ เพ่อื ลดความซ้าซ้อนของข้อมูลท่ีถูกเก็บในแฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ
ให้มากท่สี ุดเท่าท่จี ะสามารถทาได้ซ่ึงผู้ใช้หลายคนสามารถเรยี กใช้หรอื ดึงขอ้ มูลเดยี วกนั ได้
ณ เวลาเดยี วกนั หรอื ต่างเวลากนั กไ็ ด้

4. บคุ ลากร (Personal) บคุ ลากรท่ีเก่ียวข้องกบั การฐานข้อมูล ดงั นี้
1. ผใู้ ชท้ วั่ ไป (User) เป็นบุคลากรทใ่ี ชข้ อ้ มลู เพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ ลลุ ว่ งได้
2. พนักงานปฏบิ ตั กิ าร (Operator) เป็นผปู้ ฏบิ ตั กิ ารดา้ นการประมวลผล การป้อน

ขอ้ มลู เขา้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
3. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) เป็นบุคลากรท่ีทาหน้าท่ี

วเิ คราะหฐ์ านขอ้ มลู และออกแบบระบบงานทจ่ี ะนามาใช้
4. ผเู้ ขยี นโปรแกรมประยุกตใ์ ชง้ าน (Programmer) เป็นผทู้ าหน้าทเ่ี ขยี นโปรแกรม

ประยกุ ตใ์ ชง้ านตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารจดั เกบ็ การเรยี กใชข้ อ้ มลู เป็นไปตามความตอ้ งการของผใู้ ช้

3

5. ผู้บรหิ ารฐานขอ้ มูล (Database Administrator : DBA) เป็นบุคลากรท่มี หี น้าท่ี
ควบคุม และบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กร ควรมีความรู้ทัง้ หลักการบริการ
และด้านเทคนิคของระบบจดั การฐานข้อมูล เน่ืองจากผู้บริหารฐานข้อมูลจะทาหน้าท่ีเป็น
ท่ีปรึกษา และประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติการ เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
โปรแกรมเมอร์ และผใู้ ชเ้ พอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารฐานขอ้ มลู เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

5. ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน (Procedure) ในฐานขอ้ มลู ควรมกี ารจดั ทาเอกสารทร่ี ะบุ
ขนั้ ตอนการทางานของหน้าทต่ี ่าง ๆ ของฐานขอ้ มลู ทงั้ ในสภาวะปกตแิ ละในสภาวะทร่ี ะบบเกดิ
ปัญหา ซง่ึ เป็นขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านสาหรบั บุคลากรในทุกระดบั ขององคก์ ร เน่อื งจากขนั้ ตอน
การปฏบิ ตั งิ านเป็นกฎระเบยี บทใ่ี ชค้ วบคมุ การใชง้ านฐานขอ้ มลู ซง่ึ ผใู้ ชง้ านฐานขอ้ มลู ตอ้ งปฏบิ ตั ิ
ตามขนั้ ตอนการทางานทุกขนั้ ตอนทอ่ี ยใู่ นเอกสาร เพอ่ื ไม่ใหเ้ กดิ ปัญหาและขอ้ ผดิ พลาดในการใช้
งานฐานขอ้ มลู

ภาพท่ี 1.2 ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน (Procedure)

4

Big data ที่มีคณุ ภาพสงู ควรมีลกั ษณะพืน้ ฐานอยู่ 6 ประการ

ภาพท่ี 1.3 The Six Vs of Big Data

Big data ท่ีมีคณุ ภาพสงู ควรมีลกั ษณะพืน้ ฐานอยู่ 6 ประการหลกั ๆ (6 Vs) ดงั นี้
1. ปริมาณ (Volume) หมายถึง ปรมิ าณของข้อมูลควรมจี านวนมากพอ ทาให้เม่อื

นามาวเิ คราะห์แล้วจะได้ insights ท่ตี รงกบั ความเป็นจรงิ เช่น การท่เี รามขี อ้ มูลอายุ เพศของ
ลูกค้าส่วนใหญ่ ทาให้เราสามารถหา demographic profile ทัว่ ไปของลูกค้าท่ีถูกต้องได้
ถา้ เรามขี อ้ มลู ลกู คา้ แคส่ ว่ นน้อย คา่ ทป่ี ระมาณออกมาอาจจะไม่ตรงกบั ความเป็นจรงิ

2. ความหลากหลาย (Variety) หมายถงึ รูปแบบของขอ้ มลู ควรหลากหลายแตกต่าง
กนั ออกไปทงั้ แบบโครงสร้าง, ก่งึ โครงสร้าง, ไม่มโี ครงสรา้ ง ทาให้เราสามารถนามาวเิ คราะห์
ประกอบกนั จนไดไ้ ด้ insights ครบถว้ น

3. ความเร็ว (Velocity) หมายถึง คุณลักษณะข้อมูลท่ีถูกสร้างข้ึนอย่างรวดเร็ว
ต่อเน่ือง และทนั เหตุการณ์ ทาให้เราสามารถวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบ real-time นาผลลพั ธ์มาทา
การตดั สนิ ใจ และตอบสนองได้อย่างทนั ท่วงที เช่น ขอ้ มูล GPS ท่ใี ช้ตดิ ตามตาแหน่งของรถ
อาจจะนามาวเิ คราะหโ์ อกาสทท่ี าใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตุ และออกแบบระบบป้องกนั อุบตั เิ หตไุ ด้

4. ความถูกต้อง (Veracity) หมายถึง มีความน่าเช่ือถือของแหล่งท่ีมาข้อมูล
และความถกู ตอ้ งของชดุ ขอ้ มลู มกี ระบวนการในการตรวจสอบและยนื ยนั ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู
ซง่ึ มคี วามเกย่ี วเน่ืองโดยตรง กบั ผลลพั ธก์ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู

5. คุณค่า (Value) หมายถึง ข้อมูลมีประโยชน์และมีความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ
ซ่งึ ต้องเขา้ ใจก่อนว่าไม่ใช่ทุกขอ้ มูลจะมปี ระโยชน์ในการเกบ็ และวเิ คราะห์ ขอ้ มูลทม่ี ปี ระโยชน์
จะต้องเกย่ี วขอ้ งกบั วตั ถุประสงคท์ างธุรกจิ เช่นถา้ ต้องการเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั
ในตลาดของผลติ ภณั ฑท์ ข่ี าย ขอ้ มลู ทม่ี ปี ระโยชน์ทส่ี ดุ น่าจะเป็นขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑข์ องคแู่ ขง่

5

6. ความแปรผนั ได้ (Variability) หมายถงึ ขอ้ มลู สามารถในการเปลย่ี นแปลงรูปแบบ
ไปตามการใชง้ าน หรอื สามารถคดิ วเิ คราะหไ์ ดจ้ ากหลายแง่มุม และรปู แบบในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู
กอ็ าจจะต่างกนั ออกไปในแต่ละแหลง่ ของขอ้ มลู

รปู แบบของข้อมลู Big Data

1. ข้อมูลเชิงพฤติกรรมการใช้งานต่าง ๆ ( Behavioral data) เช่น server log,
พฤตกิ รรมการคลกิ ดู ขอ้ มลู , ขอ้ มลู การใช้ ATM เป็นตน้

2. ภาพถ่าย, วีดีโอ, รูปภาพ (Image & sounds) เช่น ภาพถ่ายจาก google street
view, ภาพถ่ายทางการแพทย,์ ลายมอื , ขอ้ มลู เสยี งทถ่ี กู บนั ทกึ ไว้ เป็นตน้

3. ขอ้ ความท่เี ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร (Languages) เช่น text message, ขอ้ ความท่ถี ูก
tweet, เน้อื หาตา่ ง ๆ ในเวบ็ ไซต์ เป็นตน้

4. บนั ทกึ (Records) เชน่ ขอ้ มลู ทางการแพทย์, ขอ้ มลู ผลสารวจทม่ี ขี นาดใหญ่, ขอ้ มลู
ทางภาษี เป็นตน้

5. ตัววัดค่าต่าง ๆ (Sensors) เช่น ข้อมูลอุณหภูมิ, ตัววัดความเร่ง, ข้อมูลทาง
ภูมศิ าสตร์ เป็นตน้

ภาพท่ี 1.4 การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big data

การจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ Big data

1. กาหนดกลยทุ ธเ์ กย่ี วกบั ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ในระดบั สงู กลยทุ ธข์ อ้ มลู ขนาดใหญเ่ ป็นแผน
ทอ่ี อกแบบมา เพ่อื ช่วยคุณในการกากบั ดูแลและปรบั ปรุงวธิ ที ค่ี ุณไดร้ บั จดั เกบ็ จดั การ แบ่งปัน
และใช้ข้อมูลภายใน และภายนอกองค์กรของคุณ กลยุทธ์ข้อมูลขนาดใหญ่ช่วยปูทางไปสู่
ความสาเรจ็ ทางธุรกจิ ท่ามกลางขอ้ มลู จานวนมาก เม่อื พฒั นากลยุทธ์ สง่ิ สาคญั คอื ตอ้ งพจิ ารณา
เป้าหมายทางธุรกิจและเทคโนโลยี – ในปัจจุบนั และอนาคต และโครงการรเิ รมิ่ การปฏิบตั ิ

6

กบั ข้อมูลขนาดใหญ่มคี วามจาเป็น เช่น ทรพั ย์สนิ ทางธุรกิจท่มี คี ่าอ่ืน ๆ แทนท่จี ะเป็นเพยี ง
ผลพลอยไดข้ องแอปพลเิ คชนั่

2. รแู้ หลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู ขนาดใหญ่
กระแสข้อมูล มาจาก Internet of Things (IoT) และอุปกรณ์ท่ีเช่ือมต่ออ่ืน ๆ

ท่ีไหลเข้าสู่ระบบไอทีจากอุปกรณ์สวมใส่ รถยนต์อจั ฉริยะ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์
อุตสาหกรรม และอ่นื ๆ คุณสามารถวเิ คราะหข์ อ้ มูลขนาดใหญ่น้ีไดเ้ ม่อื มาถงึ รวมถงึ ตดั สนิ ใจ
เลอื กขอ้ มลู ทจ่ี ะเกบ็ หรอื ไม่เกบ็ และขอ้ มลู ใดทต่ี อ้ งมกี ารวเิ คราะหเ์ พม่ิ เตมิ

โซเชียลมีเดีย ขอ้ มูลเกดิ จากการโต้ตอบบน Facebook, YouTube, Instagram ฯลฯ
ซง่ึ รวมถงึ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่จานวนมหาศาลในรูปแบบของภาพ วดิ โี อ คาพดู ขอ้ ความ และเสยี ง
มปี ระโยชน์สาหรบั ฟังก์ชนั่ การตลาด การขาย และการสนับสนุน ขอ้ มูลน้ีมกั จะอยู่ในรูปแบบ
ทไ่ี ม่มโี ครงสรา้ ง หรอื กง่ึ โครงสรา้ ง ดงั นนั้ จงึ เป็นความทา้ ทายในแบบเฉพาะ สาหรบั การบรโิ ภค
และการวเิ คราะห์

ข้อมูลท่ีเปิ ดเผยต่อสาธารณชน มาจากแหล่งข้อมูลแบบเปิดขนาดใหญ่ เช่น
data.gov ของรฐั บาลสหรฐั , CIA World Factbook หรอื พอรท์ ลั ขอ้ มลู แบบเปิดของสหภาพยโุ รป

ข้อมูลขนาดใหญ่อื่นๆ อาจมาจากพ้นื ท่เี ก็บขอ้ มูลส่วนกลาง แหล่งขอ้ มูลบนระบบ
คลาวด์ ซพั พลายเออร์ และลกู คา้

3. การเขา้ ถงึ จดั การ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ระบบคอมพวิ เตอรส์ มยั ใหม่มคี วามเรว็
และความยดื หย่นุ ทจ่ี าเป็นในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู จานวนมหาศาล และประเภทของขอ้ มลู ขนาดใหญ่
ไดอ้ ย่างรวดเรว็ นอกเหนือจากการเขา้ ถงึ ทเ่ี ช่อื ถอื ได้แลว้ บรษิ ทั ต่าง ๆ ยงั ตอ้ งมวี ธิ ใี นการรวม
ขอ้ มลู รบั ประกนั คุณภาพของขอ้ มลู การจดั ระเบยี บขอ้ มลู และการจดั เกบ็ และการเตรยี มขอ้ มลู

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ ดว้ ยเทคโนโลยที ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู เชน่ Grid Computing
(การประมวลผลแบบกรดิ ) หรอื การวเิ คราะหใ์ นหน่วยความจาองคก์ รต่าง ๆ จงึ สามารถเลอื กท่ี
จะใชข้ อ้ มลู ขนาดใหญ่ทงั้ หมดของพวกเขามาทาการวเิ คราะหไ์ ด้ แตไ่ มว่ า่ จะใชว้ ธิ ใี ด การวเิ คราะห์
ขอ้ มูลขนาดใหญ่เป็นวธิ ี ทบ่ี รษิ ทั ต่าง ๆ ไดร้ บั มูลค่าและขอ้ มูลเชงิ ลกึ จากขอ้ มูล ปัจจุบนั ขอ้ มลู
ขนาดใหญ่ป้อนขอ้ มลู เขา้ สรู่ ะบบการวเิ คราะหท์ ม่ี คี วามกา้ วหน้าทส่ี งู ขน้ึ เชน่ ปัญญาประดษิ ฐ์

7

ภาพท่ี 1.5 Grid Computing (การประมวลผลแบบกรดิ )
5. ตัดสินใจอย่างชาญฉลาดและใช้ข้อมูลช่วยข้อมูลท่ีได้รับการจัดการและมีความ
น่าเชอ่ื ถอื นาไปสกู่ ารวเิ คราะหท์ น่ี ่าเช่อื ถอื และการตดั สนิ ใจทน่ี ่าเชอ่ื ถอื เพอ่ื ใหส้ ามารถแขง่ ขนั ได้
ธุรกิจต่าง ๆ จาเป็นต้องได้รับประโยชน์สูงสุดจากข้อมูลขนาดใหญ่และดาเนินงานบนพ้ืน
ฐานข้อมูล – ทาการตัดสินใจบนพ้ืนฐานหลักฐาน ท่ีนาเสนอโดยข้อมูลขนาดใหญ่ไม่ใช่
ตามสญั ชาตญาณของผบู้ รหิ าร การขบั เคลอ่ื นดว้ ยขอ้ มลู มปี ระโยชน์ทช่ี ดั เจน

หน่วยท่ี

อินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่ิง

(Internet Of Things)

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของอนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสงิ่ 5. สว่ นประกอบของอนิ เทอรเ์ นต็ ทกุ สรรพสง่ิ
2. ววิ ฒั นาการของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่ 6. ประโยชน์ของอนิ เทอรเ์ นต็ ทุกสรรพสง่ิ
3. ลกั ษณะการทางานของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสง่ิ 7. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง Internet Of Things
และ Big data
4. ประเภทของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่

9

หน่วยที่ 2
อินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพส่ิง (Internet Of Things)

ภาพท่ี 2.1 อนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสงิ่

ความหมายของอินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่ิง

Internet of Things (IoT) คือ อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง หมายถึง การท่ีอุปกรณ์ต่าง ๆ
สงิ่ ต่าง ๆ ไดถ้ ูกเช่อื มโยงทุกสงิ่ ทุกอย่างสู่โลกอนิ เตอรเ์ น็ต ทาใหม้ นุษยส์ ามารถสงั่ การควบคุม
การใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การเปิ ด -ปิ ด อุปกรณ์
เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า (การสงั่ การเปิดไฟฟ้าภายในบา้ นดว้ ยการเช่อื มต่ออุปกรณ์ควบคุม เช่น มอื ถอื
ผา่ นทางอนิ เตอรเ์ น็ต) รถยนต์ โทรศพั ทม์ อื ถอื เครอ่ื งมอื สอ่ื สาร เครอ่ื งมอื ทางการเกษตร อาคาร
บา้ นเรอื น เครอ่ื งใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ต่าง ๆ ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต เป็นตน้

IoT มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า M2M ย่อมาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยี
อนิ เตอร์เน็ตเช่อื มต่ออุปกรณ์กบั เคร่อื งมอื ต่างๆ
เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั

เทคโนโลยี IoT มคี วามจาเป็นต้องทางาน
ร่วมกับอุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors
เปรยี บเสมอื นการเตมิ สมองใหก้ บั อุปกรณ์ต่าง ๆ
ท่ีขาดไม่คือการเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ต เพ่ือให้
อุปกรณ์สามารถรบั ส่งขอ้ มลู ถงึ กนั ได้ เทคโนโลยี
IoT มปี ระโยชน์ในหลายดา้ น แต่กม็ าพรอ้ มกบั ความ ภาพท่ี 2.2 เทคโนโลยี
เส่ยี ง เพราะหากระบบรกั ษาความปลอดภยั ของอุปกรณ์ แIลoะTเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตไม่ดีพอ
กอ็ าจทาใหม้ ผี ไู้ ม่ประสงคด์ เี ขา้ มาขโมยขอ้ มลู หรอื ละเมดิ ความเป็นส่วนตวั ของเราไดด้ งั นนั้ การ
พฒั นา IoT จงึ จาเป็นตอ้ งพฒั นามาตรการ และระบบรกั ษาความปลอดภยั ไอทคี วบคกู่ นั ไป

10

ภาพท่ี 2.3 นาย Kevin Ashton

วิวฒั นาการของอินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่ิง

จากเทคโนโลยี RFID สู่โลกของ Internet of Things
จากคานิยามท่ีนาย Kevin Ashton ได้บรรยายไว้ ก็ได้มีการยกตัวอย่างเจ้าอุปกรณ์
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทเ่ี ขา้ ขา่ ยถอื เป็น Internet of Things ไดน้ นั้ กพ็ บวา่ ตู้ ATM ทเ่ี ราใชก้ ดเงนิ กนั อยู่
ทุกวนั น้ีนนั้ ถอื เป็น Internet of Things ชน้ิ แรกของโลก เพราะมนั สามารถเชอ่ื มต่อส่อื สารหากนั
ได้ ผ่านเครอื ข่ายของธนาคารและสาขาต่าง ๆ ซ่ึงตู้ ATM นัน้ ถือกาเนิดข้นึ มาตงั้ แต่ปี 1974
กอ่ นทจ่ี ะมกี ารนิยามคาวา่ Internet of Things เสยี ดว้ ยซ้า
ต่อมาหลงั ปี 2000 โลกมอี ุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ อกมาเป็นจานวนมาก และมกี ารใชค้ าว่า
Smart ซง่ึ ในทน่ี ้ีคอื smart device, smart grid, smart home, smart network, smart intelligent
transportation ต่าง ๆ เหล่าน้ีลว้ นมโี ครงสรา้ งพน้ื ฐานทส่ี ามารถเช่อื มต่อกบั โลกอนิ เตอรเ์ น็ตได้
ซง่ึ การเช่อื มต่อเหล่านนั้ เอง กเ็ ลยมาเป็นแนวคดิ ทว่ี ่าอุปกรณ์เหล่านนั้ กย็ ่อมสามารถส่อื สารกนั
ได้ด้วยเช่นกนั โดยอาศยั ตวั Sensor ในการส่อื สารถงึ กนั นัน่ แปลว่านอกจาก Smart devices
ตา่ ง ๆ จะเชอ่ื มตอ่ อนิ เตอรเ์ น็ตไดแ้ ลว้ มนั ยงั สามารถเชอ่ื มต่อไปยงั อปุ กรณ์ตวั อ่นื ไดด้ ว้ ย
ในปี 2020 จะมีรถยนต์ท่ีเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตถึง 250,000 คัน และเม่ืออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ ช้ินเล็ก ๆ ท่ีเป็ น Internet of Things สามารถเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตได้แล้ว
ทาไม Things อย่างรถยนต์ทงั้ หลายจะเช่อื มต่ออนิ เตอร์เน็ตกบั เขาบา้ งไม่ได้ ตวั อย่างรถยนต์
ทว่ี ่านัน้ กค็ อื รถยนต์ไฟฟ้าของ Tesla ทเ่ี ช่อื มต่อขอ้ มูลของตวั รถเขา้ กบั เครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต
และศนู ยข์ อ้ มลู ของ Tesla motor ในการอพั เดตขอ้ มลู สาคญั ๆต่าง ๆใหก้ บั ตวั รถยนตแ์ ละผขู้ บั ข่ี
หรืออย่างโครงการ Google’s Self-Driving Car รถยนต์ไร้คนขับของ Google ท่ีนาระบบ
อนิ เตอรเ์ น็ตเขา้ มาร่วมประมวลผลในการคานวนเสน้ ทางต่าง (คลา้ ยกบั ทเ่ี ราเปิด Google Maps
เพ่อื ค้นหาเสน้ ทาง) โดยกูเกลิ ได้นาขอ้ มูลของรถยนต์กว่า 10,000 คนั ไปประมวลผลในแต่ละ
สปั ดาห์ เพ่อื หาวธิ กี ารขบั ขท่ี ่ปี ลอดภยั ทส่ี ุดใหก้ บั รถยนต์ไรค้ นขบั ของ Google และในปัจจุบนั
กม็ หี ลายค่ายรถยนต์กเ็ รมิ่ พฒั นารถยนต์ ใหม้ คี วามสามารถในลกั ษณะน้ีเพมิ่ ขน้ึ และอาจจะมี

11

การต่อยอดแนวคดิ น้ีขน้ึ ไปอกี โดยอาจจะไปถงึ ขนั้ ท่ใี นอนาคต เราจะได้เหน็ รถยนต์แต่ละคนั
ตามท้องถนน สามารถส่ือสารกันแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกันได้ เพ่ือนาไปประมวลผล
การเรอ่ื งขบั ขท่ี ป่ี ลอดภยั เพอ่ื ลดอุบตั เิ หตทุ อ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ นนั่ เอง

ลกั ษณะการทางานของอินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพส่ิง

อุปกรณ์และวัตถุท่ีมีอยู่ภายในเคร่ืองจับสัญญาณ (Sensor) จะทาการเช่ือมต่อกับ
แพลตฟอร์ม Internet of Things ซ่ึงรวบรวมข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ และใช้การวิเคราะห์
เพอ่ื แบง่ ปันขอ้ มลู ทด่ี ที ส่ี ดุ กบั แอปพลเิ คชนั่ ทส่ี รา้ งขน้ึ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการทเ่ี ฉพาะเจาะจง

แพลตฟอร์ม IoT เป็นแพลตฟอร์มท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยสามารถระบุได้อย่างชดั เจนว่า
ขอ้ มูลใดมีประโยชน์ และสงิ่ ไหนท่สี ามารถไม่มปี ระโยชน์ ซ่ึงขอ้ มูลน้ีสามารถใช้ เพ่อื ตรวจหา
รปู แบบคาแนะนา และตรวจสอบปัญหาทท่ี าใหส้ ามารถแกไ้ ขปัญหาเหล่านนั้ ก่อนทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ได้

ตวั อย่างเช่น ถา้ เป็นเจา้ ของธุรกจิ การผลติ รถยนต์ อาจตอ้ งการทราบว่าส่วนประกอบใด
ทน่ี ยิ มมากทส่ี ดุ ดงั นนั้ การใชเ้ ทคโนโลยี Internet of Things จะสามารถชว่ ยธุรกจิ ได้ ดงั น้ี

1. ใชเ้ ซน็ เซอรเ์ พ่อื ตรวจสอบว่าส่วนไหนของพน้ื ทใ่ี นโชวร์ ูมเป็นทน่ี ิยมมากทส่ี ุด และ
สว่ นไหนทล่ี กู คา้ ใชเ้ วลาอยนู่ านทส่ี ดุ

2. เจาะลกึ ลงในขอ้ มลู การขายทพ่ี รอ้ มใชง้ าน เพ่อื ระบุผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารทข่ี ายได้
เรว็ ทส่ี ดุ

3. จดั เรยี งขอ้ มลู การขาย พรอ้ มดว้ ยแหลง่ จา่ ยอตั โนมตั ิ เพอ่ื จดั การกบั คลงั สนิ คา้
ดงั นนั้ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากอปุ กรณ์ทเ่ี ชอ่ื มต่อกนั น้ี จะชว่ ยใหส้ ามารถตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งชาญฉลาด
ว่าผลติ ภณั ฑ์ใดท่จี าเป็นต้องใช้ ซ่งึ จะสามารถเก็บขอ้ มูลแบบเรยี ลไทม์ ซ่งึ ช่วยประหยดั เวลา
และคา่ ใชจ้ ่ายดว้ ยขอ้ มลู เชงิ ลกึ ทไ่ี ดจ้ ากการวเิ คราะหข์ นั้ สงู จะทาใหก้ ระบวนการมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากขน้ึ และสามารถทางานบางอยา่ งไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ

ประเภทของอินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่ิง

ปัจจบุ นั IoT แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทไดแ้ ก่

1. Industrial IoTs

แบ่งจาก Local Network มหี ลาย

เทคโนโลยที แ่ี ตกตา่ งกนั ในโครงขา่ ย Sensor Nodes

โดยตวั อปุ กรณ์ IoT Device ในกลมุ่ น้ี จะเชอ่ื มต่อ

แบบ IP Network เพอ่ื เขา้ สอู่ นิ เตอรเ์ น็ต ภาพท่ี 2.4 ประเภทของอนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพสง่ิ

12

2. Commercial IoTs
แ บ่ งจาก Local Communication ท่ีเ ป็ น Bluetooth หรือ Ethernet (Wired Or

Wireless) โดยตวั อุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มน้ีจะส่อื สารภายในกลุ่ม Sensor Nodes เดยี วกนั
เทา่ นนั้ หรอื เป็นแบบ Local devices เพยี งอยา่ งเดยี วอาจไมไ่ ดเ้ ชอ่ื มสอู่ นิ เตอรเ์ น็ต

ส่วนประกอบของอินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่ิง

ส่วนประกอบของเทคโนโลยี IoT แบง่ ออกเป็น 3 ส่วนหลกั ดงั นี้
1. สว่ นรบั ขอ้ มลู คอื สว่ นทช่ี ่วยใหอ้ ปุ กรณ์ IoT รบั รขู้ อ้ มลู จากสภาพแวดลอ้ มภายนอก

เชน่ เซน็ เซอร์ และ แอคทเิ วเตอร์ (Activator)
2. สว่ นสอ่ื สาร คอื สว่ นทช่ี ่วยใหอ้ ุปกรณ์ IoT มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร เป็นสว่ นท่ี

มกี ารเช่อื มต่อกบั อนิ เทอรเ์ น็ต โดยเทคโนโลยที ก่ี าลงั ไดร้ บั ความนิยมคอื สมองกลฝังตวั ทต่ี ดิ ไว้
กบั วตั ถุ ซง่ึ เป็นอปุ กรณ์เชอ่ื มต่อกบั อนิ เทอรเ์ น็ต มหี น้าทร่ี บั ขอ้ มลู ความเปลย่ี นแปลง ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
จากเซน็ เซอรแ์ ลว้ ส่งขอ้ มูลน้ีผ่านอนิ เทอรเ์ น็ตเพ่อื เช่อื มต่อเขา้ กบั ระบบควบคุมและประเมนิ ผล
สว่ นกลาง ทงั้ น้ี จดุ เดน่ ของสมองกลฝังตวั คอื การสง่ ขอ้ มลู แบบ Real Time อยา่ งแมน่ ยา

3. ส่วนประมวลผลข้อมูล คือ ส่วนท่ีช่วยให้อุปกรณ์ IoT มีความสามารถในการ
ประมวลผลขอ้ มูลท่ไี ด้รบั นับเป็นส่วนท่ที าให้เกิดกระบวนการทางานในเทคโนโลยี IoT เช่น
เทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing)

ทงั้ น้ี การท่เี ทคโนโลยี IoT ไดเ้ ช่อื มต่อกบั อุปกรณ์ต่าง ๆ ทาใหเ้ กดิ การรวบรวมขอ้ มูล
เหล่าน้ีแลว้ จดั เกบ็ เป็นคลงั ขอ้ มลู สว่ นกลางขนาดใหญ่ของระบบ (Big Data) หรอื นาไปผนวกกบั
เทคโนโลยปี ัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence) ซง่ึ จะเป็นประโยชน์ในการนาขอ้ มลู จากคลงั
สว่ นกลางไปใชว้ เิ คราะห์ และทานายผลการทางานของบุคคล สงิ่ ของ หรอื องคก์ รต่าง ๆ ทอ่ี ย่ใู น
ระบบไดต้ ่อไป

13

ประโยชน์ของอินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพส่ิง

ภาพท่ี 2.5 ประโยชน์ของอนิ เทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสง่ิ
การทเ่ี ทคโนโลยเี ป็นทแ่ี พร่หลายนัน้ ไม่ไดอ้ ย่ทู ป่ี ัจจยั ดา้ นราคาอย่างเดยี ว แต่เทคโนโลยี
นนั้ ตอ้ งสง่ มอบประโยชน์ต่อชวี ติ ของผใู้ ชด้ ว้ ย ซง่ึ IoTs ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ มากมาย

1. รบั ส่งข้อมลู ในรปู แบบดิจิทลั
IoTs มคี ุณสมบตั ดิ า้ นการเกบ็ ขอ้ มลู ทางภายภาพใหอ้ ย่ใู นรูปดจิ ทิ ลั ไดอ้ ย่างสะดวก

รวดเรว็ จงึ นบั เป็นประโยชน์อย่างมากในยคุ Digital Transformation
2. ทางานตรวจสอบในจดุ ที่คนเข้าไม่ถงึ
เราสามารถออกแบบ Smart Device ใหม้ ขี นาดเลก็ และทนทาน เพ่อื ตดิ ตงั้ ตามจุด

ทค่ี นเขา้ ถงึ ยากหรอื ในจุดทม่ี อี นั ตรายระหว่างดาเนินการได้ เช่น ภายในท่อส่งน้ามนั บ่อบาบดั
น้าเสยี เป็นตน้ เพอ่ื ชว่ ยลดความเสย่ี งตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ จากการเขา้ พน้ื ทอ่ี นั ตรายเป็นประจา
ได้

3. ลดภาระงานให้กบั บคุ ลากร
ในอดตี การเก็บขอ้ มูลต้องใช้คนในการสอดส่องท่เี คร่อื งมอื เพ่อื หาความผดิ ปกติ

แต่ปัจจุบัน IoTs ไม่เพียงแต่สอดส่องให้เราผ่าน Dashboard เท่านัน้ แต่ยังสามารถเรียนรู้
และหาความผดิ ปกตดิ ว้ ยเทคโนโลยี อน่ื ๆ ได้ อย่าง Artificial Intelligence เป็นตน้

4. แมน่ ยา และส่งข้อมลู ได้แบบ Real - Time
ขอ้ มลู จาก IoT ไม่เพยี งแตเ่ ป็นดจิ ทิ ลั เทา่ นนั้ ยงั สามารถแลกเปลย่ี นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

ระดบั Real - Time มคี วามแม่นยา และสามารถใชง้ านไดต้ ลอดเวลา ทาใหม้ ขี อ้ มลู ในการตดั สนิ ใจ
ไดท้ นั ที

จะเหน็ ไดว้ า่ IoTs มสี ว่ นช่วยเปลย่ี นแปลงการใชช้ วี ติ ของเราและสงั คมรอบขา้ งในทางทด่ี ี
ขน้ึ โดยเฉพาะความสะดวกสบายและความปลอดภยั ในการใชช้ วี ติ ประจาวนั รวมถงึ ยงั เขา้ ไป
มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั แวดวงต่าง ๆ ทงั้ ภาคธุรกจิ และสงั คมมากขน้ึ เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มทจ่ี ะกา้ วสยู่ คุ
ดจิ ทิ ลั อยา่ งแทจ้ รงิ

14

ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง Internet Of Things และ Big data

ภาพท่ี 2.6 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง Internet Of Things และ Big data

ด้านพลงั งาน

มกี ารนา IoT มาใชจ้ ะเพม่ิ ความฉลาดของระบบพลงั งานและระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
ด้านพลังงาน ซ่ึงช่วยเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ในการจดั การพลงั งานจากท่อส่งอจั ฉรยิ ะ (Smart
Pipelines) ถงึ มเิ ตอรอ์ จั ฉรยิ ะ (Smart Meters) และโครงขา่ ยไฟฟ้าอจั ฉรยิ ะ (Smart Grid) ทกุ
แง่มุมของการสรา้ ง และส่งต่อพลงั งาน ลว้ นถูกทาใหม้ คี วามปลอดภยั ยง่ิ ขน้ึ พง่ึ พาอาศยั กนั ได้
มากข้นึ และมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้นึ ด้วย เพ่อื ตอบสนองความกระหายพลงั งานของโลก หรอื ท่ี
เรยี กวา่ พลงั งานอจั รยิ ะ หรอื Smart Energy

ด้านการดแู ลสขุ ภาพ

ตวั เลขค่าใชจ้ ่ายด้านการดูแลสุขภาพโดยเฉลย่ี สูงกว่า 10% ของ GDP ในระดบั ชาติ
ของทวั่ โลก IoT จงึ เป็นหวั ใจหลกั ในการปรบั ปรุง การนาเสนอบรกิ ารสาคญั ดา้ นการดแู ลสุขภาพ
ผ่านการเช่อื มต่อ และการแบ่งปันขอ้ มูล ซ่งึ เป็นเหตุผลของการสร้างศูนย์ทดลอง Connected
Care ของ IIC โดยสมาชกิ ของศูนย์ดงั กล่าว ต่างมุ่งเน้นในการสร้างระบบนิเวศด้านการดูแล
สุขภาพผ่าน IoT ในระบบเปิดไวส้ าหรบั สอดสอ่ งดแู ลผปู้ ่วย ทอ่ี ย่ทู บ่ี า้ นหรอื ทอ่ี ย่รู ะยะไกล โดยมี
ระบบบรหิ ารจดั การจากระยะไกลทม่ี รี ะบบรกั ษาความปลอดภยั อย่างดี ไวส้ าหรบั คอยตดิ ตาม
ดูอาการของผปู้ ่วยเรอ้ื รงั สง่ิ น้ีมอบศกั ยภาพในการสรา้ งโซลูชนั ในราคาเหมาะสมสาหรบั ผปู้ ่วย
และครอบครวั อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยใหผ้ ดู้ แู ลมโี อกาสดแู ลผปู้ ่วยไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื งและมปี ระสทิ ธภิ าพ

การลดความสญู เสียในการขนส่ง

IoT สามารถสรา้ งระบบขนส่งทส่ี ามารถรบั รกู้ ารเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ และดาเนินการ
ตอบสนองได้อย่างรวดเรว็ ในแบบเรยี ลไทม์ ทงั้ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการดาเนินงานและความ
ปลอดภยั ของสาธารณะ ลดช่วงเวลาดาวน์ไทม์ และดูแลเร่อื งของการบารุงรกั ษาระบบหรอื
อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ในเชงิ ป้องกนั ก่อนท่จี ะเกดิ ความขดั ขอ้ งกบั ช้นิ ส่วนเคร่อื งจกั ร หรอื อุปกรณ์
ดว้ ยการวเิ คราะห์ และดาเนินการแก้ไขตามขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากตรวจสอบเซนเซอร์ และเคร่อื งจกั ร

15

ท่อี ยู่แวดล้อม อาทิ สภาพภูมอิ ากาศ ทงั้ สามารถระบุเสน้ ทางได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ
พรอ้ มกบั การปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลงั งานจากการวเิ คราะหค์ วามสามารถ

ภาพท่ี 2.7 โรงงานอจั ฉรยิ ะแหง่ อนาคต (Smart Factory)
ภาคการผลิตและระบบซพั พลายเชน

นวตั กรรมดา้ น IoT ในภาคการผลติ ซง่ึ ปัจจุบนั พฒั นาไปส่โู รงงานอจั ฉรยิ ะแห่งอนาคต
(Smart Factory)IoT ใหค้ วามสามารถในการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพ และผลลพั ธไ์ ดอ้ ยา่ งมากมาย
มหาศาล ทงั้ ในเร่อื งของกระบวนการผลติ ไปตลอดทวั่ ทงั้ ซพั พลายเชนด้วย IoT กระบวนการ
ผลิตจะควบคุมการทางานได้ด้วยตวั เอง จากเคร่ืองจกั ร และอุปกรณ์ท่ีมีความชาญฉลาด
สามารถดาเนินการแก้ไข เพ่อื หลกี เล่ยี งการเกิดเหตุขดั ขอ้ งแบบท่ไี ม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า
โดยจะมีการเปล่ียนช้ินส่วนต่าง ๆ ได้เองโดยอัตโนมัติจากการนาข้อมูลเรียลไทม์มาใช้
และอุปกรณ์ดจิ ทิ ลั แบบพกพาทุกช้นิ ในโรงงาน จะตอ้ งรายงานสถานะของอุปกรณ์ทุกชน้ิ ทซ่ี ่อม
อยู่ และสามารถใช้มือถือของเจ้าหน้าท่ีเข้าถึงข้อมูลการดาเนินงานได้แบบเรียลไทม์
โดยตวั เซนเซอร์ของอุปกรณ์สวมใส่จะติดตามตาแหน่งของพนักงานในโรงงานแต่ละคนได้
ในกรณีทเ่ี กดิ เหตุฉุกเฉินขน้ึ

ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึน้
Internet of Thing นนั้ หากถกู พฒั นาอยา่ งสมบูรณ์แบบ จะมปี ระโยชน์ตอ่ ผใู้ ช้

เป็นอยา่ งมากในแงข่ องความสะดวกสบาย และรวดเรว็ ชว่ ยลดขนั้ ตอนความยงุ่ ยากในการทา
กจิ กรรมประจาวนั ต่าง ๆ แตถ่ งึ อยา่ งนนั้ กย็ งั คงมขี อ้ บกพร่อง ซง่ึ สามารถจาแนกไดด้ งั น้ี

ปัญหาด้านการส่งข้อมลู
หวั ใจหลกั ของแนวคดิ Internet of Thing คอื ระบบเครอื ขา่ ยทเ่ี ป็นตวั กลางในการรบั สง่

ขอ้ มูลของอุปกรณ์ต่าง ๆ และเครอื ข่ายทส่ี าคญั ทส่ี ุดคอื เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต หมายความว่า
แนวคดิ น้ีจะตอ้ งพง่ึ พาเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตเป็นหลกั ซง่ึ ถา้ หากเครอื ขา่ ยดงั กล่าวไม่สามารถใช้

16

งานไดช้ วั่ คราว หรอื เกดิ การผดิ พลาดทางการส่งขอ้ มลู กจ็ ะส่งผลใหอ้ ุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่สามารถ
ทางานได้

ปัญหาด้านความปลอดภยั
เมอ่ื ทุกสง่ิ ถูกเชอ่ื มต่อเขา้ ดว้ ยกนั การรกั ษาความปลอดภยั ยงิ่ สามารถทาไดย้ ากยงิ่ ขน้ึ

เน่ืองจากหากสามารถเจาะเขา้ อปุ กรณ์ชน้ิ หน่ึงในเครอื ขา่ ยนนั้ ได้ กจ็ ะสามารถเขา้ ถงึ อุปกรณ์ชน้ิ
อ่นื ได้ง่ายข้นึ เน่ืองจากแนวความคดิ Internet of Thing นัน้ คอื การเช่อื มต่อทุกสงิ่ เขา้ ด้วยกนั
ดงั นัน้ อุปกรณ์ทุกช้นิ จงึ เปรยี บเสมอื น อยู่ในเครอื ข่ายขอ้ มูลเดยี วกนั เท่ากบั ว่าขอ้ มูลทุกชนิด
ทอ่ี ปุ กรณ์ชน้ิ หน่ึงไดร้ บั อุปกรณ์ชน้ิ อ่นื กจ็ ะไดร้ บั ด้วย เน่ืองจากตอ้ งนาไปประมวลผลเพอ่ื ทางาน
ร่วมกนั ซง่ึ ก่อนทแ่ี นวคดิ น้ีจะถูกพฒั นาขน้ึ อยา่ งสมบูรณ์คงตอ้ งมกี ารพฒั นาดา้ นการรกั ษาความ
ปลอดภยั ของขอ้ มลู เสยี ก่อน

ปัญหาการประมวลผลผิดพลาด
ถึงแม้แนวคดิ Internet of Thing คอื ต้องการให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ติดต่อส่อื สารกนั เอง

และกระทาสง่ิ ต่าง ๆ อตั โนมตั โิ ดยไมต่ อ้ งรอคาสงั่ ของผใู้ ช้ แต่อยา่ งไรกต็ อ้ งป้อนขอ้ มูล และเขยี น
โปรแกรมคาสงั่ เพ่อื ใหอ้ ุปกรณ์นัน้ ๆ สามารถทางานได้ ซง่ึ บางครงั้ อาจจะเกดิ ความผดิ พลาด
จากการเขยี นคาสงั่ ไม่รดั กุม หรือครอบคลุมพอแนวความคิด Internet of Thing นัน้ คือการ
เช่อื มต่อทุกสง่ิ เขา้ ดว้ ยกนั ดงั นนั้ หากอุปกรณ์ชน้ิ หน่ึงประมวลผลผดิ พลาด กม็ แี นวโน้มว่าอปุ กรณ์
ชน้ิ อ่นื จะทางานผดิ พลาดตามไปดว้ ย และหากเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดขน้ึ มาครงั้ หน่ึงกจ็ ะสง่ ผลใหห้ มด
ความน่าเชอ่ื ถอื ไปทนั ที เพราะเกย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ประจาวนั ทต่ี อ้ งทาเป็นประจาทกุ วนั

ปัญหาเก่ียวกบั ผใู้ ช้งาน
การทม่ี สี งิ่ อานวยความสะดวกมากไปจะส่งผลเสยี ต่อการดาเนินชวี ติ ซ่งึ จะทาใหผ้ ใู้ ช้

ตดิ ความสบาย จนไม่สามารถทาเร่ืองพ้นื ฐานได้ด้วยตนเอง รวมถงึ การเรยี นรู้เทคโนโลยใี หม่
เพอ่ื ใหใ้ ชง้ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ กเ็ ป็นเรอ่ื งสาคญั ทก่ี ารรบั รขู้ องแตล่ ะบคุ คลไมเ่ ทา่ เทยี มกนั

หน่วยท่ี

เทคโนโลยีท่ีใช้ในการทา
โดยไม่ต้อธงรุ ผกา่ รนรบมคุ คลที่สาม

(Blockchain)

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของ Blockchain 6. องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี Blockchain

2. แนวคดิ Blockchain 7. ประเภทของ Blockchain

3. ววิ ฒั นาการของ Blockchain ดว้ ย Fork 8. ประโยชน์ของ Blockchain

4. ลกั ษณะการทางานของ Blockchain

5. หลกั การทางานขอองเทคโนโลยี Blockchain

18

หน่วยท่ี 3
เทคโนโลยีที่ใช้ในการทาธรุ กรรม โดยไม่ต้องผา่ นบคุ คลที่สาม

(Blockchain)

ภาพท่ี 3.1 ความหมายของ Blockchain

ความหมายของ Blockchain

Blockchain เป็นเทคโนโลยที ม่ี คี นพดู ถงึ มากว่าจะเป็นตวั เปลย่ี นโลกเหมอื นทอ่ี นิ เทอรเ์ น็ต
เปลย่ี นโลก ในยุค 1990 ซง่ึ มกี ารเปรยี บเทยี บว่า Blockchain ตอนน้ีสภาพเหมอื นอนิ เทอรเ์ น็ต
ตอนเรมิ่ ตน้ ซง่ึ ภาคการเงนิ จะปล่อยผา่ นไปไมไ่ ด้ ตอ้ งมคี นศกึ ษาเรอ่ื งน้ี เพอ่ื เป็นการลองทาดวู า่
เอา Blockchain มาใช้กบั เร่อื งต่าง ๆ ได้อย่างไร แม้ว่าวนั น้ีอาจจะยงั ไม่มกี ารประยุกต์ใช้ใน
ลกั ษณะทเ่ี หน็ เป็นรปู ธรรมกต็ าม

Blockchain คือ ระบบโครงข่ายในการเก็บบญั ชีธุรกรรมออนไลน์ ซ่ึงมีลักษณะเป็น
เครอื ขา่ ยใยแมงมุม ทเ่ี กบ็ สถติ กิ ารทาธุรกรรมทางการเงนิ และสนิ ทรพั ยช์ นิดอ่นื ๆ อกี ในอนาคต
โดยไม่มตี วั กลาง คอื สถาบนั การเงนิ หรอื สานักชาระบญั ชี ระบบ Blockchain จะไม่มตี วั กลาง
อย่างท่เี คยเป็นมา ยกตวั อย่างการทาธุรกรรมด้วย Bitcoin จะมรี หสั Token สร้างข้นึ มาเพ่อื
สอ่ื สารกบั Blockchain และทาการตรวจสอบว่า Bitcoin นนั้ ๆมคี วามน่าเชอ่ื ถอื หรอื ไม่ก่อนทจ่ี ะ
ทาธุรกรรมใหส้ าเรจ็ ตอ่ ไป

เท่ากบั ว่า Blockchain เป็นระบบโครงข่ายในการทาธุรกรรมต่างๆ ซ่งึ ตดั ตวั กลางอย่าง
สถาบนั การเงนิ ทม่ี อี ยู่ในโลกปัจจุบนั ออกไป ซ่งึ ทาใหต้ ้นทุนการทาธุรกรรมถูกลง และอาจจะ
ส่งผลให้สถาบนั การเงนิ ท่เี ป็นตวั กลาง รวมไปถงึ สานักชาระบญั ชตี ่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องมอี ีก
ในอนาคตไดเ้ ลย หากเทคโนโลยนี ้เี ขา้ มาแทนทไ่ี ดอ้ ย่างสมบรู ณ์

ขณะท่ี Blockchain ไม่เพยี งมบี ทบาทอย่แู คก่ ารทาธุรกรรมทางการเงนิ เท่านนั้ หากแต่ยงั
อาจถูกนาไปใช้ในงานอ่ืน ๆ เช่น การเก็บสถิติการเลือกตัง้ ให้มีความโปร่งใสมากข้ึน
การให้ยืม Cloud Storage ระหว่างกันบริการ co - location, ระบบ Peer to Peer Lending

19

และอ่นื ๆ อกี มากมาย ซ่งึ แม้แต่เหล่าธนาคารเอง กต็ ดั สนิ ใจเขา้ ลงทุนในการทา Blockchain
มากข้ึนเร่ือย ๆ โดยล่าสุด เหล่าสถาบันการเงินอย่างธนาคาร Citibank ตลาดหลักทรัพย์
NASDAQ รวมไปถงึ บรษิ ทั VISA กไ็ ด้เขา้ ลงทุนในบรษิ ทั บล็อกเชน ชนั้ นาอย่าง Chain.com
เพอ่ื แนวทางรกั ษาตลาดเทคโนโลยนี ้เี ชน่ กนั

แนวคิด Blockchain

แนวคิด Blockchain เรม่ิ กลบั มาเป็นกระแสทต่ี อ้ งจบั ตามมองอกี ครงั้ พรอ้ มมกี ารพฒั นา
ใหม่ ๆ ไปสู่การใชง้ านทม่ี ากกว่าการทาธุรกรรม Bitcoin ในอดตี ทไ่ี ม่ไดร้ บั การยอมรบั มากนัก
ผนวกรวมกบั กระแส การเพม่ิ ขน้ึ ของอุปกรณ์ทใ่ี ชแ้ นวคดิ อนิ เทอร์เน็ต ออฟ ธงิ ส์ (Internet of
Things) จาเป็นต้องมีการจดั การดูแลอย่างการรกั ษาความปลอดภยั ระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ
และความจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งบนั ทกึ ฐานขอ้ มลู ของการตดิ ต่อต่าง ๆ เหล่านนั้ ทาใหเ้ ทคโนโลยอี ย่าง
Blockchain ท่ีให้ความสาคัญกับความเป็ นส่วนบุคคลจะกลายมาเป็ น ตัวช่วยสาคัญของ
การใชง้ านดงั กลา่ ว โดยลดขนั้ ตอนระบบการทางานใหเ้ รยี บงา่ ยขน้ึ มกี ารยดื หยุน่ ทส่ี งู ขน้ึ รวมทงั้
การตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ ไดอ้ ย่างรวดเรว็

แต่กระนนั้ ความสาเรจ็ ของ Blockchain จะสามารถพลกิ สถานการณ์ใหบ้ รกิ ารดา้ นการเงนิ
โลกดจิ ทิ ลั ไดห้ รอื ไม่ การหาพารต์ เนอรท์ ม่ี ปี ระสบการณ์ในการทางานกบั ระบบความซบั ซอ้ น
และความหลากหลายในทุกระดบั การใชง้ านไม่วา่ เลก็ หรอื ใหญ่ เป็นหวั ใจสาคญั ของการจดั การ
กับปัญหาน้ีได้อย่างดีท่ีสุด ซ่ึงถ้าย้อนกลับไปเม่ือ 5 ปี ท่ีผ่านมาไอเดียทางธุรกิจเหล่าน้ี
ต่างเคยถูกมองว่าเป็นเร่อื งท่ีไม่น่าจะเกิดข้นึ ได้จรงิ หากแต่ปัจจุบนั เร่อื งเช่นน้ีได้กลายเป็น
ตวั กาหนดผชู้ นะในอนาคต ซง่ึ ทงั้ หมดน้ีสามารถเกดิ ขน้ึ ไดด้ ว้ ยการมองวา่ ซอฟตแ์ วร์ คอื ตวั แปร
สาคญั ของการเปลย่ี นแปลงของโลกยุคใหม่

วิวฒั นาการของ Blockchain ด้วยการ Fork

การ Fork เป็นสว่ นทส่ี าคญั ในการเกดิ ววิ ฒั นาการของบลอ็ กเชน เหมอื นอย่างทก่ี ารกลาย
พนั ธ์สาคญั ต่อ DNA ในสงิ่ มชี วี ติ ซ่งึ ก่อให้เกดิ การววิ ฒั นาการผ่านการคดั เลอื กของธรรมชาติ
การ Fork ทาใหเ้ ราสามารถทดลองบลอ็ กเชนหลายเวอรช์ นั่ ขนานกนั ได้ โดยจะมเี พยี งเวอรช์ นั่ ท่ี
แขง็ แกร่งทส่ี ดุ เทา่ นนั้ ทจ่ี ะอยรู่ อด

การ Fork ของบลอ็ กเชน เกดิ ขน้ึ ไดเ้ พราะโคด้ ปัจจุบนั และสถานะของบลอ็ กเชนสามารถ
ถูกคดั ลอกไดอ้ ย่างเปิดเผย เปรยี บกบั การทโ่ี ปรแกรมเมอรอ์ นุญาตใหส้ ามารถคดั ลอกโคด้ ของ
Facebook และเปิดอีกเวอร์ชนั่ หน่ึงแข่งกนั เม่อื ไหร่ก็ได้ แต่การ Fork ท่ผี ่านมามกั พบปัญหา
ในเร่อื งผลตอบแทน กลุ่มคนทท่ี าการ Fork ใหม่จะมแี รงจูงใจด้านผลตอบแทนทค่ี ่อนขา้ งน้อย
ท่จี ะทาให้ Fork ของตวั เองประสบความสาเร็จ เป็นเพราะรูปแบบการ Fork ท่ผี ่านมาจนถึง
ปัจจุบนั เป็นเพยี งการคดั ลอกการเป็นเจา้ ของจากกลุ่มคนทถ่ี อื Token เดมิ แทนทจ่ี ะเป็นการปรบั
เพอ่ื ใหผ้ ลประโยชน์แก่กลุ่มแกนหลกั ของบลอ็ กเชนหว่ งใหม่

20

ตวั อย่าง เช่น ถา้ หากมกี ลุ่มนักพฒั นาทค่ี ดิ

ว่าเขาสามารถสร้างเวอร์ชนั่ ท่ดี กี ว่าของเหรยี ญ

ท่ีช่ือว่า TokenA ได้ เดิมทีเขาอาจถือ TokenA

อยู่จาน ว น เ ล็ก น้ อย เ ช่น ป ร ะ มาณ 0.10%

เมอ่ื ทาการ Fork ตวั TokenA เขากจ็ ะยงั ถอื เพยี ง

0.10% ของ TokenA ท่ีถูก Fork แล้ว (หรือเรา

อาจจะเรยี กมนั ว่า ForkedTokenA) เพราะเหตุน้ี

แ ม้ ForkedTokenA จ ะ ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จภาพท่ี 3.2 ววิ ฒั นาการของ Blockchain ดว้ ยการ Fork
ผพู้ ฒั นากจ็ ะไดผ้ ลตอบแทนจานวนน้อยมาก

เทยี บเทา่ กบั การถอื TokenA เดมิ

เม่ือมองในมุมของสตาร์ทอัพ ก็คงอยากให้ “founders” หรือผู้ก่อตัง้ ForkedTokenA

ไดร้ บั ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ทง่ี ดงาม แต่กลบั กลายเป็นว่า ผกู้ ่อตงั้ น่าจะไดร้ บั ผลตอบแทน

ในการพฒั นา TokenA มากกว่า ForkedTokenA เพราะ TokenA น่าจะมมี ลู ค่าทม่ี ากกว่าอย่แู ลว้

ตัง้ แต่ต้น ถ้าหาก TokenA มีมูลค่า 10 ดอลลาร์ และ ForkedTokenA มีมูลค่า 1 ดอลลาร์

ภายหลงั จากการ Fork การเปลย่ี นแปลงทท่ี าให้ TokenA โตขน้ึ 20% จะทากาไรใหก้ บั ผพู้ ฒั นา

2 ดอลลาร์ ต่อ coin ส่วนถ้าหาก ForkedTokenA โตข้นึ 20% ผู้พฒั นาจะทากาไรได้เพยี งแค่

0.20 ดอลลาร์ แม้จะมีจานวน coin ท่ีเท่ากัน ผลประโยชน์ของเขากลับไม่สมเหตุสมผล

นกั พฒั นาควรไดร้ บั เหรยี ญมากขน้ึ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาเรอ่ื งผลตอบแทนน้ี

ภาพท่ี 3.3 ForkedTokenA

แลว้ เร่อื งราวกย็ ง่ิ ดูตลกถา้ มองในฝัง่ ของผถู้ อื บลอ็ กเชน (Blockchain) เดมิ ถา้ หาก TokenA
Foundation ถอื 20% ของ coin ใน TokenA ตอนน้ีเขาจะมี 20% ของ coin ใน ForkedTokenA
ด้วยเช่นกนั โดยท่ที มี พฒั นา ForkedTokenA จะไม่ได้เลยสกั เหรยี ญ เหตุการณ์น้ีเกดิ ข้นึ เม่อื
Ethereum Classic ท า ก า ร Fork จ า ก Ethereum ทัน ใ ด นั้น เ อ ง Ethereum Foundation
ก็กลายเป็นผู้ถือ Ethereum Classic ด้วยเช่นกนั แม้ว่าพวกเขาจะไม่ได้มีความสนใจท่ีจะมี

21

ส่วนร่วมเลยกต็ ามทา้ ยทส่ี ุดแลว้ หากมองเร่อื งของการกากบั ดูแล การ Fork มกั เกดิ จากความ
คดิ เหน็ ทแ่ี ตกต่างกนั ในทศิ ทางของโปรเจค็ และ Token กไ็ ดก้ ลายเป็นกระบวนการในการโหวต
เร่อื งการเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ เน่ืองจากจุดประสงค์ของการ Fork คอื การทดลองแนวทางใหม่
การ Fork ท่เี กิดข้นึ มาใหม่ก็อาจไม่อยากมผี ู้ถือเดิมทีไม่ได้เห็นด้วยกบั แนวทางการ Fork น้ี
ตัง้ แต่ต้น ทาให้เริ่มท่ีจะเห็นได้ชัดว่าการแบ่ง Token กันใหม่นั้นกลายเป็ นส่ิงท่ีจาเป็ น
และมปี ระโยชน์มากสาหรบั การ Fork ใหม่ท่ตี ้องการจะอย่รู อด ถงึ แมก้ ารแบ่ง Token ใหม่อาจ
เป็นเรอ่ื งทเ่ี กดิ ขน้ึ ไมค่ ่อยบอ่ ย แตก่ เ็ รมิ่ มแี นวโน้มวา่ จะกลายเป็นเรอ่ื งปกตใิ นอนาคต

การแบ่ง Token ใหม่อกี ครงั้ เป็นวธิ กี ารสรา้ งสมดุล โดยส่วนมากแลว้ Fork ทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่
จะตอ้ งการใหผ้ ถู้ อื Token เดมิ รสู้ กึ ตอ้ งการถอื Token ใหม่น้ดี ว้ ย อยา่ งน้อยกเ็ พอ่ื ใหผ้ ใู้ ชเ้ ดมิ รสู้ กึ
ว่าจะไดร้ บั ผลตอบแทนเทยี บเทา่ กบั ของเดมิ แต่เป้าหมายหลกั ทส่ี าคญั คอื การใหผ้ ลตอบแทนแก่
กลุ่มทม่ี สี ่วนร่วมในการพฒั นาการ Fork ซ่งึ ส่วนมากควรจะใหผ้ ลตอบแทนโดยการยา้ ยการถอื
ครองของ Token (foundation-like) และลดสดั ส่วนของผู้ถือ Token เดิม เพ่อื นาไปให้แก่กลุ่ม
ผู้พฒั นา กรณีน้ีจะคล้ายคลงึ กบั การออกหุ้นใหม่ในบรษิ ทั ท่มี อี ายุเก่าแก่ เพ่อื มอบให้พนักงาน
ทเ่ี ขา้ มาทหี ลงั

เร่อื งสาคญั อกี เร่อื งกค็ อื ตอ้ งไม่ลมื วา่ การ Fork ไม่ไดห้ มายความวา่ จะสรา้ งการแขง่ ขนั กนั
โดยตรงเสมอไป เหมอื นกบั การกลายพนั ธ์ของ DNA ท่ีสร้างส่งิ มีชีวิตมากมายท่ีเริม่ ต้นจาก
genetic tree เดียวกนั เราอาจเห็น โปรโตคอล (Protocol) หน่ึง ขยายออกเป็น 3 โปรโตคอล
เพ่ือบรรลุจุดประสงค์ท่ีต่างกันมีความเป็ นไปได้สูง ว่าจะนาโปรโตคอลไปแยกส่วน
และนากลบั มาประกอบฟังคช์ นั่ ต่างๆ ใหม่ เพอ่ื ใหไ้ ดจ้ ุดสมดุลตามทต่ี อ้ งการ และเน่ืองจากระบบ
นเิ วศมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างตอ่ เน่อื ง จุดสมดุลกจ็ ะเปลย่ี นไปตามกาลเวลา

การ Fork กม็ จี ุดอ่อนในบางเร่ือง เช่นเดยี วกนั กบั การกลายพนั ธุ์ของสง่ิ มชี วี ติ การ Fork
ไม่ได้หมายความว่าจะสาเรจ็ เสมอไป เพราะมโี อกาสทจ่ี ะสูญเสยี Network Effect และอาจเกดิ
การแบ่งแย่งทรพั ยากรในการพฒั นาตงั้ แต่แรกเรม่ิ แมท้ งั้ สองโปรเจคจะสามารถดงึ ทรพั ยากร
ใหม่เขา้ มาไดใ้ นอนาคต

ในภาพรวม เราควรเหน็ ความสาคญั ทว่ี า่ การพฒั นาโดยไรซ้ ง่ึ ศนู ยก์ ลางเป็นเรอ่ื งทย่ี ุ่งยาก
มากกว่าการสรา้ งบางอย่างในสภาพแวดลอ้ มทม่ี ศี นู ยก์ ลาง แต่ผมคาดว่าต่อไปในอนาคตจะเกดิ
การพฒั นาโดยปราศจากศูนยก์ ลางมากขน้ึ เม่อื มเี ทคนิคการพฒั นาและโครงสรา้ งผลตอบแทน
ทผ่ี า่ นการขดั เกลาแลว้
สรุปดงั น้ี การ Fork เป็นกลไกทก่ี ่อใหเ้ กดิ ววิ ฒั นาการทย่ี งิ่ ใหญ่มาก ซ่งึ การทจ่ี ะทาใหก้ าร Fork
มปี ระสทิ ธผิ ลนัน้ การให้ผลตอบแทนแก่กลุ่มต่าง ๆ สาหรบั การทดลองเสน้ ทางใหม่ เป็นเร่อื ง
ท่จี าเป็น นัน่ หมายถึง การแบ่ง Token ใหม่ในการ Fork เพ่อื มอบผลตอบแทนแก่ผู้สร้าง Fork
หากปราศจากสงิ่ น้ี คดิ ว่าเราจะยง่ิ เหน็ ปัญหาทท่ี าใหน้ กั พฒั นาตอ้ งลาบากใจ อย่างทเ่ี ราเหน็ กบั
บทิ คอยน์ โปรเจค็ ต่าง ๆ เรม่ิ เปลย่ี นแปลงชา้ ลงเพราะเกรงวา่ จะทาลายมลู คา่ ในปัจจบุ นั

22

ลกั ษณะการทางานของ Blockchain

ภาพท่ี 3.4 การทางานของ Blockchain

1. A ต้องการโอนเงิน (ส่งข้อมลู ) ไปให้ B ผา่ นเลขบญั ชี โดยใช้ Private
key+Password และ Public Key

ผู้ใช้ (Node) ทุกคนต้องมกี ุญแจสองอนั อนั แรกคอื Private key ท่ถี ือเป็นการแสดง
ความเป็นเจา้ ของของสมดุ บญั ชพี รอ้ มกบั Password ซง่ึ ถูกจากสรา้ งลายเซน็ และชุดตวั เลขทใ่ี ช้
อลั กอรทิ มึ สรา้ งขน้ึ มาทาใหไ้ ม่มที างซ้ากบั เลขอ่นื ๆ และใชส้ งิ่ เหล่าน้ีมายนื ยนั การทาธุรกรรม
ส่วนกุญแจอกี อนั ทต่ี ้องใชค้ อื Public Key เปรยี บเสมอื นทอ่ี ยู่ทข่ี อ้ มูลส่งไปถงึ ทงั้ Private Key
และ Public Key จะใชง้ านคกู่ นั แต่ต่างหน้าทก่ี นั คอื อนั หน่ึงใชเ้ ขา้ รหสั และอกี อนั หน่ึงใชใ้ นการ
ถอดรหสั สาคญั ท่สี ุดสาหรบั ผู้ใชท้ ุกคนคอื Private Key และ Password ต้องเกบ็ เป็นความลบั
ของเจา้ ของเทา่ นนั้ เพราะหากมเี งนิ อยใู่ นนนั้ 10-100 ลา้ นแลว้ แต่ Private Key และ Password
ดนั หายไป ผใู้ ชจ้ ะไมส่ ามารถเรยี กคนื หรอื ทวงคนื มาไดจ้ ากโลกเสมอื น หรอื แมแ้ ต่ใครหวงั ฮบุ เงนิ
กอ้ นนนั้ ไปกท็ าไมไ่ ดเ้ ชน่ กนั

2. เกบ็ Transaction ไวใ้ น Public Ledger

ขอ้ มลู การเดนิ บญั ชี (Transaction) ถกู เรม่ิ ตน้ สรา้ งขน้ึ รายการจะแจง้ วา่ ตวั เลขทงั้ หมด
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตงั้ แต่จานวนเงนิ ทถ่ี ูกตอ้ งทม่ี อี ย่ใู นบญั ชขี อง A ถูกสง่ ไปใหบ้ ญั ชขี อง B ทแ่ี สดงจานวน
เงนิ ทม่ี อี ย่เู ช่นกนั โอนเท่าไหร่ ตวั เลขขน้ึ ตามนนั้ ตรงน้ีทาใหเ้ ราเหน็ รายการทงั้ หมดทเ่ี ป็นยอด
บวกลบทถ่ี ูกตอ้ ง ทาใหเ้ ราสามารถตรวจสอบยอ้ นกลบั เร่อื งทม่ี าของเงนิ ไดต้ ลอด โดยทงั้ หมด
ในรายการน้ีจะถูกเกบ็ ไวใ้ น สมุดจดบญั ชี (Public Ledger) แลว้ ส่งขอ้ มูลแบบท่ยี งั ไม่ได้ยนื ยนั
ความถกู ตอ้ ง (Unconfirmed Transaction) ใหผ้ ใู้ ชท้ ุกคน

23

3. ยืนยนั ความถกู ต้องโดย Miner และต้องไมถ่ กู คดั ค้านจากผใู้ ช้
หลงั จากท่ไี ด้รบั ขอ้ มูล (Data) แลว้ จะมผี ูต้ รวจสอบมายนื ยนั ความถูกตอ้ ง เราเรยี กคน
คนน้ีว่า Miner มาจากผใู้ ชท้ เ่ี สนอตวั เขา้ มา กตกิ าคอื ใครจะเสนอตวั กไ็ ด้ ขอใหม้ หี ลายคนเสนอ
จากนัน้ Miner ทงั้ หลายจะเกดิ การแข่งขนั กนั เป็นผูต้ รวจสอบ (โดยใชว้ ธิ กี ารคานวณค่า Hash
หรอื สมมตุ เิ ป็นการแกส้ มการนบั ลา้ น ๆ ครงั้ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ า่ ยนื ยนั กลอ่ ง ตวั อยา่ งการใชเ้ วลาในการ
หาคา่ สมการ ปกติ Bitcoin ใชเ้ วลาไม่เกนิ 10 นาที จรงิ ๆ แลว้ อาจเรว็ หรอื นานกวา่ นนั้ ขน้ึ อยกู่ บั
สกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั ใครเสรจ็ ก่อน และไม่ได้รบั การคดั ค้านความถูกต้องจากผู้ใช้ทงั้ หมด จะได้รบั
ค่าตอบแทนอย่างใดอย่างหน่ึงในรูปแบบของรางวลั (Reward) ของความพยายาม หรอื รบั เป็น
Transaction fee ตามจานวนทก่ี าหนดไว้ โดยช่วงแรกจะกาหนดไว้ 50BTC และจะลดลงเรอ่ื ย ๆ
ทุก 4 ปี (เรยี กการลดตามระยะเวลาท่กี าหนดน้ีว่า Halving) แต่ด้วยจานวนบล็อกท่มี ากข้นึ
ทาใหต้ อนน้ีเหลอื แค่ครงั้ ละ 25 BTC เท่านัน้ (ในบาง transaction อาจไม่มรี างวลั ) ตรงน้ีสรา้ ง
โอกาสใหแ้ ก่ผทู้ ย่ี งั ไม่มเี งนิ ในโลกดจิ ทิ ลั ไดส้ รา้ งฐานะขน้ึ มาจากความว่างเปล่าได้ เราเลยเรยี ก
กนั วา่ นกั ขดุ ทอง
ส่วนความยากท่ตี ้องเป็นท่หี น่ึงน้ีเราเรยี กว่า Proof of Work หรอื ตวั พสิ ูจน์การทางาน
ถูกนามาใชย้ นื ยนั Transaction นนั่ เอง โดยยนื ยนั ชน้ิ ทเ่ี สรจ็ ก่อน เพ่อื ป้องกนั การยนื ยนั ซ้าซอ้ น
จาก Miner อ่นื ๆ (Double Spending) เพราะหากมกี ารยนื ยนั ซ้าซ้อน Transaction นัน้ จะถูก
ตีกลับ (Reverse) ต้องทาการแก้สมการใหม่เพ่ือยืนยันอีกครัง้ ตรงน้ีค่อนข้างใช้เวลา
เม่ือเสร็จแล้วจึงจะรวบเก็บทุกอย่างท่ีเ กิดข้ึนของรายการนั้น ไว้ในกล่อง (Block)
เพ่ือเป็ นหลักฐานอ้างอิงให้แก่กล่องถัดไป (เรียกเลขหลักฐานนั้นว่า Previous Hash)
ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ
4. เพ่ิม Block นัน้ เข้าไปยงั Chain
จากนนั้ Block หรอื ขอ้ มลู การเดนิ บญั ชที ไ่ี ดร้ บั การตรวจสอบแลว้ และมขี อ้ มลู ทเ่ี กดิ ขน้ึ
ก่อนหน้า เป็นสง่ิ ทอ่ี า้ งองิ ส่กู ล่องถดั ไป จะถูกส่งมาต่อเพ่อื รอ้ ยเรยี งกนั และกนั ไปเร่อื ย ๆ สภาพ
การเรยี งตวั กนั แบบ กล่องน้ีมาก่อน และกล่องน้ีมาหลงั ไมส่ ามารถสลบั สบั เปลย่ี นได้ และขอ้ มลู
ทอ่ี ยใู่ นกล่องจะไม่สามารถเปลย่ี นแปลงไดเ้ ป็นการอพั เดทขอ้ มลู ใหก้ บั ผใู้ ชท้ กุ คนต่อไป ตรงน้เี อง
คอื ความปลอดภยั ทใ่ี ครกไ็ มส่ ามารถเขา้ ไปทาอะไรได้ เพราะหากกล่อง C มขี อ้ มลู ทผ่ี ดิ พลาดเขา้
มา หรอื มขี ้อมูลส่วนใดส่วนหน่ึงท่ีไม่เก่ียวข้องกบั กล่อง B ทุกอย่างในกล่องจะถือเป็นโมฆะ
(Invalid) กล่องนนั้ จะไม่สามารถเกดิ เป็นธุรกรรมทส่ี มบูรณ์ไดเ้ ลย และรายการทเ่ี ป็นกล่องถดั ๆ
ไปกจ็ ะ Invalid ไปดว้ ย จนกวา่ จะมกี ลอ่ งถดั ไปทถ่ี กู ตอ้ งมาต่อทา้ ย

24

5. เงินถกู ถา่ ยโอนและอพั เดทข้อมลู แก่ผใู้ ช้
เม่อื ทุกอย่างสาเร็จตามขนั้ ตอน เงนิ จะถูกถ่ายโอนและอพั เดทขอ้ มูลแก่ผู้ใช้ทุกคน

พรอ้ มกนั การสง่ ต่อขอ้ มลู จากเคร่อื งถงึ เครอ่ื ง เรยี กวา่ Peer-to-peer สว่ นเงนิ ทว่ี า่ น้ีเป็นเพยี งแค่
จานวนทถ่ี ูกระบุขน้ึ ไมม่ เี ป็นสงิ่ ของทจ่ี บั ตอ้ งได้ เป็นสนิ ทรพั ยแ์ บบหน่ึงในโลกดจิ ทิ ลั ท่ีถูกบนั ทกึ
ด้วยเทคโนโลยีเท่านั้น นอกจากนั้นข้อมูลท่ีอัพเดทแก่ผู้ใช้มีความเป็ น Original หมด
แม้ว่าจะเป็นสาเนาก็ตาม เพราะถือเป็นขอ้ มูลเดยี วกนั ท่ไี ด้รบั รองความถูกต้องและอยู่ในมือ
อย่ใู นเคร่อื งของแต่ละคน ต่อใหเ้ กดิ เหตุการณ์ไม่คาดฝัน เช่น หายนะต่าง ๆ ทงั้ ระเบดิ ไฟไหม้
อุทกภยั ในทไ่ี หนซกั ท่ี Blockchain แทบจะไม่ไดร้ บั ผลกระทบเลย เพราะขอ้ มูลถูกกระจายไว้
ในเครอ่ื งของทุกคนทใ่ี ชง้ านอยา่ งเทา่ เทยี มกนั นนั่ เอง

หลกั การทางานของเทคโนโลยี Blockchain

การทางานของ Blockchain
บลอ็ กเชน เป็นรปู แบบการเกบ็ ขอ้ มลู (Data structure) แบบหน่ึง ทท่ี าใหข้ อ้ มลู Digital

transaction ของแต่ละคนสามารถแชร์ไปยงั ทุก ๆ คนได้ เป็นเสมอื นห่วงโซ่ (Chain) ท่ที าให้
block ของขอ้ มลู ลง้ิ ก์ต่อไปยงั ทุก ๆ คนเป็น โดยทท่ี ราบว่าใครทเ่ี ป็นเจา้ ของและมสี ทิ ธใิ นขอ้ มลู
นนั้ จรงิ ๆ

เม่อื บลอ็ กของขอ้ มลู ไดถ้ ูกบนั ทกึ ไวใ้ นบลอ็ กเชน มนั จะเป็นเร่อื งยากมาก ๆ ทจ่ี ะเขา้
ไปเปลย่ี นแปลง เวลาทม่ี ใี ครตอ้ งการจะเพม่ิ ขอ้ มลู ทุก ๆ คนในเครอื ขา่ ยซง่ึ ลว้ นแต่มสี าเนาของ
บลอ็ กเชน สามารถรนั Algorithmเพ่อื ตรวจสอบ Transaction โดย Transaction ใหม่น้ีจะได้รบั
อนุญาต ต่อเมอ่ื ในเครอื ขา่ ยสว่ นใหญ่เหน็ ดว้ ยวา่ มนั ถกู ตอ้ ง

การประยุกตใ์ ช้
เช่น วงการอสงั หารมิ ทรพั ย์ สามารถประยุกต์ใช้ทา Smart contract โดยถ้าสญั ญา

อย่ใู นบลอ็ กเชน ทุกคนจะเหน็ ขอ้ มูลตรงกนั เราจงึ สามารถไวใ้ จใหร้ ะบบ Automate ปฏบิ ตั งิ าน
ใดๆ ตามทร่ี ะบุไวใ้ นสญั ญาได้ นอกจากน้ียงั มกี ารประยุกต์ใชไ้ ด้อกี มากมาย ดงั ทม่ี กี ารสรุปไว้
ในแผนภาพน้ี

ภาพท่ี 3.5 การประยกุ ตใ์ ช้ Blockchain

25

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี Blockchain

Blockchain เป็น technology ทเ่ี กย่ี วกบั ความเช่อื ใจ (Trust) ในการทาธุรกรรมทม่ี มี ูลค่า
(Value) โดยมอี งคป์ ระกอบ 4 ขอ้ ดงั น้ี

1. Block
เป็นการเกบ็ Data Transaction/Fact โดยบรรจุในกล่อง(Block) และเม่อื ปิดกล่อง

แลว้ ขอ้ มลู ภายในกล่องหา้ มเปลย่ี นแปลง โดยจะมี Hash ปะหน้ากล่อง (Hash function คอื การ
นา input ขนาดยาวเทา่ ไหรก่ ไ็ ดม้ าแปลงเป็นคา่ ขนาดคงท่ี ซง่ึ input จะใหค้ ่า output เดมิ เสมอ)
โดยสรุปคอื เป็น Block ทใ่ี ชเ้ กบ็ data ทไ่ี มส่ ามารถเปลย่ี นแปลงได้

2. Chain
การเอา header (hash) ของ block มาเรยี งต่อกนั เป็น chain
- มีแค่ header (hash) ล่าสุดสามารถตรวจสอบได้ตลอดทัง้ chain ว่าไม่ถูก

เปลย่ี นแปลง
- การทาธุรกรรมก็แค่เอา hash ล่าสุด 2 คนมาเทยี บกนั ถ้าตรงกนั คอื เช่อื ถือได้

ทาธุรกรรมได้
- เราสามารถเก็บแค่ hash ล่าสุดไว้ก็ได้ ไม่ต้องเก็บทงั้ blockchain ในการทา

ธุรกรรม
- ข้อมูลกล่องปั จจุบันจะเก็บ hash ของกล่องก่อนหน้า ทาให้เปล่ียน data

transaction ท่ีเกิดข้ึนมาแล้วไม่ได้ เน่ืองจากมี Hash กากับไว้ท่ีกล่องและถ้าจะแก้ข้อมูล
บางกล่อง ตอ้ งตามแกท้ งั้ chain ทุก block

- โดยสรปุ Chain คอื เอา Block มาต่อกนั โดยเกบ็ คา่ Hash ไวใ้ นกล่องถดั ไป
3. Consensus

วธิ กี ารตกลงกนั วา่ block ถดั ไปจะเกบ็ อยา่ งไร สามารถทาไดห้ ลายวธิ เี ชน่
- วิธีใดก็ได้ท่ีตกลงกันแล้วทุกคนยอมรับ ”ธุรกรรม” ท่ีเกิดข้ึน เช่น เป่ ายิงชุบ,
แบบประชาธปิ ไตย, หวั หน้าฟันธง etc. แต่วธิ กี ารทใ่ี ชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั เชน่
- Prove of Work : คือให้คนท่ีโชคดีและขยนั ท่ีสุดชนะ ซ่ึงย่ิงจานวน peer มาก
ความน่าเชอ่ื ถอื ยง่ิ เยอะ และยง่ิ ปลอดภยั จากการถกู ทาลายระบบ
- Prove of Stake : ให้สิทธิก์ ับคนท่ีถือมูล (value) ท่ีมีค่าสูงสุด ในการตัดสิน
แต่วธิ นี ้ีอาจจะใส่กฎอ่นื เพมิ่ เช่น อาจจะใชไ้ ดแ้ ลว้ ตอ้ งหยุดสกั พกั ใหส้ ทิ ธคิ ์ นอ่นื บา้ ง ไม่อย่างนนั้
คนอ่นื อาจจะไมใ่ ชร้ ะบบ เพราะไมม่ สี ทิ ธิ ์มเี สยี ง

26

4. Validation

การตรวจสอบธุรกรรม ใช้ digital signature (private key) เพ่อื ประกนั ว่าธุรกรรม
เกดิ จากเจ้าของเงนิ จรงิ ๆ Bitcoin มมี า 9 ปี ยงั ไม่มใี ครโดน Hack ระบบ แต่ท่โี ดน hack คอื
web ท่ีเก็บ wallet (private key) คือใครถือ private key คนนัน้ มีสิทธิท์ าธุรกรรมได้เปรียบ
เสมอื นเจา้ ของ

5. Wallet (optional)

กระเป๋ าเงนิ ทท่ี าใหเ้ ราทราบมลู คา่ ของเงนิ ทเ่ี รามอี ยู่

ประเภทของ Blockchain

ปัจจุบนั มกี ารแบ่งเทคโนโลยี Blockchain ออกเป็น 3 ประเภท นัน้ คือ Public, Private,

Consortium ซง่ึ แต่ละประเภทกม็ เี หมาะสมกบั การใชง้ านแตกต่างกนั ไป

1. Public Blockchain (Blockchain แบบเปิ ดสาธารณะ )

Blockchain ประเภทน้ี เรามกั รู้จกั กันดีในช่ือ

Bitcoin กับ Ethereum ซ่ึงเป็ น Blockchain ท่ีใช้งานจริง

กับคนทัว่ โลก ข้อดีของ Public Blockchain ประเภทน้ี

คอื ทางองค์กร ไม่จาเป็นต้องลงทุนตอนเรม่ิ ต้นในราคาสูง

เช่น การนาเอา Ethereum มาใช้เป็นแพลตฟอร์มสาหรบั

การรบั และสง่ ขอ้ มลู ทา่ นสามารถใชเ้ พอ่ื เกบ็ ขอ้ มลู และเรยี ก

ข้นึ มาดูได้แบบออนไลน์ โดยท่ที ่านไม่ต้องลงทุนซ้ือเคร่อื ง

Server มาติดตัง้ ระบบเอง ท่านเพียงแค่จ่ายค่าการรับส่ง

และเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู ตามการใชง้ านจรงิ เท่านนั้ คลา้ ย ๆ จ่าย ภาพท่ี 3.6 Blockchain แบบเปิด
สกาาธรสาง่รขณอ้ ะมลู ไปใหห้ น่วยงาน
คา่ บรกิ ารแบบคา่ มอื ถอื ชนดิ เตมิ เงนิ ใชเ้ ทา่ ไรกจ็ า่ ยเทา่ นนั้ เชน่
สาหรบั ขอ้ ดขี อง Public Blockchain ยงั มอี กี มากมาย

ผู้รับปลายทางเราก็ไม่ต้องมาสร้างช่องทางส่งข้อมูลกัน หรือท่ีนิยมทา Web Service API

เพ่อื ให้ App คุยกนั องคก์ รผูส้ ่งขอ้ มลู เพยี งแค่ใส่ขอ้ มูลลงไปใน Blockchain และจ่าหน้าซองถงึ

องค์กรผู้รับเท่านั้นผู้รับก็ได้รับข้อมูลไปโดยทันที แต่ข้อเสียของ Public Blockchain

กม็ เี ช่นกนั ขอ้ มูลทเ่ี ราใส่เขา้ ไปใน Public Blockchain นัน้ จะกลายเป็นว่าขอ้ มูลเหล่านัน้ จะถูก

เปิดเผยแก่ทุกคนแบบสาธารณะ แปลว่าไม่มอี ะไรเป็นความลบั หากต้องการความเป็นส่วนตวั

องคก์ รกต็ อ้ งหาวธิ กี ารใน การเขา้ รหสั ขอ้ มลู ก่อนทจ่ี ะสง่ ซง่ึ เป็นขนั้ ตอนทท่ี าใหเ้ กดิ ความยุง่ ยาก

ในการใชง้ าน

27

2. Private Blockchain (Blockchain แบบปิ ด)
Blockchain ประเภทน้ีเป็นการสรา้ งระบบ Blockchain เพ่อื มาใชก้ นั ภายในองค์กร

หรอื เป็นระบบปิด บลอ็ กเชนประเภทน้ีจะมกี ารจากดั การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล ทาใหจ้ ะมเี พยี งคนบาง
กลุ่มเท่านัน้ ซ่ึงเป็นคนท่ีได้ยนื ยนั ตวั ตนและตรวจสอบขอ้ มูลในระบบบล็อกเชนแล้วเท่านั้น
จงึ จะสามารถใชง้ านระบบได้ สาหรบั องค์กร ท่ตี ้องการรกั ษาความปลอดภยั ขอ้ มูลในระดบั สูง
อาจจะเป็นการเช่อื มโยงขอ้ มูลระหว่างบรษิ ทั ในเครอื ด้วยกนั เอง หรอื ระหว่างสานักงานใหญ่
กบั สาขาเท่านัน้ ทม่ี สี ทิ ธเิ ์ ขา้ ถงึ ขอ้ มูลในระบบ Blockchain ประเภทน้ีได้ จงึ เป็นอะไรท่ตี รงขา้ ม
กบั Public Blockchain อย่างส้นิ เชงิ Blockchain ประเภทน้ีถูกออกแบบมา เพ่อื แก้ปัญหาการ
เปิดเผยขอ้ มูลทอ่ี งคก์ รตอ้ งประสบใน Public Blockchain ได้ แต่กต็ ้องแลกมาดว้ ยการทอ่ี งคก์ ร
ตอ้ งลงทุน ในการสรา้ งระบบ Infrastructure เพอ่ื รองรบั การใชง้ านภายในองคก์ รเอง ซง่ึ กม็ คี วาม
ทา้ ทายในการดแู ลรกั ษา และจานวนเงนิ ไม่น้อยทอ่ี งคก์ รจะตอ้ งลงทุนอกี เชน่ กนั

ขอ้ ดอี กี ขอ้ ของ Private Blockchain คอื การท่เี ราสามารถกาหนดกฎเกณฑต์ ่าง ๆ
ภายใน Blockchain Network ของเราให้ทางานได้ตามท่ีเราต้องการนัน่ เอง เราไม่จาเป็น
ตอ้ งออกแบบระบบใหเ้ ป็นไปตามกฎของโลกเหมอื น Public Blockchain เช่น ถา้ ออกแบบระบบ
โดยอ้างอิงอยู่บน Public Blockchain Bitcoin เวลามีการส่งเงินนัน้ เราก็ต้องออกแบบระบบ
ให้มกี ารรอ Confirm ธุรกรรม 10-15 นาทตี ามกฎของ Bitcoin แต่ในทางกลบั กนั หากองค์กร
ใชร้ ะบบประเภท Private Blockchain เราจะสามารถออกแบบใหก้ าร Confirm ธรุ กรรมแลว้ เสรจ็
ภายใน 1 - 2 วนิ าทกี เ็ ป็นไปได้ หรอื สามารถสรา้ งเงอ่ื นไขของสญั ญาอจั ฉรยิ ะ (Smart contract)
เพ่อื การกาหนดกฎการทาธุรกรรมของกลุ่มกนั เองและดาเนินการดว้ ยความเป็นอสิ ระในรปู แบบ
ธุรกรรมอตั โนมตั ิ ซง่ึ ถอื เป็นการเปิดประตไู ปสกู่ ารเชอ่ื มโยงกบั ขอ้ มลู อ่นื ๆ อกี มากมาย

ภาพท่ี 3.7 Blockchain แบบปิด

28

3. Consortium Blockchain (Blockchain แบบ เฉพาะกล่มุ )

Blockchain ประเภทคอื การรวมเอา 2 แนวคดิ แรก

เข้าด้วยกัน เป็นการผสมผสานระหว่างข้อดี ของ Public

Blockchain และ Private Blockchain เขา้ ดว้ ยกนั ซง่ึ แนวคดิ

Consortium Blockchain น้ีกาลงั เป็นท่นี ิยมอย่างสูงสาหรบั

ก า ร น า ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ใ ช้กับ อ ง ค์ก ร ด้า น ก า ร เ งิน ใ น ปั จ จุ บัน

เน่ืองจากองคก์ รเหล่าน้ี มกี ารทาธุรกจิ ทเ่ี หมอื นกนั โดยปกติ

จะต้องเช่อื มโยง เพ่อื แลกเปล่ยี นขอ้ มูลระหว่างกนั อยู่แล้ว

จงึ สร้างเป็นเครอื ข่ายความร่วมมอื และพฒั นาระบบขอ้ มูล

เพ่ือใช้งานร่วมกัน เช่น Consortium Blockchain สาหรับ ภาพท่ี 3.8 Blockchain แบบ เฉพาะกลมุ่
ธนาคาร ใชใ้ นการ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู การโอนเงนิ

ระหว่างกนั ภายในสมาคม ธนาคารด้วยกันเอง และธนาคารท่ีจะเข้ามาร่วมในเครือข่ายได้

จะต้องได้รบั อนุญาตจากตวั แทนของสมาคมเสยี ก่อน จงึ จะมสี ทิ ธใิ ์ ชง้ านระบบร่วมกบั ธนาคาร

อ่นื ๆ ได้

ขอ้ ดขี อง Blockchain ประเภทน้ีคอื ธนาคารไม่ต้องกลวั ว่าขอ้ มลู สาคญั ขององค์กร

และลูกคา้ จะรวั่ ไหลกลายเป็นขอ้ มลู Public และในเร่อื งการลงทุนระบบ Infrastructure กล็ ดลง

ไม่เหมอื นการสรา้ ง Private Blockchain ขน้ึ มาใชเ้ ฉพาะภายในองคก์ รของตนเอง ซ่งึ จะไม่ต่าง

อะไรกับการลงทุนทาระบบใหญ่ ๆ ท่ีต้องใช้งบประมาณสูง และเสียเวลามาก แต่ก็จาเป็น

ต้องแลกดว้ ยความไม่คล่องตวั ในการปรบั เปลย่ี นแกไ้ ขเง่อื นไขการใชง้ านต่าง ๆ เพราะอาจจะ

ตอ้ งรอใหผ้ า่ นมตคิ วามเหน็ ชอบจากสมาชกิ สว่ นใหญ่ในสมาคมเสยี ก่อน

ภาพท่ี 3.9 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain กบั ระบบ Supply
Chain

29

Blockchain มีประโยชน์อย่างไร

1. การโอนเงนิ ชาระเงนิ การโอนเงนิ ชาระเงนิ ทงั้ ภายในถอื เป็นกรณีการใชง้ านทแ่ี พร่หลาย
ท่สี ุดของ Blockchain ซ่งึ การโอนเงนิ ในลกั ษณะน้ีมหี ลายรูปแบบ และรวมไปถงึ การสรา้ งเงนิ
สกุลดิจิทัลข้ึนมาใหม่ หรือเปล่ียนเงินสกุลเดิมให้กลายเป็นเงินดิจิทัล ก่อนท่ีจะนาใช้งาน
ในรูปแบบเดียวกับ Bitcoin แต่มกั จะอยู่ในระบบปิด (พร้อมด้วยข้อจากัดต่าง ๆ มากมาย)
ซ่ึงแตกต่างจากระบบเปิดอย่าง Bitcoin หรือ Ethereum ประโยชน์ของระบบลักษณะน้ีคือ
การช่วยลดเวลาในการทาธุรกรรม เพม่ิ ความปลอดภยั และเพม่ิ ความสามารถในการบนั ทกึ
ขอ้ มลู เพอ่ิ การตรวจสอบต่อไป สว่ นระบบการโอนเงนิ , ชาระเงนิ ขา้ มประเทศแบบทใ่ี ชด้ งั้ เดมิ นนั้
มีปั ญหาเร่ืองประสิทธิภาพ เน่ืองจากเป็ นระบบเอกสารท่ีซับซ้อนซ่ึงต้องการมนุ ษย์เข้าไป
เก่ียวข้องเยอะ (เช่น ตรวจสอบอัตราแลกเปล่ียน) การนา Blockchain หรือเทคโนโลยี
Distributed Ledger อ่ืนมาใช้จะช่วยออโตเมตขนั้ ตอนเหล่าน้ีได้ ซ่ึงช่วยลดเวลา ลดต้นทุน
และเพ่ิมการรกั ษาความปลอดภัยอันเป็นไปตามมาตรฐานของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ได้
ซง่ึ ปัจจยั หลงั สุดมคี วามสาคญั มากในประเทศทร่ี ฐั บาลควบคุมการไหลเขา้

2. การซ้อื ขายพนั ธบตั รและหุน้ กระบวนการซอ้ื ขายพนั ธบตั รนนั้ ประกอบไปดว้ ยขนั้ ตอน
ทเ่ี ป็นอตั โนมตั แิ ละขนั้ ตอนทต่ี อ้ งมมี นุษยเ์ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง อกี ทงั้ ยงั มีผเู้ กย่ี วขอ้ งหลายหน่วยงาน
นัน่ ทาให้บางครัง้ กระบวนการน้ีใช้เวลามากถึง 7 วันในการทาและยืนยันธุรกรรม
การนา Blockchain มาใช้จึงก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างมหาศาล ทัง้ ในเร่ืองของการ
ลดจานวนพนักงานท่ีต้องเข้าไปเก่ียวข้อง และนาไปสู่การลดต้นทุนได้ในท่ีสุด สาหรบั การ
ซอ้ื ขายหุน้ ประสทิ ธภิ าพและความสามารถของ Blockchain แพลตฟอรม์ ในปัจจุบนั ไม่เพยี งพอ
ต่อการรองรบั ปรมิ าณธุรกรรมมหาศาล และความถข่ี องการทาธุรกรรมในตลาดหุน้ ของประเทศ
พฒั นาแลว้ อย่างสงิ คโปรแ์ ละฮ่องกงได้ แต่สามารถรองรบั การซ้อื ขายหุน้ ในตลาดของประเทศ
กาลังพัฒนาในกลุ่มประเทศอาเซียนได้ เช่น ตลาดหลักทรัพย์พม่า ท่ีมีการตรวจสอบ
(Reconcile) หลักประกันระหว่างผู้รับบริการ และสานักหักบัญชี เพียงแค่ 2 ครัง้ ต่อวัน
ซง่ึ ในสถานการณ์ลกั ษณะน้ี Blockchain จะมปี ระโยชน์มาก เพราะไม่ตอ้ งการโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ซี บั ซ้อน (เช่นพ้นื ท่เี ก็บขอ้ มูล และดาต้าเซ็นเตอร์) หรอื Blockchain
ยงั สามารถใชใ้ นการทา backup ธรุ กรรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ใน

3. การชาระแบบ Peer to Peer และการส่งเงินกลับประเทศ การเพิ่มข้นึ ของ Mobile
Wallet ทวั่ ทงั้ ภูมภิ าคอาเซยี น นามาซง่ึ ปัญหาการเช่อื มต่อกนั ระหว่างผใู้ หบ้ รกิ ารแอปพลเิ คชนั
แต่ละตัว และปัญหาการเช่ือมต่อกับระบบธนาคาร เพราะระบบส่วนใหญ่ของผู้ให้บริการ
เป็นระบบปิด และไม่สามารถเชอ่ื มตอ่ กนั ได้ Blockchain สามารถช่วยแกป้ ัญหาน้ีได้ ซง่ึ สามารถ
ใช้เป็นระบบท่ีทางานอยู่เบ้ืองหลังการทาธุรกรรมข้ามแอปพลิเคชัน่ ทาให้ Mobile Wallet
ต่างชนิดกนั สามารถรบั ส่งเงนิ ระหว่างกนั ได้ อกี ทงั้ ยงั มรี ะดบั ความปลอดภยั ทส่ี ูง และสามารถ

30

ตรวจสอบประวตั กิ ารทาธุรกรรมระหว่างกนั ได้ นอกจากน้ียงั มกี ารใช้แพลตฟอร์มประเภทน้ี
กนั อย่างแพร่หลายข้นึ เร่อื ย ๆ ในภูมภิ าคอาเซียนและฮ่องกง โดยผู้ใช้หลกั คอื กลุ่มแรงงาน
ทอ่ี อกไปทางานนอกประเทศ โดยแพลตฟอรม์ เหล่าน้ีมกั อยใู่ นรปู แบบของโมบายลแ์ อปพลเิ คชนั่
และไม่เก่ียวข้องกับระบบธนาคาร โดยผู้ใช้งานสามารถส่งเงินได้อย่างรวดเร็วข้ึนโดยท่ีมี
คา่ ใชจ้ ่ายน้อยลงผา่ นแอปพลเิ คชนั่ ทท่ี างานดว้ ยเทคโนโลยี Blockchain ซง่ึ สง่ ผลกระทบโดยตรง
ต่อผใู้ หบ้ รกิ ารส่งเงนิ ขา้ มประเทศรายเดมิ อย่าง Western Union และ MoneyGram (มี Alibaba
เป็นเจา้ ของในปัจจบุ นั )

4. การรกั ษาความปลอดภยั และการแบ่งปันขอ้ มลู KYC เน่ืองจากขอ้ มลู ทบ่ี นั ทกึ อย่ใู น
Blockchain นนั้ ไม่สามารถแกไ้ ขได้ (นอกจากจะเพมิ่ ขอ้ มลู /ธุรกรรมเท่านนั้ ) นนั่ หมายความวา่
เป็นระบบทม่ี คี วามปลอดภยั สงู ทส่ี ามารถใชเ้ กบ็ Dataต่าง ๆ ได้ และมปี ระโยชน์กบั การรกั ษา
ความปลอดภยั ของธุรกรรมทม่ี หี ลายฝ่ายเก่ยี วขอ้ ง เช่น การออกหนังสอื ค้าประกนั (Letters of
Guarantee หรือ LG) ซ่ึงธนาคารกสิกรไทยได้เร่ิมเอาระบบน้ีมาใช้งานแล้ว ระบบน้ียงั ช่วย
เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและความเรว็ ในการออกหนงั สอื ค้าประกนั อกี ดว้ ย

5. การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพงาน Trade Finance และงานประกนั โดยทวั่ ไปในการส่งสนิ คา้
และชาระเงนิ ระหว่างประเทศมเี อกสารสาคญั อยู่ 2 ประเภทคอื Letter of Credit (LC) และ Bill
of Lading (BL) ซง่ึ ในหน่งึ ธรุ กรรมนนั้ เอกสาร BL ตอ้ งผา่ นมอื หลายบคุ คล/หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
โดยอาจมีผู้เก่ียวข้องกับเอกสารสูงถึง 27 ราย ต้องใช้เอกสารฉบับจริงเฉล่ีย 36 อย่าง
และต้องถ่ายเอกสารอีกรวมแล้วประมาณ 240 ชุดในการซ้ือขายสินค้าแต่ละครั้ง
การใช้เทคโนโลยี Blockchain เข้ามาแก้ปัญหา ทาให้ทุกฝ่ ายท่ีเก่ียวข้องสามารถมองเห็น
แลกเปลย่ี น และสง่ มอบเอกสารกนั ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ไมต่ อ้ งอาศยั ตวั กลาง โดยทย่ี งั ไดป้ ระโยชน์
ในด้านความรวดเรว็ และค่าใชจ้ ่ายท่ลี ดลงอกี ด้วย นอกจากน้ีฟีเจอร์ Smart Contract ท่อี ยู่บน
Blockchain ยงั สามารถช่วยเร่งความเรว็ ของกระบวนการจดั การต่าง ๆ ท่อี ยู่ในกระบวนการ
ประกนั ได้ โดยทาหน้าท่แี ทนมนุษย์ในการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของเอกสารต่าง ๆ
ช่วยทาใหม้ นั่ ใจว่าขอ้ มลู ไม่ได้รบั การเปล่ยี นแปลงแกไ้ ขโดยทไ่ี ม่ไดร้ บั อนุญาต (One Version of
Truth) และยงั เป็นการบนั ทกึ ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ต่าง ๆ ลงในบญั ชี (Ledger) เดยี วกนั อกี ดว้ ย

หน่วยที่

ธรุ กรรมการเงินดิจิทลั
(Fintech)

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของ (Fintech) 6. บทบาทของ Fintech กบั ระบบการเงนิ ของ

2. ประโยชน์ของธุรกรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั Fintech ไทย

3. ประเภทของ Fintech ในอนาคต

4. ประโยชน์ของธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั Fintech 7. ผลสาเรจ็ ของธุรกรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั

5. ผลกระทบของ Fintech ทม่ี ตี ่อธนาคาร (FinTech)

และอุตสาหกรรม 8. ประโยชน์ของ Blockchain

32

หน่วยที่ 4
ธรุ กรรมการเงินดิจิทลั (Fintech)

ภาพท่ี 4.1 Fintech คอื อะไร

ความหมายของ (Fintech)

FinTech (Financial Technology) คือ กลุ่มธุรกิจท่ีประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเข้ามาทาให้
การบรกิ ารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การเงนิ และการลงทุนมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ เช่น การทาธุรกรรม
รบั -จ่าย-โอนเงนิ ออนไลน์ของธนาคาร หรอื การวเิ คราะห์ขอ้ มูลหุน้ เพ่อื ช่วยการตดั สนิ ใจของ
นกั ลงทนุ โดยบรกิ ารเหลา่ น้มี กั จะอยใู่ นรปู แบบของบรกิ ารออนไลน์แทบทงั้ สน้ิ

Financial Technology คอื การนาเอาเทคโนโลยมี าใช้กบั การเงนิ ในการสร้างนวตั กรรม
ใหม่ เพอ่ื เป็นสนิ คา้ บรกิ าร การแกป้ ัญหาทางการเงนิ รวมถงึ เป็นแนวทางในการประกอบธุรกจิ
ใหม่ ๆ ทาใหก้ ารจดั การ และการเขา้ ถงึ ทางการเงนิ เป็นไปไดง้ า่ ยขน้ึ ดว้ ยเทคโนโลยี

เทคโนโลยีทางการเงิน มีจุดเร่ิมต้นจากการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในระบบงาน
ของธนาคาร เม่อื เทคโนโลยเี ตบิ โตขน้ึ พรอ้ ม ๆ กบั ความสามารถในการเขา้ ถงึ ของบุคคลทวั่ ไป
โดยเฉพาะ Smart phone ท่ีถือเป็ น Disrupter แห่งยุค ก็ทาให้อานาจในการทาธุรกรรม
และเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการเงนิ ไม่ถูกจากดั อย่กู บั สถาบนั การเงนิ อกี ต่อไป เทคโนโลยที างการเงนิ
ไดแ้ ตกแขนงออกมาเป็นรปู แบบตา่ ง ๆ กนั เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการทางการเงนิ ของผใู้ ช้

Fintech ย่อมาจาก Financial Technology (เทคโนโลยีทางการเงิน) ซ่ึงเป็ นการใช้
เทคโนโลยี ในส่วนของการออกแบบและการให้บริการทางการเงิน โดยเป็นส่ิงสาคญั มาก
ทต่ี อ้ งเขา้ ใจวา่ fintech นนั้ ไม่ใชส่ าขาวชิ าของตวั เองแต่เป็นการควบรวมสว่ นสาคญั ตา่ ง ๆ เอาไว้
ทร่ี ่วมถงึ การกูย้ มื ระหว่างบุคคลต่อบุคคลทางออนไลน์ (peer-to-peer lending), ความปลอดภยั
ของขอ้ มูล (data security), ปัญญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence), บล็อกเชน (blockchain),
ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (big data), ผแู้ นะนาการลงทนุ อตั โนมตั ิ (robo-advisers), และการระดมทุน

33

จากสาธารณะชน (crowd-funding) และทัง้ หมดน้ีก็กาลังเปล่ียนแปลงวิถีของการธนาคาร
ทเ่ี รารจู้ กั ไปอยา่ งแทจ้ รงิ

ภาพท่ี 4.2 ววิ ฒั นาการของธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech)

วิวฒั นาการของธรุ กรรมการเงินดิจิทลั (Fintech)

ววิ ฒั นาการดา้ นเทคโนโลยที าง การเงนิ จากอดตี สปู่ ัจจบุ นั
จาก Bank 1.0 ถึงยคุ Virtual Bank
เทคโนโลยีทางการเงิน หรือ FinTech คือ การผสมระหว่างคาว่า Financial

และ Technology เขา้ ไว้ด้วยกนั ซ่ึงหมายถงึ การนาเทคโนโลยหี รอื โปรแกรมคอมพวิ เตอร์มา
ประยกุ ตใ์ ชห้ รอื สนบั สนุนการใหบ้ รกิ าร ทางการเงนิ การธนาคาร และการลงทนุ ในรปู แบบต่าง ๆ
ซ่ึงหากศึกษาวิวัฒนาการของ FinTech จะพบว่า นับจากการวางระบบเคเบิลใต้น้า
(Transatlantic Cable) อนั ถือเป็นจุดกาหนดของโครงสร้างพ้ืนฐานทางการเงินในราวปี 1866
เป็นตน้ มา รปู แบบการใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ ทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยเี ป็นตวั ขบั เคล่อื นมกี ารเปลย่ี นแปลง
ไปอย่างมาก จวบจนปัจจุบัน ท่ีกลุ่มอุตสาหกรรมทางการเงินกาลังปรับเปล่ียนรูปแบบ
การให้บรกิ ารจากการมสี านักงานสาขาในแบบเดมิ หรอื Brick-and-Mortar Branches มาเป็น
การใหบ้ รกิ ารทอ่ี ยใู่ นโลกออนไลน์แบบเตม็ รปู แบบ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ “Virtual Bank”

จาก Bank 1.0
ผเู้ ขยี นขอวเิ คราะหว์ วิ ฒั นาการของธนาคารตามการเปล่ยี นแปลงของรูปแบบการ

ใหบ้ รกิ าร โดยอธบิ ายเป็นยคุ ต่าง ๆ ตามลาดบั ดงั น้ี
ธนาคารในยคุ แรก หรอื Bank 1.0 คอื ยคุ ทธ่ี นาคารยงั ไมม่ กี ารใชเ้ ทคโนโลยใี ด ๆ ใน

การใหบ้ รกิ าร ดงั นนั้ การดาเนินการตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะฝาก ถอน หรอื กยู้ มื ลว้ นแลว้ แต่กระทาลงใน
รปู แบบกระดาษทงั้ สน้ิ ซง่ึ ประชาชนในยคุ นนั้ เลอื กใชบ้ รกิ ารธนาคารดว้ ยความเช่อื ทว่ี า่ ธนาคาร
คอื สถานท่ี ๆ ปลอดภัยในการเก็บเงนิ หรอื อาจกล่าวได้ว่า ประชาชนได้ให้ Trust กบั การ
ดาเนินงานของธนาคารนนั้ เอง

34

ต่อมาในยุค Bank 2.0 ความต้องการในการใช้บริการธนาคารมีเพิ่มข้ึน ส่งผลให้เร่ิมมีการ
นาเทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการให้บรกิ าร เรม่ิ จากการใช้ระบบ Mainframe
เพ่ือการรองรบั การให้บริการ จนกระทงั้ มีการให้บริการผ่านตู้ ATM โดยธนาคาร Barclays
และมีการออกบัตรเครดิตโดยสถาบันการเงินในสหรัฐอมริกา ( Bank of American และ
American Express)

หลงั จากนัน้ ในยุค Bank 3.0 หรอื ในช่วงปี 1990 เป็นต้นมาได้เรมิ่ มกี ารใช้ Internet
Banking และ Mobile Banking ตามลาดับ ต่อมา ในปี 1999 หลักจากท่ีมีการก่อตัง้ บริษัท
Alibaba พบวา่ รปู แบบ การใหบ้ รกิ าร e-Commerce platform ทม่ี กี ารเกบ็ ขอ้ มลู การขายสนิ คา้ ,
บรกิ ารออนไลน์ ทาให้ platform ทราบขอ้ มลู ทางการเงนิ ของผใู้ ชบ้ รกิ ารไดไ้ มย่ ากนกั อนั เป็นผล
ใหม้ กี ารเกดิ กลุ่มธุรกจิ ทเ่ี กย่ี วกบั การชาระเงนิ อย่าง Alipay และธุรกจิ ไฟแนนซ์, Money Market
Fund อย่าง Yue Bao ซ่ึงธุรกิจการให้บริการทางการเงินประเภทต่าง ๆ ท่ีได้กล่าวมาน้ี
แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเปลย่ี นแปลงของการใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ ในรปู แบบใหม่ ทไ่ี ม่จาเป็นตอ้ งใช้
คนมากมาย และไม่จาเป็นต้องมสี านักงานสาขาในแบบกายภาพ เน่ืองจากเป็นการให้บรกิ าร
ผ่าน Application ท่ีเช่ือมต่ออยู่ในโลกออนไลน์ หรืออาจกล่าวได้ว่า Bank ในยุค 4.0 นัน้
ได้รับอิทธิพลจาก Business Model แบบ Alibaba จึงส่งผลให้การให้บริการทางการเงิน
ในรปู แบบ Automated เพม่ิ จานวนมากขน้ึ และสง่ ผลใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ ในยคุ น้สี ามารถทาได้
แบบ No human Involved

จาก Bank 4.0 สู่ Virtual Bank
Virtual Bank หรือ Internet Based Bank คือ สถาบนั การเงิน (อาจเป็นธนาคาร

หรือการรวมตวั ของกลุ่มอุตสาหกรรมทางการเงนิ และธุรกิจอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง) ท่ีให้บริการ
และดาเนินการทุกอย่างในรูปแบบ online เช่น ให้บริการผ่าน website, email หรือ mobile
check deposit เป็นตน้

ปัจจุบนั กฎหมายในหลายประเทศไดอ้ นุญาตใหป้ ระกอบธุรกจิ ในแบบ Virtual Bank ได้
โดยประเทศท่ีได้มกี ารให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ Virtual Bank แล้ว เช่น ฮ่องกง (8 ราย)
และไต้หวนั (3 ราย) เป็นต้น ซ่งึ หากพจิ ารณาในโครงสรา้ งของ Virtual Bank แต่ละรายทไ่ี ดร้ บั
อนุญาตไปแล้ว จะสังเกตเห็นว่าผู้เล่นในธุรกิจ Virtual bank มักอยู่ในรูปแบบการรวมตัว
ของกลุ่มธุรกจิ แบบร่วมทุน (Joint Venture) ระหว่างกลุ่มธุรกจิ ท่เี ตบิ โตมากจาก App-Based
enable Service (เ ช่ น line, Ctrip, Tencent แ ล ะ Ant Financial) ก ลุ่ ม ธุ ร กิจ ธ น า ค า ร เ ดิม
(Standard Chartered Bank และ CTBC Bank) กลุ่มธุรกิจโทรคมนาคม เช่น (Chunghwa
Telecom) และกลุ่มบรษิ ทั เทคโนโลยี เชน่ (Jingdong Digital Technology) เป็นตน้

35

ยกตัวอย่างเช่น Virtual Bank license ในไต้หวัน FSC (Financial Supervisory Commission)
ได้ให้ใบอนุญาตกับกลุ่มธุรกิจ Line Financial Taiwan ซ่ึงเป็นการร่วมมือทางธุรกิจระหว่าง
Line Group, Taipei Fubon Commercial Bank, CTBC bank, Standard Chartered, Union
Bank of Taiwan และบรษิ ทั โทรคมนาคม FarEastTone

อย่างไรกด็ ใี นทางปฏบิ ตั ิ การดาเนินการในรปู แบบ Virtual ในบางประเทศ ธนาคารยงั คง
รปู แบบ สานกั งานใหญ่และสานกั งานสาขาอยเู่ ชน่ เดมิ เพยี งแตม่ กี ารใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื เชอ่ื มโยง
การทางานระหว่างสานักงานสาขาและสานักงานใหญ่เขา้ ด้วยกนั หรอื เช่อื มต่อการใหบ้ รกิ าร
กบั ลกู คา้ ผา่ นระบบ Kiosks เป็นตน้ เชน่ ระบบ Virtual Banking system ของธนาคารในประเทศ
คเู วต

ประเภทของ Fintech

Fintech คนมกั จะคิดถึงระบบ Mobile Banking ของแต่ละธนาคารก่อนเป็นอนั ดบั แรก

แต่ตามว่าเทคโนโลยที างการเงนิ นนั้ มอี ย่หู ลายรปู แบบดว้ ยกนั และการแบ่งประเภทของฟินเทค

ก็สามารถแบ่งได้หลากหลายวิธีเช่นกัน แต่ถ้าจะจาแนกตามจุดประสงค์ในการใช้งาน

สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 7 แบบ

1. Banking Technology

การนาเทคโนโลยมี าใชก้ บั ระบบธนาคาร

ซง่ึ เป็นสงิ่ แรกทค่ี นมกั คดิ ถงึ เม่อื พดู ถงึ เทคโนโลยที าง

การเงนิ เพราะหลายคนคุน้ เคยกบั เทคโนโลยดี งั กล่าว

อยู่แลว้ และเช่อื ว่าในโทรศพั ท์ของคนวยั ทางานส่วน

ใหญ่จะต้องติดตงั้ แอปพลิเคชัน่ ธนาคาร ซ่ึงฟินเทค

ประเภทน้ีคือ Mobile Banking ท่ีมีข้ึนเพ่ือให้ลูกค้า

ของธนาคารสามารถทาธุรกรรมต่าง ๆ ท่ีเป็ น

การบรหิ ารจดั การเงนิ ของตวั เองไดด้ ว้ ยตวั เอง ทางาน ภาพท่ี 4.3 Banking Technology
ในฟังกช์ นั เดยี วกบั ทธ่ี นาคารแบบดงั้ เดมิ ทา ทงั้ เชค็ ยอดบญั ชี

โอนเงนิ จา่ ยบลิ และอ่นื ๆ

2. Crowdfunding Platforms

เทคโนโลยเี พ่อื การระดมทุน กล่าวคอื คราวดฟ์ ันดิงแพลตฟอรม์ เป็นแพลตฟอรม์

ตวั กลางระหวา่ งผปู้ ระกอบการ และนกั ลงทุน โดยแพลตฟอรม์ ทเ่ี กดิ ขน้ึ มจี ดุ ประสงค์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ

การขอและใหเ้ งนิ ทุนแทนทผ่ี ปู้ ระกอบการจะตอ้ งไปขอกสู้ นิ เช่อื จากธนาคาร กส็ ามารถระดมทุน

จากนักลงทุนหลาย ๆ คนได้ และนักลงทุนเอง ก็สามารถเลือกลงทุนในธุรกิจท่ีน่าสนใจ

ผ่านแพลตฟอร์มดงั กล่าวได้ โดยแพลตฟอร์ม นอกจากจะเป็น ตัวกลางในการเช่ือมต่อแล้ว

ยงั อานวยความสะดวก ในเรอ่ื งการสมคั รขอระดมทนุ ตรวจสอบเครดติ และอนุมตั ิ ดว้ ยเชน่ กนั

36

3. Cryptocurrency

สกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั ทงั้ Cryptocurrency

หรอื เทคโนโลยี Blockchain เป็นการสมมติ

ชุดข้อมูลข้ึนมาด้วยวิธีใดวิธีหน่ึงในโลก

ออนไลน์ แลว้ ทาใหใ้ ชง้ านไดเ้ หมอื นเงนิ จรงิ

สามารถใช้จ่ายได้ รวมถึงเก็งกาไรได้ด้วย

โดยสกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั สกุลแรกทถ่ี อื กาเนิดมาใน

โลก คือ Bitcoinและท่ีสัน่ สะเทือนวงการ

การเงนิ ลา่ สดุ คอื การประกาศเปิดตวั Libra ภาพท่ี 4.4 Cryptocurrency

สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั ของ Facebook ทจ่ี บั มอื กบั พารท์ เนอร์

เจา้ ใหญ่ทวั่ โลก ซง่ึ ถูกคาดการณ์ วา่ จะเป็น Technology Disruptive ทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ ในอนาคต

การเกดิ ข้นึ ของเทคโนโลยที างการเงิน ประเภทน้ี บ้างก็ถูกมองเป็นโอกาสท่จี ะสรา้ ง

ความเท่าเทยี มทางการเงนิ บ้างก็ถูกมองว่าเป็นภยั ต่อระบบการเงนิ ดงั้ เดมิ ของโลก จงึ ได้รบั

ทัง้ การต้อนรับและขับไล่จากทัว่ โลก อย่างไรก็ดี Cryptocurrency ถือเป็ นระบบการเงิน

แห่งอนาคตทม่ี กี ารขยายขอบเขตความสนใจเพมิ่ ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ

4. Payment Technology

ระบบการจ่ายเงินท่ีดาเนินการด้วยเทคโนโลยี ประเภทน้ีคือระบบตัวแทนการ

ใช้จ่าย ท่ีผู้ใช้ต้องเปิ ดบัญชีกับทางแพลตฟอร์มจึงจะสามารถใช้งานได้ ตัวอย่างเช่น

ระบบ E-Wallet ต่าง ๆ เครดิตการ์ด ซ่ึงระบบ Payment จะต่างจาก Mobile Banking

ตรงทเ่ี จา้ ของแพลตฟอรม์ ไมใ่ ชธ่ นาคาร และใหบ้ รกิ ารเฉพาะการใชจ้ ่ายเทา่ นนั้

5. Enterprise Financial Software

ซอฟต์แวร์สาหรบั องค์กร อีกหน่ึงเคร่อื งมอื เทคโนโลยี ท่ีจะช่วยผู้ประกอบการ

ในเร่อื ง การจดั การทางด้านการเงนิ ไม่ว่าจะเป็น การจดั การบญั ชี ระบบจ่ายเงนิ เดอื น-ภาษี

และการจัดการพนักงาน ซ่ึงครอบคลุมถึงสวสั ดิการด้านการเงิน โดยเทคโนโลยีดังกล่าว

จะช่วยลดเวลา และทรพั ยากรทต่ี อ้ งใชง้ าน ทาใหป้ ระสทิ ธภิ าพของกระบวนการภายในองคก์ ร

ดขี น้ึ

6. Investment Management

เทคโนโลยที ่จี ะช่วยจดั การทางด้านลงทุน ในปัจจุบนั จะเห็นได้ว่า มแี พลตฟอร์ม

การลงทุนท่ีหลากหลายมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็น แอปพลิเคชัน่ ลงทุนใน Private fund, ทองคา,

กองทุนรวม รวมถงึ แพลตฟอรม์ ทใ่ี ช้ AI ช่วยในการวเิ คราะหห์ ุน้ หรอื แมแ้ ต่การนาเทคโนโลยี

อย่าง Robo Advisor มาช่วยในการจดั พอรต์ การลงทุน (Asset Allocation)

37

7. Insurance Technology/ Insurtech
หลายคนมองว่าการซ้ือประกันภัย ประกันชีวิตคือการลงทุนรูปแบบหน่ึง

รวมทงั้ ระบบการคานวณเบ้ยี ประกนั มคี วามซบั ซ้อน การใชเ้ ทคโนโลยที างการเงนิ เขา้ มาช่วย
ทงั้ ด้านการคานวณเบ้ยี ประกนั ผลตอบแทน ความเส่ยี ง รวมถึงอตั ราส่วนลดอย่างเป็นเหตุ
เป็นผล ช่วยให้ทงั้ ผู้ซ้ือและผู้เสนอขายประกันภัย ประกนั ชีวิตบริหารจดั การระบบประกัน
ไดง้ า่ ยขน้ึ

ภาพท่ี 4.5 Insurance Technology

ประโยชน์ของธรุ กรรมการเงินดิจิทลั Fintech

ประโยชน์หลกั ของ Fintech คอื การทาใหธ้ ุรกรรม หรอื กจิ กรรมเก่ยี วกบั การเงนิ แบบเดมิ
สะดวก และรวดเร็วข้ึนมาก และในฝัง่ ของธุรกิจเอง ยงั ได้รบั ประโยชน์จากต้นทุนท่ีลดลง
อย่างทใ่ี ครหลายคนเคยเหน็ ขา่ วทห่ี ลายธนาคารต่างลดจานวนพนกั งานลง

ในเบ้อื งต้น FinTech (ฟินเทค) ถา้ หากว่ามาจดั หมวดหม่งู ่าย ๆ จะสามารถแบ่งประเภท
ได้ 7 ประเภท ตามหมวดหมู่ของธุรกจิ เก่ยี วกบั การปน ได้แก่ ธนาคาร, สนิ เช่อื , การจ่ายเงนิ ,
การโอนเงนิ ระหว่างประเทศ, การประกนั ภยั , การลงทุน, และสกุลเงนิ ดจิ ติ อล หรอื ท่รี ู้จกั กนั
ในชอ่ื Cryptocurrency

อย่างไรกต็ าม FinTech คอื สงิ่ ทไ่ี มใ่ ชเ่ รอ่ื งใหม่ แตอ่ ยา่ งใดเพยี ง แตช่ ว่ งทผ่ี า่ นมา FinTech
ถูกพูดถึงมากข้นึ เพราะช่วงน้ีเป็นช่วงเปล่ียนผ่านท่ีหลายธุรกิจเก่ียวกบั การเงินทงั้ ในไทย
และต่างประเทศเรม่ิ เปลย่ี นมาใชน้ วตั กรรมเกย่ี วกบั เทคโนโลยที างการเงนิ หรอื FinTech กนั มาก
ขน้ึ ซง่ึ เป็นผลมาจากความไดเ้ ปรยี บในเรอ่ื งของตน้ ทุนและความถูกตอ้ งแมน่ ยา

38

เทคโนโลยีทางการเงินมีประโยชน์อย่างไร กบั ใครบา้ ง

ในเม่ือรูปแบบของเทคโนโลยีทางการเงิน มีอยู่มากมาย ครอบคลุมการใช้บริการ
แทบทุกระดบั ประโยชน์ของเทคโนโลยที างการเงนิ จงึ มมี ากตามไปดว้ ย โดยอาจแบ่งประโยชน์
ตามกลุ่มผใู้ ชง้ านไดด้ งั น้ี

ภาพท่ี 4.6 เทคโนโลยที างการเงนิ มปี ระโยชน์ต่อใคร
บคุ คลทวั่ ไป

ได้ประโยชน์จากเทคโนโลยที างการเงนิ ในลกั ษณะการขยายโอกาสการเข้าถึง
บริการทางการเงิน (Financial Inclusion) ท่ีทาให้คนท่ีไม่มีบัญชีธนาคารสามารถใช้จ่าย
ทาธรุ กรรมรวมถงึ สามารถขอสนิ เชอ่ื ลงทนุ ไดด้ ว้ ยตนเอง

สถาบนั การเงิน
ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยที างการเงนิ ได้ด้วย การสร้างระบบธนาคารย่อย ๆ

แบบ Mobile Banking ลงมาให้อยู่ในโทรศัพท์มือถือ เป็ นอีกช่องทางในการเข้าถึงลูกค้า
และเก็บข้อมูลธุรกรรมต่าง ๆ ของลูกค้าได้ง่ายข้นึ ผู้ให้บริการ E-Commerce ใช้ประโยชน์
ได้ทงั้ ในรูปแบบของระบบ Payment จากการเช่ือมต่อ API Data และ Banking Technology
ทาใหค้ า้ ขายในออนไลน์งา่ ยขน้ึ จากการจา่ ยเงนิ ผา่ นแพลตฟอรม์ ออนไลน์ดงั กลา่ ว

นักลงทุน
เทคโนโลยีทางการเงิน เอ้ือต่อการลงทุนทงั้ ในรูปแบบตลาด Cryptocurrency,

Insurtech และ Crowdfunding Platforms ซ่งึ ถอื เป็นโอกาสสาหรบั นักลงทุนท่อี ยากลองลงทุน
ในรปู แบบใหม่ ๆ