การออกแบบรูปภาพและสัญลักษณ์

ที่เป็นภาพสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายภาพ เป็นสื่อที่มีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวัน ถ้าเรามองไปรอบ ๆ ตัวจะเห็นสื่อที่เป็นเครื่องหมายภาพปรากฏอยู่ทั่วไป

การนำหลักทฤษฎีมาประยุกต์ในการออกแบบสื่อสัญลักษณ์

การออกแบบสัญลักษณ์
นักออกแบบจะต้องใช้ความรู้ความสามารถอย่างยิ่งในการวิเคราะห์เนื้อหาของสารที่จะต้องการสื่อความหมาย และสังเคราะห์ให้เป็นรูปลักษณ์ที่ใช้เป็นสิ่งแทนอันสามารถจะบอกได้ถึงความหมาย ทั้งยังต้องใช้ความสามารถในการเขียนภาพ หรือผลิตภาพสัญลักษณ์ให้ประณีตคมชัด เพื่อสื่อความหมายได้ถูกต้องชัดเจน
ในการออกแบบสัญลักษณ์ นักออกแบบจะมีแหล่งบันดาลใจสำคัญ 2 ประการคือ
1.จากธรรมชาติสิ่งแวดล้อม (Natural Form) ได้แก่ ภาพดอกไม้ ใบไม้ ภูเขา ทะเล สัตว์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ฯลฯ จัดเป็นสัญลักษณ์ที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Symbol)
2.จากรูปแบบที่มนุษย์สร้าง (Manmade Form) ได้แก่ อาคารบ้านเรือน เครื่องใช้ สิ่งของต่าง ๆ เรียกว่า

สัญลักษณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น (Conventional Symbol)
นอกจากนี้การออกแบบสัญลักษณ์ให้บรรลุเป้าหมาย นักออกแบบควรคำนึงถึงหลักสำคัญ 3 ประการคือ
1.ความงามของสัญลักษณ์ จะต้องเกี่ยวโยงกับสุนทรียภาพ (Aesthetic Form) คือความงดงามของรูปแบบของสัญลักษณ์ไม่ว่าจะเป็น Representation หรือ Abstract ก็ตาม
2.ต้องเหมาะสมกับกาลเวลาทุกยุคทุกสมัย ควรหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นความนิยมชั่วคราว
3.ต้องนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายประการ สามารถลอกเลียนด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การย่อหรือขยายได้

จากการพิจารณาถึงสื่อสัญลักษณ์ที่มีอยู่ทั่วไปแล้ว เราพอจะแยกประเภทตามลักษณะเฉพาะ อาจแบ่งได้เป็น
1. ภาพเครื่องหมายจราจร เป็นกติกาสากลซึ่งเข้าใจร่วมกันทั่วไป เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยานพาหนะ เครื่องหมายภาพจราจรจะแสดงถึงสัญลักษณ์การใช้รถใช้ถนนในลักษณะต่าง ๆ กัน การออกแบบจะเน้นความชัดเจนของการสื่อความหมาย เข้าใจง่าย สีสันสะดุดตา
2.เครื่องหมายสถาบัน สมาคม และกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งกำหนดรูปแบบเพื่อแทนหรือเป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงานนั้น ๆ
3.เครื่องหมายบริษัท สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่น กระตุ้นความน่าสนใจในบริษัทการค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ และยังเป็นการเน้นถึงคุณภาพที่น่าเชื่อถือด้วยรูปลักษณ์ของเครื่องหมายที่ปรากฏ
4.ภาพเครื่องหมายสถานที่ เป็นเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์สถานที่ต่าง ๆ ที่แสดงให้เข้าใจร่วมกันได้โดยไม่ต้องใช้ตัวหนังสือหรือข้อความ ซึ่งบางครั้งอาจสื่อได้ยากกว่าการใช้สัญลักษณ์ เช่น โรงพยาบาล สนามบิน สถานีรถไฟ ห้องน้ำ
5.ภาพเครื่องหมายกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การกีฬา การก่อสร้าง การประชุม
6.เครื่องหมายที่ใช้ในการออกแบบ เขียนแบบ เป็นเครื่องหมายภาพที่ใช้สื่อความหมายร่วมกันระหว่างผู้ออกแบบเขียนแบบแปลน และผู้อ่านแบบหรือบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้อง

ลักษณะของสัญลักษณ์ดังกล่าวแบ่งตามลักษณะของประเภทหรือเครื่องหมาย แต่ถ้าเราพิจารณาถึงการออกแบบสัญลักษณ์ต่าง ๆ ทุกลักษณะ อาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะและวิธีการออกแบบได้ 3 ประเภท คือ
1.ลักษณะแบบตัวอักษร (Letter marks) ได้แก่ การออกแบบสัญลักษณ์โดยอาศัยรูปแบบตัวอักษรมาประดิษฐ์จัดวางให้สวยงาม ชัดเจน การออกแบบอาจจะใช้เฉพาะตัวอักษรหรือคำย่อของหน่วยงาน บริษัทหรือสถาบันองค์การต่าง ๆ มาใช้
2.ลักษณะแบบภาพ (Pictograph) คือ การออกแบบสัญลักษณ์โดยใช้รูปภาพเป็นแนวคิดในการออกแบบ ภาพอาจเป็นการแสดงทิศทาง กิจกรรม การกระทำ หรือภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ
3.ลักษณะแบบผสมผสาน (Combination Marks) คือการออกแบบภาพสัญลักษณ์ โดยนำเอารูปแบบตัวอักษรกับรูปภาพมาประกอบกันในการออกแบบอย่างสัมพันธ์กันและเหมาะสม

แนวคิดในการออกแบบ
ในการออกแบบสัญลักษณ์ ควรจะยึดหลักกว้าง ๆ เพื่อเป็นแนวคิด ดังนี้
1.แนวคิดเกี่ยวกับความงาม
2.แนวคิดเกี่ยวกับความหมาย
3.แนวคิดในการสร้างความเด่นและน่าสนใจ
4. ความเหมาะสมในการออกแบบและการใช้งาน

วิธีการออกแบบสัญลักษณ์
สัญลักษณ์ในทุกลักษณะที่ทำการออกแบบ ผู้ออกแบบควรจะพิจารณาให้ชัดเจนก่อนว่างานออกแบบนั้นมีวัตถุประสงค์อย่างไร ทั้งนี้เพื่อให้ผลงานออกแบบสามารถสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้โดยง่าย มีความชัดเจน สามารถดึงดูดความสนใจได้ดี ภาพเครื่องหมายสามารถนำไปใช้งานได้หลายลักษณะ มีรูปแบบที่น่าเชื่อถือ เกิดจากความเชื่อมั่นและยอมรับ มีความเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ ผู้ออกแบบจะละเลยไม่ได้

ขั้นตอนการออกแบบ
1.ศึกษารวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเป็นแนวคิดในการออกแบบ
2.กำหนดแนวคิดหลักโดยใช้ข้อมูลเบื้องต้นเป็นบรรทัดฐาน
3.เลือกหาสิ่งดลใจในการออกแบบ อาจเป็นรูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ หรือสิ่งในธรรมชาติ
4.กำหนดรูปร่างภายนอก
5.ร่างภาพเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมโดยการร่างไว้หลาย ๆ แบบ
6.ลดทอนรายละเอียด
7.ร่างแบบเขียนสี
8.เขียนแบบจริง

ในความเป็นจริง เราพบเห็นสัญลักษณ์ที่มีผู้ออกแบบไว้แล้ว และมีการนำมาใช้อยู่โดยทั่วไป ซึ่งเราอาจนำภาพสัญลักษณ์เหล่านั้นมาใช้หรือประยุกต์ หรือเป็นแนวทางในการออกแบบสร้างภาพสัญลักษณ์ เพื่อสื่อความหมายในการเรียนการสอนได้ สัญลักษณ์ที่นำมาใช้อาจเป็นรูปภาพ ตัวหนังสือ ตัวเลข และเครื่องหมายต่าง ๆ เรานำมาใช้ได้ทุกเนื้อหาวิชา ให้เหมาะสมและสามารถสื่อความหมายได้ตรงจุดประสงค์ที่สุด

ที่มา​​​​​​ : “​​​​​​เทคนิคการออกแบบกราฟิก” ​​​​​​พงษ์ศักดิ์​​​​​​ ​​​​​​ไชยทิพย์

keyword : การออกแบบเครื่องหมายและสัญลักษณ์,การออกแบบเครื่องหมาย,การออกแบบสัญลักษณ์,การออกแบบโลโก้,โลโก้

๑. การออกแบบรูปภาพ กระบวนการฝึ กให้รู้จกั สังเกต การแกป้ ัญหา และการวางแผน เพ่ือเลือกทศั นธาตุมาใช้ ในการ ออกแบบ ซ่ึงธรรมชาติท่ีอยรู่ อบตวั จะเป็นแหล่งความรู้ท่ีกวา้ งใหญ่ อนั เป็นท่ีมาของแนวคิด รูปแบบ สาหรับนามาดดั แปลง ตดั ทอนให้เกิดรูปแบบใหม่ๆ ตามท่ีตอ้ งการบนพ้ืนฐานเดิมท่ีตอ้ งการจะสื่อ ความหมาย ผสู้ ร้างงานจึงควรศึกษาองคป์ ระกอบในการออกแบบรูปภาพให้เขา้ ใจ เพ่ือจะได้นามา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสร้างผลงานใหม้ ีความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล

๑.๑ การออกแบบรูปภาพดว้ ยจุด จุด เป็ นองคป์ ระกอบหน่ึงของทศั นธาตุที่สามารถนามาสร้างภาพไดใ้ นทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นภาพ คน ส่ิงของ ทิวทศั น์ หรือเป็นภาพจากจินตนาการ โดยมีวธิ ีการสร้างภาพดว้ ยจดุ แบบงา่ ยๆ คือ ๑. ออกแบบชิ้นงานที่จะ สร้าง โดยการร่างภาพก่อน ๒. กาหนดแสงเงา ๓. ใช้ปากกาปลายสักหลาด หรือปากกาเขียนแบบจุดลงบนภาพ ท่ีร่างไว้ ส่วนใดมีน้าหนกั ความเขม้ ม า ก ก็ จุ ด ทับ ซ้ อ น กัน ห ล า ย ค ร้ ั ง ถา้ ตอ้ งการให้มีแสงมากก็จุดห่างๆ ถ้าแสงสว่างจัดๆ ให้ปล่อยขาว ส่วนท่ีเป็ นน้าหนักขนาดกลางให้ จุดพอประมาณ เพือ่ ใหเ้ กิดความลึก ต้ืน หรือมืดสวา่ งตามท่ีตอ้ งการ

๑.๒ การออกแบบรูปภาพดว้ ยเสน้ เส้น มีหลายลกั ษณะและทา ให้เกิดความรู้สึกท่ีหลากหลาย การขีดเส้นในลักษณะต่างๆ เ ม่ื อ น า ไ ป ส ร้ า ง อ ยู่ ใ น องค์ประกอบท่ีเหมาะสม จะ ก่ อ เ กิ ด จิ น ต น า ก า ร ไ ม่ มี ที่ สิ้นสุด การออกแบบรูปภาพ ด้วยเส้นจึงควรมีการฝึ กฝน เพ่ือให้เกิดความเคยชิน เม่ือสามารถร่ างเส้นจน ชานาญแล้ว จะพบ ว่าการร่ าง เส้นเพียงเส้นเดียวสามารถสื่ อ ความหมายต่างๆ ไดม้ ากมาย

การออกแบบรูปภาพดว้ ยเส้น ควรเลือกใช้เส้นตรงแนวต้งั และแนวนอน นามาจดั วางให้มีช่องวา่ งถ่ี และห่างดูเหมาะสม จะทาใหเ้ กิดมิติของการเคล่ือนไหว ข้นั ที่ ๑ ข้นั ที่ ๒ ข้นั ท่ี ๓ ลากเส้นต้งั จดั ระยะของเส้น ลากเส้นนอน จดั ระยะของเส้น ระ บ าย สี สลับ ข า ว แ ล ะ ด า ให้มีความถี่และห่างตาม ให้มีความถ่ีและห่างตาม (คู่สีตรงขา้ มอ่ืนๆ) จนผลงาน ความเหมาะสม ความเหมาะสม สาเร็จ

นอกจากการใชเ้ สน้ แนวต้งั และแนวนอนแลว้ ยงั สามารถใชเ้ สน้ ลกั ษณะอื่นๆ มาสร้างภาพได้ ดว้ ยเทคนิคที่หลากหลาย ดงั ภาพ เสน้ แต่ละแบบจะให้ความรู้สึกท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปตามจินตนาการของผอู้ อกแบบวา่ จะนาเส้น แต่ละแบบมาประกอบกนั เป็นองคป์ ระกอบที่ให้ความรู้สึกลกั ษณะใด นอกจากน้ี เส้นยงั สามารถนามา ประกอบกนั เป็ นรูปร่าง รูปทรง และเสริมภาพที่สร้างข้ึนดว้ ยการใช้ทศั นธาตุให้มีความสมบูรณ์มาก ยงิ่ ข้ึน

ในระดบั ช้นั น้ีจะนาเสนอตวั อยา่ งการออกแบบรูปภาพตน้ ไม้ สิ่งของ คน และสตั วอ์ ยา่ งงา่ ยๆ ดงั น้ี การออกแบบภาพตน้ ไม้ ข้นั ท่ี ๑ ใชว้ งกลมเป็ นตวั กาหนดภาพตน้ ไม้ ข้นั ที่ ๒ จากวงกลมเรียบๆ ธรรมดา ก็เพิม่ ในส่วนที่ตอ้ งการ เช่น • ใชเ้ ส้นโคง้ มาเป็ นตวั กาหนดลกั ษณะพมุ่ ของตน้ ไม้ • สร้างทรงพมุ่ ให้มีใบละเอียดซบั ซอ้ น ใชร้ ูปใบท่ีมีลกั ษณะเป็นรูปหอกมาจดั วางทบั ซอ้ นกนั • สร้างทรงพมุ่ ดว้ ยวงกลมขนาดเล็กและใหญ่พอประมาณมาวางทบั ซอ้ นกนั • สร้างลกั ษณะพุ่มเป็ นรูปทรงอิสระ ตกแต่งเสริมด้วยจุดและองค์ประกอบอ่ืนๆ เพ่ือความ สวยงาม

วิธี การข้างต้นเป็ นการออกแบบโดยการ เลียนแบบธรรมชาติ คือ การนาเอารูปทิวทัศน์ และรูปทรงของธรรมชาติเป็ นต้นแบบ แล้ววาด ออกมาเป็ นภาพดว้ ยการใช้เส้นลกั ษณะต่างๆ โดย ตดั รายละเอียดออกเหลือไวแ้ ต่ลักษณะเด่นของ โครงสร้าง

การออกแบบภาพคน ใ ช้ห ลัก ก า ร เ ดี ย ว กันกับ ก า ร ออกแบบภาพตน้ ไม้ คือ สังเกตจาก ลกั ษณะจริงตามธรรมชาติ แลว้ นามา ตัดทอนรายละเอียดต่างๆ ตกแต่ง เพ่ิมเติม และจดั องค์ประกอบให้เกิด ความงาม การออกแบบภาพคน โดยใชว้ ิธีตดั ทอนน้นั คือ การนาส่วน ที่ไม่จาเป็ นตอ้ งใชอ้ อกให้หมด เหลือ ไวแ้ ต่ส่วนท่ีตอ้ งการส่ือความหมาย เท่าน้นั ดงั ภาพ

การออกแบบภาพสตั ว์ ตวั อยา่ งข้นั ตอนการออกแบบภาพนก มีดงั น้ี ข้นั ท่ี ๑ ใชเ้ ส้นโคง้ เป็นเส้นหลกั ข้นั ที่ ๒ เส้นโคง้ รูปวงกลมเป็ นหวั นก รูปร่างสามเหล่ียม เป็นปี ก และรูปร่างสี่เหล่ียมดา้ นไมเ่ ท่าเป็นหาง ข้นั ท่ี ๓ ตกแต่งรายละเอียดดว้ ยเส้นลกั ษณะต่างๆ และจดุ

ในกรณีเดียวกนั การออกแบบรูปภาพสตั วช์ นิดอ่ืนๆ กส็ ามารถใชว้ ิธีการดดั แปลง ตดั ทอนรายละเอียดที่เหมือน จริงตามธรรมชาติออก และพฒั นาให้ไดร้ ูปร่าง รูปทรงท่ี สวยงาม และสามารถสื่อใหร้ ู้ไดว้ า่ เป็ นภาพอะไรดงั ภาพ

การออกแบบภาพสิ่งของ การนาเส้น จุด รูปร่าง รูปทรงตา่ งๆ มาใชอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยสงั เกตจากรูปร่าง รูปทรงท่ีนามาใช้วา่ มี ความสอดคลอ้ งและใกลเ้ คียงกบั สิ่งท่ีตอ้ งการจะวาดหรือไม่ ตวั อยา่ งข้นั ตอนการออกแบบภาพรถยนต์ มีดงั น้ี ข้นั ท่ี ๑ เร่ิมจากใชร้ ูปร่างเรขาคณิต จดั วางให้ไดร้ ูปแบบที่ตอ้ งการ ข้นั ที่ ๒ ใส่รายละเอียดต่างๆ ของรถใหช้ ดั เจน

ในทานองเดียวกนั เราสามารถใชว้ ธิ ีเลียนแบบจากส่ิงของที่เป็นจริง แลว้ นามาตดั ทอนรายละเอียด ใหเ้ หลือแต่โครงสร้างโดยรวมก็ได้ กน็ บั เป็นการออกแบบอีกวธิ ีหน่ึง ดงั ภาพ

๒. การออกแบบสญั ลกั ษณ์ สัญลักษณ์ คือ ส่ิงที่นักออกแบบได้ ออกแบบข้ึนมา เพ่ือสื่อความหมายให้ เข้าใจร่วมกันในสังคม เพื่อการปฏิบัติ ร่ วมกัน เพ่ือสร้างความเป็ นระเบียบ เรี ยบร้อย และความเป็ นอันหน่ึงอัน- เดียวกนั ในการทาความเขา้ ใจ ก ารออก แ บบจ ะ ถู ก สร้ างข้ึ นใ น ลกั ษณะตา่ งๆ ซ่ึงรูปแบบอาจจะไดม้ าจาก ธรรมชาติ หรือรูปแบบของสิ่งที่มนุษย์ ส ร้ า ง ข้ึ น ม า ใ ห ม่ ป ร ะ ก า ร ส า คัญ คือ สามารถทาให้ผู้ท่ีพบเห็นได้เข้าใจ ตรงกัน โดยไม่จาเป็ นต้องมีคาบรรยาย ประกอบ

ประเภทของสญั ลกั ษณ์ สญั ลกั ษณ์ แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ ดงั น้ี ๑) เคร่ืองหมายจราจร เป็ นสญั ลกั ษณ์ที่ออกแบบข้ึนมาเพ่ือเป็ นกฎ หรือกติกาในสงั คมท่ีเป็ นสากล ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีใชร้ ่วมกนั ทวั่ โลก เพอ่ื ความสะดวกและปลอดภยั ในการใชร้ ถใชถ้ นน

๒) เครื่องหมายของสถาบนั สมาคม มูลนิธิ หรือกลุ่มกิจกรรม เคร่ืองหมายของสถาบนั สมาคมมูลนิธิ และกลุ่มกิจกรรมต่างๆ ในสังคม เป็ นการสื่อความหมาย เพ่ือให้รับรู้ว่ากิจกรรม หรือสิ่งที่ปรากฏน้ันเป็ นของหน่วยงาน หรือองค์กรใด โดยใช้สัญลกั ษณ์ที่มี รูปแบบชดั เจนและมีการออกแบบใหง้ า่ ยตอ่ การจดจาและทาความเขา้ ใจไดง้ ่าย

๓) เครื่องหมายบริษทั เคร่ืองหมายสินคา้ หรือผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ ในด้านธุรกิจท่ีเป็ นบริษทั ผลิตภณั ฑ์เพ่ือการอุปโภคบริโภคต่างๆ จาเป็ นตอ้ งมีสัญลักษณ์ เพื่อให้ ผูบ้ ริโภคจดจาและเกิดความมน่ั ใจในส่ิงของน้นั ๆ วา่ มีหลกั ประกนั คุณภาพตรงกบั ความตอ้ งการของตน ไมป่ ลอมแปลง มีตราเคร่ืองหมายยนื ยนั มีผรู้ ับผดิ ชอบที่ชดั เจนตามกฎหมาย

๔) เครื่องหมายสถานท่ี เป็ นสัญลกั ษณ์แสดงสถานที่ต่างๆ เช่น โรงเรี ยน โรงพยาบาล ห้องอาหารสุขา เป็นตน้ ใชใ้ นการสื่อความหมายแทนให้ผู้ พบเห็นเกิดความเขา้ ใจร่วมกนั เพื่อให้ผพู้ บ เ ห็ น ภ า พ สัญ ลัก ษ ณ์ รู้ แ ล ะ เ ข้า ใ จ ไ ด้ทั น ที โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งเขียนขอ้ ความอธิบาย

๕) เคร่ืองหมายแสดงกิจกรรม เป็นสญั ลกั ษณ์ที่แสดงให้เห็นวา่ ขณะที่เรากาลงั อยู่ หรือกาลงั เดินทางผา่ นมีกิจกรรมอะไร ซ่ึงอาจจะ ตอ้ งระมดั ระวงั อนั ตราย หรือเขา้ ร่วมเขา้ ชมกิจกรรมน้นั ๆ ให้ผพู้ บเห็นไดเ้ ขา้ ใจร่วมกนั และปฏิบตั ิตน หรือดาเนินการใดๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

แนวทางการออกแบบสญั ลกั ษณ์ การออกแบบสัญลกั ษณ์ เริ่มตน้ จากการทาความเขา้ ใจวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่ตอ้ งการส่ือความหมายให้ เขา้ ใจร่วมกนั แล้วแปรออกมาเป็ นแบบสัญลักษณ์ที่สมบูรณ์ เมื่อดูแล้วเกิดความเขา้ ใจได้ตรงกนั รูปร่าง รูปทรงท่ีแสดงเน้ือหาในสัญลกั ษณ์ส่วนมาก จะใช้เคา้ โครงจากสิ่งที่ตอ้ งการส่ือความหมาย การออกแบบสญั ลกั ษณ์จึงนิยมใชร้ ูปทรงที่ดูเรียบงา่ ย ใชส้ ีท่ีเห็นเด่นชดั และส่ือความหมายไดท้ นั ที

รูปแบบพ้ืนฐานท่ีมกั จะนามาใชใ้ นการออกแบบ สญั ลกั ษณ์ มี ๓ รูปแบบ คือ ๑. รูปแบบจากธรรมชาติ เช่น คน สตั ว์ พชื ส่ิงของต่างๆ เป็นตน้ ที่นามาดดั แปลงใหเ้ ป็นรูปแบบที่ดูงา่ ยข้ึน

๒. รูปแบบเรขาคณติ เช่น วงกลม สามเหล่ียม ส่ี เหลี่ยม ฯลฯ ที่ผู้ออกแบบนามาดัดแ ปลง หรื อจัดองค์ประกอบให้เป็ นสัญลักษณ์ท่ีส่ือ ความหมายตามท่ีตอ้ งการ

๓. รู ปแ บบตั วอักษร แ ละ ตั วเลข ถูกนามาออกแบบให้เกิดเป็ นรูปทรงใหม่ โ ด ย ไ ม่ มี รู ป แ บ บ จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ หรื อรู ปแบบเรขาคณิ ตท่ีเกี่ยวข้องก็ สามารถทาได้อย่างสวยงามและส่ื อ ความหมายไดส้ มบูรณ์

แนวทางปฏิบตั ิอยา่ งง่ายในการออกแบบสญั ลกั ษณ์ ๑. นาสิ่งที่เป็ นตน้ แบบมาดดั แปลงและตดั ทอนรายละเอียดสร้างรูปแบบใหม่ให้ดูเรียบง่าย สามารถสื่อความหมายไดต้ รงตามวตั ถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการ ๒. การดดั แปลงรูปแบบให้เรียบง่ายน้นั ตอ้ งคงไวซ้ ่ึงโครงสร้างของตน้ แบบในส่วนที่สาคญั ๓. การใชส้ ีในสญั ลกั ษณ์ไมค่ วรใชเ้ กิน ๓ สี

วิธีการออกแบบสญั ลกั ษณ์ เลือกแนวคดิ ร่างรูปแบบ จุดมุ่งหมายในการออกแบบ คิดรูปร่างที่จะนามาใชใ้ นการ สญั ลกั ษณ์ ออกแบบ ประเภทของสญั ลกั ษณ์ ร่างภาพลงในรูปร่างท่ีเลือก จะนาเสนอสิ่งใด ลงสี

๓. การออกแบบงานกราฟิ ก ศิลปะทางส่ิงพิมพ์ (Graphic Art) เป็ นส่ิ งหน่ึ งท่ีมีความ เก่ียวขอ้ งกบั ชีวิตของมนุษยอ์ ยา่ ง แยกไม่ออก เมื่อมองเห็นสิ่งพิมพ์ ชิ้ นใ ด ชิ้ นห น่ึ งเ ป็ นค ร้ั งแ รก แล้วเกิดความประทับใจ ก็เกิด จากความงามของส่ิ งพิมพ์ท่ี ไดร้ ับการออกแบบมาแลว้

ผลงานศิลปะเก่ียวกับส่ิ งพิมพ์ท่ีมี ความสมบูรณ์น้ันจะเริ่ มจากการสร้าง แนวคิดและร่างแนวคิดออกมาเป็ นภาพ หรือเป็ นตวั อกั ษรต่างๆ พร้อมท้งั ออกแบบ การจดั วางให้ถูกต้อง เพ่ือให้เกิดความลง ตัวอย่างสร้างสรรค์ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์

ความหมายของกราฟิ ก กราฟิ ก (Graphic) หมายถึง งานท่ีรวบรวม กระบวนการพิมพท์ ุกแขนง ท้งั ที่เป็ นการพิมพข์ อง สื่อสิ่งพิมพท์ ่ีใช้ในดา้ นการพาณิชย์ และยงั รวมถึง การพิมพท์ างด้านวิจิตรศิลป์ การพิมพ์ท่ีใช้ในการ ผลิตหนงั สือ และผลงานศิลปะตา่ งๆ

การออกแบบงานกราฟิ ก เป็ นการออกแบบเพ่ือการเผยแพร่ ชกั ชวน เรียกร้อง หรือเสนอแนวคิด ต่างๆ เป็ นการออกแบบในลกั ษณะของหนงั สือ ส่ือโฆษณา เคร่ืองหมาย สญั ลกั ษณ์ บรรจุภณั ฑ์ ฯลฯ ซ่ึงเป็นงานออกแบบเกี่ยวกบั การพิมพต์ ่างๆ ในลกั ษณะของสิ่งพมิ พ์

ความสาคญั ของการออกแบบกราฟิ กเบ้ืองตน้ การออกแบบกราฟิ ก การผลิตสื่อท่ีเป็นส่ิงพมิ พ์ มีส่วนช่วยในการเสริมสร้างการรับรู้และการส่ือสาร ของมนุษย์ ในการสื่อความหมาย การเผยแพร่ข่าวสาร ความรู้สึกนึกคิดด้วยลายเส้น สี ภาพวาด และตวั อกั ษร มีความสาคญั ท่ีพอจะสรุปได้ ดงั น้ี ๑) เป็นสญั ลกั ษณ์ของขอ้ ตกลงในสงั คม ๒) ช่วยเสริมสร้างจดุ เด่น จุดสนใจ ของขา่ วสารขอ้ มลู ๓) ช่วยทาให้ธุรกิจส่ือส่ิงพิมพข์ ยายตวั

ส่วนประกอบการออกแบบกราฟิ กเบ้ืองตน้ ส่วนประกอบสาคญั ในงานออกแบบงาน จะประกอบไปดว้ ยตัวอักษรและภาพท่นี ามาประกอบ ซ่ึงเป็นส่วนที่ตอ้ งใชใ้ นการออกแบบจดั วางให้มีความสมบูรณ์ลงตวั ในดา้ นความงาม และสามารถสร้าง ความเขา้ ใจใหก้ บั ผพู้ บเห็นไดช้ ดั เจนมากยง่ิ ข้ึน

การออกแบบกราฟิ กดว้ ยคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ เป็ นเคร่ืองมือสาคญั ของการทางานประเภทต่างๆ รวมท้งั การออกแบบสื่ อส่ิ งพิมพ์ การนา คอมพิวเตอร์มาใช้น้นั ตอ้ งรู้จกั เลือก โปรแกรมที่เหมาะสมกับประเภท ข องงาน ม าติ ด ต้ังใ ส่ ใ น ระ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ง า น ออกแบบกราฟิ ก นกั ออกแบบจะตอ้ ง เลือกโปรแกรมการทางานท่ีช่วยให้ งานดาเนินไปได้รวดเร็ว สวยงาม ประณีต และสามารถเก็บขอ้ มูลเดิม เพื่อเรียกกลบั มาแกไ้ ข ปรับปรุง หรือเพิม่ เติมไดท้ กุ คร้ังที่ตอ้ งการ

ตวั อยา่ งโปรแกรม Photoshop ท่ีใชใ้ นการสร้างภาพ

ตวั อยา่ งโปรแกรมลายเส้น สาหรับใชใ้ นการออกแบบ

ตวั อยา่ งหนา้ จอโปรแกรม Photoshop น อก จา ก น้ี ยังต้อง มี ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลักของการออกแบบมา ป ร ะ ยุ ก ต์ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ส ว ย ง า ม ท า ง ศิ ล ป ะ แล ะ นาไป สู่ ผล งาน ก าร ออกแบบที่สามารถสื่อสาร ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ การนา ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ม า ใ ช้ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ก ร า ฟิ ก ต้ อ ง คานึ งถึ งส่ วนสาคัญ คื อ โปรแ ก รมสร้ าง ก ราฟิ ก วิธี สร้ า งภ าพ แ ล ะ แ บ บ ตวั อกั ษร

การออกแบบกราฟิ กดว้ ยคอมพิวเตอร์ งานออกแบบกราฟิ ก หรื อออกแบบ สิ่งพมิ พท์ ่ีตอ้ งผา่ นกระบวนการพิมพห์ ลงั จากการ ออกแบบเป็ นผลงานที่เราสามารถพบเห็นได้ มากมายในชีวติ ประจาวนั ดงั น้ี ๑) การออกแบบปกหนงั สือ ๑.๑) สอดคลอ้ งกบั ประเภทของหนงั สือ ๑.๒) เสริมสร้างลกั ษณะเด่นของหนงั สือ ๑.๓) สร้างสรรคง์ านออกแบบ

๒) การออกแบบโปสเตอร์ ภาพโปสเตอร์ คื อ ภาพ ศิ ล ปะ ที่ ส ามารถ สื่ อสารบอ ก รายละเอียดให้ผูพ้ บเห็นเข้าใจ ความหมายได้ในระยะเวลา ส้ันๆ เปรี ยบเทียบได้กับภาพ โฆษณาชนิดหน่ึงท่ีมีอิทธิพล ต่อผูพ้ บเห็น ได้บริโภคความรู้ ความหมาย และความสวยงาม ของโปสเตอร์ไดอ้ ยา่ งครบครัน

โปสเตอร์ท่ีจดั ไดว้ า่ มีคุณภาพ ควรมีลกั ษณะดงั น้ี ๑. คุณภาพของการออกแบบ ๒. ตวั อกั ษรที่ออกแบบจดั วาง ๓. การออกแบบสี การนาเสนอขอ้ ความ หรือรูปภาพควรนาเสนอ ในทางที่สร้างสรรค์ ไม่ควรนาเสนอในสิ่งท่ีทาให้ เกิดความรู้สึกในทางลบ เพราะผู้ชมเป็ นบุคคล ทุกเพศ ทุกวยั จึงตอ้ งระมดั ระวงั ในการออกแบบ ภาพ ไม่ใชภ้ าพท่ีสร้างความรู้สึกที่กระทบกระเทือน จิตใจ หรือปลูกฝังความรู้สึกในทางเลวร้าย ดงั น้ัน แง่มุมต่างๆ ของการออก แบบ จึง เป็ นสิ่ งท่ี ผู้อ อ ก แ บ บ ต้ อ ง ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่อสงั คมดว้ ย

ส่วนประกอบของภาพโปสเตอร์ ๑. ช่ือเร่ือง หรือหวั ขอ้ เรื่อง ๒. ส่วนขยายช่ือเรื่อง ๓. การออกแบบภาพ ๔. การเลือกใชส้ ี ๕. หน่วยงานที่จดั ทา

วธิ ีสร้างสรรคโ์ ปสเตอร์ ๑ . ศึ ก ษ า หั ว ข้อ ข อ ง ภ า พ ท่ี ก า ห น ด ๒. คิดคา หรื อข้อความ เพื่อสื่อสารให้ และวิเคราะห์เน้ื อหาที่เกี่ยวข้อง เพื่อจับ ชดั เจนตามจุดประสงค์ โดยใช้ข้อความส้ันๆ ประเดน็ สาคญั และนาไปวาดภาพประกอบ กระชบั และกระตนุ้ ความคิด ๓. ออกแบบตาแหน่งการจดั วางภาพตาม เน้ือหา โดยจัดองค์ประกอบของภาพเป็ น แนวต้งั หรือแนวนอน ท้งั น้ี ตอ้ งคานึงถึงความ เป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล ๔. ร่างภาพตามหลกั การจดั องค์ประกอบ- ๕. ระบายสี ตกแต่งภาพให้สวยงาม มีสีสัน ศิลป์ จุดเด่นอยทู่ ่ีภาพ สญั ลกั ษณ์ และตวั อกั ษร สะดุดตา เม่ือสีแหง้ แลว้ ให้ใช้สเปรยเ์ คลือบเงา แสดงขอ้ ความประกอบตวั อกั ษรที่เป็ นหัวขอ้ พ่นเคลือบบนภาพบางๆ เพื่อให้ภาพดูสดใส ของภาพ และมีความทนทานมากข้ึน

การออกแบบปกรายงานและภาพประกอบ ในการเรียนการสอนแต่ละวิชา จะตอ้ ง มีการทารายงานในการนาเสนอ เพ่ือเป็ น ห ลัก ฐ า น ข อ ง ก า ร แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม รู้ ความเขา้ ใจในการเรียนตามรายวิชาน้นั ๆ การทารายงานใ นหล ายรู ปแบบมี ค วาม จาเป็ นต้องใช้การออกแบบ โดยใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย สิ่ง สาคญั ของรายงานที่จะทาให้รายงานน้ัน สมบรู ณ์ และตรงตามจุดมุ่งหมายของการ จัดทา นอกจากเน้ือหาภายในเล่มแล้ว หน้าปกของรายงาน และภาพประกอบ ภายในเล่มก็มีส่วนสาคญั เช่นกนั

หลกั การออกแบบปกรายงานและภาพประกอบ ๑. เลือกใช้กระดาษ หรือวสั ดุทาปกที่แข็งแรง กวา่ ส่วนของเน้ือใน ๒. การออกแบบปกรายงานควรส่ือความหมาย ใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาภายในเล่ม ๓. การจดั วางตวั อกั ษร ภาพประกอบ ต้องมี ความสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาภายในเล่ม ๔. ภาพประกอบของหนา้ ปกรายงาน สามารถ ใชภ้ าพจากอินเทอร์เน็ต ภาพ Clip Art ฯลฯ