อสมการเชิงเส้น ตัวแปร เดียว ในชีวิต ประ จํา วัน

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เป็นหัวข้อที่มีความจำเป็นในการศึกษามาก เพราะเป็นหัวข้อที่สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้ง่าย สามารถนำไปต่อยอดได้ และยังเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับคณิตศาสตร์หัวข้ออื่น ๆ อย่างมาก การจะศึกษาในบท สมการนี้ได้อย่างดี เราต้องมีความพยายามในการทำความเข้าใจ รวมถึงมีความรอบคอบในการทำเป็นอย่างมาก มาเริ่มกันเลยดีกว่า

 

สมการ

สมการ คือ ประโยคที่แสดงถึงการเท่ากันของจำนวน โดยใช้สัญลักษณ์ “ = “ เพื่อแสดงความเท่ากันของจำนวน

ส่วนคำตอบของสมการ คือ จำนวนที่แทนในตัวแปรแล้วทำให้สมการดังกล่าวเป็นจริง

อสมการเชิงเส้น ตัวแปร เดียว ในชีวิต ประ จํา วัน

เนื้อหาทั้งหมดของ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ดูสารบัญ เรื่อง แก้สมการ

ดูเนื้อหานี้บน Youtube

ทบทวนตัวอย่าง นิพนจ์พีชคณิต ก่อนไปกันต่อ

อสมการเชิงเส้น ตัวแปร เดียว ในชีวิต ประ จํา วัน

กลับไปทบทวน

ตัวอย่างเช่น

สมการ x + 2 = 5

คำตอบของสมการนี้ คือ x = 3

เพราะเมื่อนำ x = 3 แทนในสมอการแล้วเป็นจริง   3 + 2 = 5

โดยในการหาคำตอบของสมการนั้น จะใช้วิธีการที่เรียกว่า การแก้สมการ โดยการแก้สมการนั้น คือ การหาคำตอบจากการใช้สมบัติการเท่ากันในการแก้ ซึ่งเราจะได้ศึกษากันในหัวข้อถัดไป

สมบัติการเท่ากัน

เมื่อ a , b และ c แทนจำนวนใด ๆ

สมบัติ

รายละเอียด

สมบัติการสะท้อน

a = a

สมบัติสมมาตร

ถ้า a = b แล้ว b = a

การถ่ายทอด

ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c

สมบัติการบวก

ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c

สมบัติการคูณ

ถ้า a = b แล้ว ac = bc

อสมการเชิงเส้น ตัวแปร เดียว ในชีวิต ประ จํา วัน

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

คือ สมการที่มีตัวแปรเพียงตัวแปรเดียว ถ้ายังไม่เข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรสามารถกลับไปทบทวนในเรื่อง พหุนาม โดยสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ต้องมีตัวแปรที่มีดีกรีหนึ่ง เท่านั้น

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จะอยู่ในรูป

Ax + B = 0   เมื่อ A ≠ 0 และ a , b เป็นค่าคงที่มี x เป็นตัวแปร

หลักในการทำโจทย์

 

ให้เป็นผลสำเร็จโดยการจัดรูปให้ตัวแปรและค่าคงที่อยู่คนละข้างกัน

 

ข้อควรระวัง ถ้าต้องการถอดวงเล็บ ( ) , [ ] ควรถอดทีละวงเล็บและควรระวัง เครื่องหมายลบหน้าวงเล็บ เวลาที่ต้องถอดวงเล็บให้กระจายเครื่องหมายลบเข้าไปในทุกจำนวนด้วย

คุณกำลังมองหาข้อมูล บทความ ความรู้ในหัวข้อ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บน Google คุณไม่พบข้อมูลที่ต้องการ! ต่อไปนี้คือเนื้อหาที่ดีที่สุดที่รวบรวมและเรียบเรียงโดยทีม onthihsg.com พร้อมกับหัวข้อที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น:

อสมการเชิงเส้น ตัวแปร เดียว ในชีวิต ประ จํา วัน

Related Articles

  • Top 10 อสูร และ โฉมงาม

    6 phút ago

  • Top 14 อวัยวเพศหญิง

    14 phút ago

  • Top 10 อสุจิ รูปร่าง ผิด ปกติ แก้ไข อย่างไร

    22 phút ago

รูปภาพสำหรับคำหลัก: อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

บทความยอดนิยมเกี่ยวกับ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

1. อสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว สรุปแบบเป็นภาพ – ครูเฟิร์ส THE GURU …

  • ผู้เขียนบทความ: www.thegurufirst.com

  • รีวิวจากผู้ใช้งาน 4 ⭐ (31189 คะแนน)

  • ระดับสูง: 4 ⭐

  • คะแนนต่ำสุด: 2 ⭐

  • สรุปเนื้อหาบทความ: บทความเกี่ยวกับ 1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว – SlideShare 1. 1.2 คำตอบของอสมกำรเชิงเส้นตัวแปรเดียว เนื่องจากอสมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มีตัวแปรก็ได้สาหรับอสมการที่ไม่มีตัวแปรเราสามารถ บอกได้ว่าอสมการนั้นเป็นอสมการที่เป็น …

    จากประสบการณ์การสอนคณิตศาสตร์ที่สั่งสมมาไม่น้อยของ krunam พบว่า ลูกศิษย์ของตนส่วนมากจะมีปัญหาทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์  โดยเฉพาะ เรื่อง สมการและการแก้สมการ ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานของการนำไปประยุกต์ใช้ในเรื่องการเรียนและในชีวิตประจำวัน   ดังนั้นก่อนที่ krunam จะทำการสอนเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่ลูกศิษย์กลุ่มใด ๆก็ตาม  ในครั้งแรกของการสอนจะทำการสำรวจความพร้อมและประสบการณ์พื้นฐานทางความคิดคณิตศาสตร์ของลูกศิษย์ในเรื่องของการสมการและการแก้สมการ โดยเฉพาะสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  และสมการกำลังสองตัวแปรเดี่ยว แล้วดำเนินการปรับความรู้พื้นฐานให้แก่ลูกศิษย์ โดยใช้หลักเกณฑ์ง่าย ๆ ด้วยการยึดหลักการทำภาระกิจในชีวิตประจำวันของผู้เรียน  คือ

    1.  มองรูปสมการให้ได้ว่าเป็นสมการรูปแบบใด  เชิงเส้น  หรือกำลังสอง

    2.  หาตัวแปรให้เจอ   แล้วคิดว่าตัวแปรคือ ตัวของเรา

    3.  หาค่าตัวแปร โดยใช้หลักง่าย ๆ ดังนี้ (คิดเรื่องการเดินทาง หรือ การแต่งตัว)

    3.1  ถ้าเป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  วิธีการ คือ  ให้อ่านโจทย์ว่าตัวแปรที่เห็นนั้นทำอะไรกับจำนวนใดบ้าง เช่น  บวก  หรือ ลบ  หรือ  คูณ  หรือ  หาร  แล้วให้เขียนผังการกระทำของตัวแปรกับจำนวนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ยึดหลักการเดินทางการออกจากบ้านและกลับบ้านของเรานั่นเอง  ถ้าเราออกจากบ้านได้เราก็ต้องกลับบ้านได้  คำว่า "กลับ" คือการกระทำที่ตรงกันข้ามกับการกระทำที่เราทำไป  ดังนั้น เราจึงสามารถเปรียบเทียบเครื่องหมายพีชคณิตทางคณิตศาสตร์ได้  คือ  ถ้า  +  ตรงข้าม คือ  -   และ  ถ้า  x  ตรงข้าม คือ  ÷   เป็นต้น 

    ตัวอย่างเช่น     จงแก้สมการ     3x + 5  =  14 

          ผังความคิด         x → ×3  →  + 5  =   14                                                        

          (อ่าน ว่า  เอ็กซ์ คูณด้วย สาม แล้ว บวกด้วยห้า มีค่าเท่ากับ  สิบสี่ )

          ดังนั้นเราจะหาค่าตัวแปร  x   เราต้องเริ่มที่  คำตอบ  คือ  14  แล้วเดินทางกลับด้วยการใช้เครื่องหมายตรงข้าม

    14 → - 5 →  ÷ 3    =   x  (สิบสี่ไปลบด้วยห้า แล้วหารด้วย สาม มีค่าเท่ากับเอ็กซ์)

    นั่นคือ     x    =   ( 14 - 5) ÷ 3   =   3            ซึ่งเป็นคำตอบของสมการนั่นเอง...

    จะเห็นว่าการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเป็นเรื่องที่ง่ายมาก ๆ เพียงแต่เรารู้จักเขียนผังความคิดหรือการอ่านให้ได้เท่านั้น การหาค่าตัวแปรก็เพียงแต่การเดินทางย้อนศร โดยใช้เครื่องหมายตรงข้ามกับที่โจทย์กำหนดให้เท่านั้นเราก็จะได้คำตอบที่ถูกต้อง ด้วยสมองอันน้อยนิดของเราโดยไม่ต้องใช้เครื่องทุนแรง(เครื่องคิดคำนวณ) หรือ แทบไม่ต้องทดลงในกระดาษ ไม่เชื่อก็ลองหาโจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  แล้วลงมือกระทำอย่างที่  krunam บอกคำตอบก็อยู่แค่เอื้อม  ต่อไปเรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวซึ่งเป็นพื้นฐานของการแก้สมการอื่น ๆ ก็จะเป็นเรื่องง่ายสำหรับท่านแล้ว  ฝึกทำบ่อย ๆ (ทฤษฎีของการฝึก) เราก็สามารถคิดหาคำตอบในใจได้ ...!

    ถ้าหากว่าใครมีวิธีการที่แก้สมการที่ง่ายกว่านี้ช่วยเผยแพร่แนวความคิดให้ krunam ทราบด้วยนะจ๊ะ

    การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โดยวิธีการแยกตัวประกอบ

    รูปแบบที่นิยมใช้ทั่วไป  คือ   ax2  + bx  + c  =  0

    เมื่อ    a ,  b , c   เป็นจำนวนจริงใด ๆ  ( ในที่นี้เราสมมุตว่าเป็นจำนวนเต็มก่อน)

    ในการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โดยวิธีการแยกตัวประกอบนั้น ถ้าคิดให้สนุกเราก็นึกเสียว่าเรากำลังออกกำลังกายในท่ายืดแขนยืดขาหรือปรับความสมดุลย์ของร่างกายของตัวเอง ถ้าทำถูกวิธีก็จะไม่เกิดความเจ็บปวด หรือเกิดอันตราย   ดังนั้นเราจะดูวิธีการแยกตัวประกอบของสัมประสิทธิ์หน้าตัวแปร x2  คือ  a  และ ค่าคงที่  c  พร้อมดูวิธีการจับคู่ด้วยการตรวจสอบความถูกต้องของค่า  b  ซึ่งเป็นสัมประสิทธิ์ของตัวแปร x  หรือพจน์กลางดังนี้