กฎและมาตรฐานทางไฟฟ้า บทที่4

88 4.1 ข้อกาํ หนดการเดนิ สายสาํ หรับระบบแรงต่าํ 4.2 การเดนิ สายเปดิ หรอื เดนิ ลอย (Open Wiring) บนวสั ดุฉนวน 4.3 การเดนิ สายในท่อรอ้ ยสาย 4.4 การเดินสายในรางเดินสาย (Wire Ways) 4.5 กลอ่ งสําหรับงานไฟฟ้า (Box) 4.6 การเดนิ สายบนผิวหรอื เดินสายเกาะผนงั (Surface Wiring) 4.7 แผงสวิตช์และแผงยอ่ ย 4.8 สรุปสาระสาํ คญั งานในระบบติดต้ังไฟฟ้าน้ัน บริภัณฑ์ไฟฟ้า สายไฟฟ้าท่ีใช้และวิธีการเดินสายต่าง ๆ ต้องมีมาตรฐาน เป็นสิ่งกําหนด มาตรฐานที่ประเทศไทยคุ้นเคยมากคือ มาตรฐานไออีซี (IEC) มาตรฐานของทวีปยุโรปและ มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา สําหรับประเทศไทยบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าทุกชนิดต้องเป็นไปตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) หรือมาตรฐานอื่นท่ีการไฟฟ้าฯ ยอมรับ ส่วนข้อกําหนดต่าง ๆ ในงาน ตดิ ตั้งไฟฟา้ อ้างองิ ตามมาตรฐานการติดตง้ั ทางไฟฟา้ สําหรับประเทศไทย แสดงความรเู้ กยี่ วกับกฎและมาตรฐานทีใ่ ชง้ านในระบบติดต้ังไฟฟ้า

89 1. บอกสาระของขอ้ กาํ หนดการเดนิ สายสําหรบั ระบบแรงตา่ํ ได้ 2. บอกขอ้ กาํ หนดและขอ้ ห้ามใช้สําหรบั การเดินสายเปิดบนวสั ดุฉนวนได้ 3. บอกข้อกําหนดและขอ้ ห้ามใช้สาํ หรับการเดินสายในท่อร้อยสายได้ 4. บอกขอ้ กําหนดและข้อห้ามใชส้ าํ หรบั การเดินสายในรางเดนิ สายได้ 5. บอกข้อกําหนดและลกั ษณะใช้งานของกลอ่ งสาํ หรบั งานไฟฟา้ ได้ 6. บอกข้อกําหนดและข้อหา้ มใช้สําหรับการเดนิ สายเกาะผนงั ได้ 7. อธบิ ายข้อกาํ หนดของแผงสวติ ชแ์ ละแผงย่อยได้

90 เนื้อหาสาระ ในงานติดตั้งไฟฟ้านั้น บริภัณฑ์ไฟฟ้า สายไฟฟ้าท่ีใช้และวิธีการเดินสายต่าง ๆ จะต้องมีมาตรฐานเป็นส่ิง กําหนด มาตรฐานท่ีประเทศไทยคุ้นเคยมากคือ มาตรฐานไออีซี (IEC) มาตรฐานของทวีปยุโรปและมาตรฐาน ของประเทศสหรัฐอเมริกา สําหรับประเทศไทยบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าทุกชนิดต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) หรือมาตรฐานอื่นที่การไฟฟ้าฯ ยอมรับ และข้อกําหนดต่าง ๆ ต่อไปน้ีเป็นเพียง สว่ นหน่งึ เพอ่ื นํามาใชศ้ ึกษาเปน็ พน้ื ฐานใหเ้ หมาะสมกับระดับผ้เู รียน ข้อกําหนดน้ีอ้างอิงตามมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้า สําหรับประเทศไทย ครอบคลุมการเดินสาย ทั้งหมด ยกเว้น การเดินสายที่เป็นส่วนประกอบภายในของบริภัณฑ์ เช่น มอเตอร์ แผงควบคุม และแผงสวิตช์ ตา่ ง ๆ ซง่ึ ประกอบสาํ เร็จรูปจากโรงงาน 4.1.1 การเดนิ สายไฟของระบบไฟฟา้ ทม่ี ีแรงดันต่างกนั 1. ไฟฟ้าแรงต่ําทงั้ ระบบกระแสสลับและกระแสตรง อนญุ าตใหต้ ิดตั้งสายไฟรวมกันอยู่ภายในช่อง ร้อยสายหรือเครื่องห่อหมุ้ เดยี วกนั ได้ ถา้ ฉนวนของสายท้ังหมดเหมาะสมกบั ระดับแรงดนั สงู สดุ ทใ่ี ช้ 2. ห้ามติดตั้งสายไฟท่ีใช้กับระบบแรงต่ํารวมกับสายไฟที่ใช้กับระบบแรงสูงในท่อร้อยสาย บ่อพัก สาย หรือเครอ่ื งหอ่ หุ้มเดยี วกัน ยกเว้น ในแผงสวิตช์หรอื เครื่องห่อห้มุ อน่ื ท่ไี มใ่ ช้เพอ่ื การเดินสาย 4.1.2 การปอ้ งกนั ความเสียหายทางกายภาพของสายไฟ 1. การเดินสายผ่านโครงสร้างไม้ท่ีต้องเจาะรูผ่านโครงสร้าง รูท่ีเจาะต้องห่างจากขอบไม่น้อยกว่า 30 มม. หรอื เดนิ สายในชอ่ งบากตอ้ งปอ้ งกันไมใ่ หต้ ะปหู รือหมุดเกลยี วถกู สายได้ 2. การเดนิ สายท่ีมีเปลอื กนอกไม่เป็นโลหะ ผ่านโครงสร้างโลหะท่ีเจาะเป็นช่องหรือรูต้องมีบุชชิง– ยาง (Bushing Grommet) ยึดติดกับช่องหรือรูเพื่อป้องกันฉนวนของสายชํารุด ดังรูปที่ 4.1 ยกเว้น ช่องหรือรู ที่มีขอบมนและผวิ เรียบ รูปที่ 4.1 มบี ุชชงิ ยางยดึ ติดกบั ช่องหรอื รเู พ่ือปอ้ งกันฉนวนของสายชาํ รุด

91 3. การเดินสายผ่านโครงสร้างอื่น ต้องมีปลอกที่เป็นฉนวนไฟฟ้าสวมหรือจัดทํารูให้เรียบร้อยเพื่อ ปอ้ งกนั ฉนวนทห่ี ้มุ สายเสยี หาย 4.1.3 การตดิ ต้ังใตด้ ิน การติดตั้งใตด้ ินต้องเป็นไปตามขอ้ กาํ หนดดงั ต่อไปนี้ 1. ความลึกในการติดต้ังใต้ดิน สายเคเบิลฝังดินโดยตรง ท่อร้อยสายหรือเครื่องห่อหุ้มสายไฟฟ้า ประเภทอน่ื ที่ได้รบั การรับรองแล้ว ความลกึ ในการตดิ ตงั้ ต้องเปน็ ไปตามตารางท่ี 3.1 2. สายเคเบิลใต้ดินติดต้ังใต้อาคาร ต้องติดตั้งอยู่ในท่อร้อยสายและท่อร้อยสายต้องยาวเลยผนัง ด้านนอกของอาคารออกไป 3. สายเคเบิลท่ีฝงั ดนิ โดยตรง ส่วนที่โผลข่ นึ้ จากดนิ ต้องมีการปอ้ งกันด้วยเครือ่ งหอ่ หมุ้ หรอื ท่อรอ้ ย สายสงู จากระดับพ้นื ดนิ ไม่น้อยกวา่ 2.40 เมตร และเครอ่ื งหอ่ หมุ้ หรือท่อรอ้ ยสายต้องฝงั จมลงในดนิ ตามตาราง ที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ความลึกในการตดิ ต้ังใต้ดิน สาํ หรับระบบแรงตํา่ วิธีที่ วิธีการเดนิ สาย ความลึกนอ้ ยสุด (เมตร) 1 สายเคเบิลฝังดนิ โดยตรง 0.60 2 สายเคเบลิ ฝังดนิ โดยตรงและมแี ผน่ คอนกรตี หนาไมน่ ้อยกวา่ 0.45 50 มม. วางอยเู่ หนือสาย 3 ทอ่ โลหะหนาและหนาปานกลาง 0.15 4 ทอ่ อโลหะซง่ึ ไดร้ ับการรับรองใหฝ้ ังดนิ โดยตรงไดโ้ ดยไม่ต้องมี 0.45 คอนกรตี หุม้ (เชน่ ทอ่ เอชดีพีอีและทอ่ พวี ซี ี) 5 ทอ่ ใยหนิ หมุ้ คอนกรีตเสรมิ เหล็ก 0.45 6 ทอ่ ร้อยสายอื่น ๆ ซงึ่ ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากการไฟฟ้าฯ 0.45 หมายเหตุ 1) ทอ่ รอ้ ยสายทไี่ ดร้ ับการรับรองใหฝ้ งั ดนิ ได้โดยมีคอนกรตี ห้มุ ต้องหมุ้ ดว้ ยคอนกรตี หนาไม่น้อยกวา่ 50 มม. 2) สําหรับวิธีที่ 4, 5 และ 6 หากมีแผน่ คอนกรตี หนาไม่นอ้ ยกวา่ 50 มม. วางอย่เู หนือสาย ยอมให้ความลกึ ลดลงเหลอื 0.30 เมตร ได้ 3) ขอ้ กําหนดความลกึ น้ีไม่ใช้บงั คบั สําหรับการตดิ ต้ังใตอ้ าคารหรือใต้พนื้ ดนิ ซง่ึ หนาไม่น้อยกวา่ 100 มม. และยนื่ เลยออกไปจากแนวตดิ ตัง้ ได้ไมน่ ้อยกวา่ 150 มม. 4) บริเวณทมี่ รี ถยนตว์ ง่ิ ผ่าน ความลึกต้องไมน่ อ้ ยกว่า 0.60 เมตร

92 สายเคเบิลฝงั ดนิ โดยตรง อธบิ ายดว้ ยรปู ที่ 4.2 รปู ที่ 4.2 สายเคเบลิ ฝังดนิ โดยตรง 4. การต่อสายหรือตอ่ แยกใหเ้ ป็นไปตามทกี่ าํ หนดไวใ้ นแต่ละวิธีการเดินสาย สําหรับสายเคเบิล ใต้ ดินที่อยใู่ นราง (Trench) อนญุ าตให้มีการตอ่ สายหรอื ต่อแยกสายในรางได้ แต่การต่อและต่อแยกต้องทําด้วยวิธี และใช้วัสดทุ ีไ่ ด้รบั การรับรองแลว้ 5. ห้ามใช้วสั ดุทม่ี คี ม หรอื เป็นส่งิ ทีท่ าํ ใหผ้ กุ ร่อน หรอื มขี นาดใหญ่ กลบสายหรอื ทอ่ รอ้ ยสาย 6. ท่อรอ้ ยสายซึ่งมคี วามชน้ื สามารถเขา้ ไปยงั สว่ นท่ีมไี ฟฟ้าได้ ต้องอดุ ท่ีปลายใดปลายหนง่ึ หรือท้ัง สองปลายของท่อรอ้ ยสาย ตามความเหมาะสม 4.1.4 การปอ้ งกันการผุกร่อน ท่อร้อยสาย เกราะหุ้มสายเคเบิล (Cable Armor) เปลือกนอกของสายเคเบิล กล่อง ตู้ ข้องอ (Elbow) ข้อต่อ (Coupling) และเครื่องประกอบการเดินท่ออ่ืน ๆ ต้องใช้วัสดุที่เหมาะสมหรือมีการป้องกันที่ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมท่ีส่ิงน้ันติดต้ังอยู่ การป้องกันการผุกร่อนต้องทําท้ังภายในและภายนอกบริภัณฑ์ โดยการเคลอื บดว้ ยวัสดุท่ที นตอ่ การผกุ ร่อน เช่น สังกะสีแคดเมียม หรือ อีนาเมล (Enamel) ถ้าป้องกันการ ผุ กร่อนด้วยอีนาเมล ไม่อนุญาตให้ใช้ในสถานที่เปียก หรือภายนอกอาคาร กล่องต่อสายหรือตู้ที่ใช้กรรมวิธี ป้องกันการผุกร่อนด้วยสารเคลือบอินทรีย์ (Organic Coating) อนุญาตให้ใช้ภายนอกอาคารได้ แต่ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ ก่อน

93 4.1.5 การตดิ ตงั้ วสั ดแุ ละการจบั ยึด 1. ท่อร้อยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล สายเคเบิล กล่อง ตู้ และเคร่ืองประกอบการเดินสาย ต้อง ยดึ กับทีใ่ ห้มนั่ คง ดงั รูปที่ 4.3 รปู ที่ 4.3 การจบั ยดึ ทอ่ รอ้ ยสาย ต้องยึดกับที่ใหม้ ั่นคง 2. การเดินสายในท่อร้อยสาย สําหรับแต่ละจุดท่ีมีการต่อสาย ปลายท่อ จุดต่อไฟฟ้า จุดต่อแยก จุดติดสวิตช์ หรือจุดดึงสาย ต้องติดต้ังกล่องหรือเครื่องประกอบการเดินท่อ ดังรูปที่ 4.4 ยกเว้น การต่อสายใน เครอื่ งห่อหุ้มสายท่มี ีฝาเปิดออกได้และเข้าถงึ ไดภ้ ายหลังการติดตงั้ รปู ท่ี 4.4 การเดินสายในทอ่ ร้อยสาย จุดตอ่ จดุ แยกต้องติดตั้งกล่อง 3. สายไฟฟ้าในช่องเดินสายแนวดิ่งต้องมีการจับยึดท่ีปลายบนของช่องเดินสายและต้องมีการจับ ยึดเป็นช่วง ๆ ดังรูปที่ 4.5 โดยมีระยะห่างไม่เกินตามที่กําหนดในตารางท่ี 4.2 ยกเว้น ถ้าระยะตามแนวดิ่งน้อย กว่าร้อยละ 25 ของระยะที่กาํ หนดในตารางท่ี 4.2 ไมต่ อ้ งใช้ท่จี ับยดึ

94 รูปท่ี 4.5 สายไฟฟา้ ในชอ่ งเดินสายแนวด่ิงต้องมีการจับยึด ตารางที่ 4.2 ระยะหา่ งสําหรับการจบั ยดึ สายไฟในแนวด่ิง ขนาดของสายไฟฟ้า (ตร.มม.) ระยะจับยึดสงู สดุ (เมตร) ไมเ่ กิน 50 30 70–120 24 150–185 18 240 15 300 12 เกนิ กว่า 300 10 4.1.6 การปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ กระแสเหนี่ยวนําในเคร่อื งห่อหมุ้ หรอื ช่องเดนิ สายท่เี ป็นโลหะ 1. เมื่อติดต้ังสายสําหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับในเคร่ืองห่อหุ้มหรือช่องเดินสายท่ีเป็นโลหะต้อง จัดทําไม่ให้เกิดความร้อนแก่โลหะท่ีลอ้ มรอบเนอ่ื งจากผลของการเหน่ียวนํา เช่น การรวมสายเส้นไฟทุกเส้นและ ตัวนํานิวทรัล (ถ้ามี) รวมท้ังสายดินของอุปกรณ์ไฟฟ้าไว้ในเครื่องห่อหุ้มหรือช่องเดินสายเดียวกัน ดังรูปท่ี 4.6 ในการเดินสายควบและใช้ท่อร้อยสายหลายท่อในแต่ละท่อร้อยสายต้องมีครบท้ังสายเส้นไฟ ตัวนํานิวทรัลและ สายดนิ ของบรภิ ัณฑไ์ ฟฟา้

95 ทอ A N C A N C A N C B B B ในแตละทอตอ งประกอบดว ยสายเสน ไฟของทุกเฟสรวมท้ังสายนวิ ทรลั (ถา ม)ี หา มใสสายควบแยกเฟสแตละทอ รูปท่ี 4.6 รวมสายเส้นไฟทกุ เสน้ และสายนิวทรัลในชอ่ งเดินสายโลหะเพอ่ื ป้องกนั ความร้อนจากการเหน่ยี วนํา 2. เมื่อสายเด่ียวของวงจรเดินผ่านโลหะท่ีมีคุณสมบัติเป็นสารแม่เหล็ก จะต้องจัดให้ผลจากการ เหนย่ี วนาํ มนี อ้ ยทสี่ ุด โดยการตัดร่องให้ถึงกันระหว่างรูแต่ละรูที่ร้อยสายแต่ละเส้น หรือโดยการร้อยสายทุกเส้น ของวงจรผ่านช่องเดียวกัน ดังรูปท่ี 4.7 รูปที่ 4.7 การจดั สายใหม้ ผี ลจากการเหนีย่ วนาํ น้อยที่สุด 3. สายไฟแกนเดยี วทกุ เส้นของวงจรเดียวกันรวมทงั้ สายที่มีการต่อลงดินและสายดิน ต้องติดตั้งใน ท่อร้อยสายเดียวกัน หากติดต้ังในรางเดินสาย (Wire ways) หรือรางเคเบิล (Cable trays) ให้วางเป็นกลุ่ม เดียวกัน ดงั รปู ที่ 4.8 รูปท่ี 4.8 ตวั อยา่ งการติดตง้ั ในรางเดนิ สาย (Wire ways) ให้มดั สายและจัดวางเป็นกล่มุ

96 4.1.7 การกาํ หนดสีของสายไฟหุ้มฉนวน ระบบแรงตา่ํ ระบบแรงต่ํา (Low Voltage System) หมายถึง ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่างเฟส (Phase to Phase) ไมเ่ กิน 1,000 โวลต์ หรือแรงดันเทยี บดินไม่เกิน 600 โวลต์ 1. การกาํ หนดสี ตามมาตรฐาน วสท. พ.ศ. 2545 (EIT Standard 2001–45) (1) ตัวนาํ นิวทรัล ใช้สเี ทาอ่อนหรอื สีขาว (2) สายเส้นไฟ ต้องใช้สายที่มีสีต่างไปจากตัวนํานิวทรัลและตัวนําสําหรับต่อลงดิน สีของ สายไฟ ในระบบไฟฟ้า 3 เฟส ให้ใช้สายที่มีสีฉนวนหรือทําเคร่ืองหมายเป็นสีดํา แดง และนํ้าเงิน สําหรับเฟส 1, 2 และ 3 ตามลาํ ดบั ดังรูปที่ 4.9 (3) สายดนิ ของบริภณั ฑไ์ ฟฟา้ ใช้สเี ขียว หรอื สเี ขยี วแถบเหลอื ง หรือเปน็ สายเปลอื ย ขอ้ ยกเวน้ ท่ี 1 สายไฟฟ้าทม่ี ขี นาดโตกวา่ 16 ตร.มม. ใหท้ าํ เครือ่ งหมายแทนการกําหนดสที ่ี ปลายสาย ขอ้ ยกเวน้ ท่ี 2 สายออกจากเครื่องวดั หนว่ ยไฟฟ้าถึงบริภณั ฑป์ ระธาน (ตัวนาํ ประธานเข้าอาคาร) รปู ท่ี 4.9 ตวั อยา่ งสายไฟฟา้ กาํ หนดสีตามมาตรฐาน วสท. พ.ศ. 2545 2. การกาํ หนดสี ตามมาตรฐาน วสท. พ.ศ. 2556 (EIT Standard 2001–56) (1) ตวั นํานิวทรลั ใช้สีฟ้า (2) สายเส้นไฟ ต้องใช้สายท่ีมีสีต่างไปจากตัวนํานิวทรัลและตัวนําสําหรับต่อลงดิน สีของ สายไฟ ในระบบไฟฟ้า 3 เฟส ให้ใช้สายที่มีสีฉนวนหรือทําเครื่องหมายเป็นสีนํ้าตาล ดํา และเทา สําหรับเฟส 1, 2 และ 3 ตามลําดบั ดงั รูปที่ 4.10 (3) สายดินของบรภิ ณั ฑ์ไฟฟ้าใชส้ เี ขียว หรอื สีเขยี วแถบเหลอื ง หรอื เปน็ สายเปลอื ย ขอ้ ยกเวน้ ท่ี 1 สายไฟฟ้าที่มีขนาดโตกวา่ 16 ตร.มม. ให้ทาํ เครื่องหมายแทนการกาํ หนดสที ี่ ปลายสาย ขอ้ ยกเว้นท่ี 2 สายออกจากเครื่องวดั หน่วยไฟฟา้ ถงึ บริภัณฑป์ ระธาน (ตวั นาํ ประธานเขา้ อาคาร)

97 60227 IEC 52 VAF-G TIS 11–2553 รปู ที่ 4.10 ตัวอยา่ งสายไฟฟ้า กําหนดสตี ามมาตรฐาน วสท. พ.ศ. 2556 4.1.8 การเดนิ สายควบ อนญุ าตใหว้ งจรไฟฟ้าเสน้ ไฟและนิวทรัล เดินควบสายได้โดยสายไฟฟ้าต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 50 ตร.มม. สายที่เดนิ ควบตอ้ งเป็นสายชนดิ เดยี วกัน ขนาดเท่ากัน มีความยาวเท่ากนั และใชว้ ิธตี อ่ สายเหมือนกนั 4.2.1 ทวั่ ไป การเดินสายเปิดบนวัสดุฉนวน หมายถึง วิธีการเดินสายแบบเปิดโล่งโดยใช้ตุ้มหรือลูกถ้วยเพื่อ การจบั ยึด ดงั รปู ท่ี 4.11 สายทีใ่ ชต้ อ้ งเป็นสายแกนเดยี วและตอ้ งไม่ถกู ปิดบังด้วยโครงสรา้ งของอาคาร ก) ลูกถว้ ย ข) ตุ้ม หรอื ลูกตุ้ม ง) ใช้ลกู ถว้ ยเพ่ือการจับยึด รปู ท่ี 4.11 การเดนิ สายเปดิ บนวสั ดุฉนวน 4.2.2 สําหรบั ระบบแรงตํ่า 1. อนุญาตให้ใช้การเดินสายเปิดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร ได้เฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรม งานเกษตรกรรม และงานแสดงสินค้าเท่านัน้ 2. ต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ ตามที่กําหนดในข้อ 4.1.2 และสายที่ยึดเกาะไป กบั ผนังหรือกําแพงตอ้ งอยู่สงู จากพ้นื ไมน่ ้อยกว่า 2.50 เมตร

98 3. การเดินสายในสถานท่ีช้ืน เปียก หรือมีไอที่ทําให้เกิดการผุกร่อน ต้องมีการป้องกันไม่ให้เกิด ความเสยี หายแก่สายไฟฟา้ 4. สายไฟฟ้าทีใ่ ช้ตอ้ งเปน็ สายห้มุ ฉนวน ยกเวน้ สายที่จา่ ยไฟฟ้าใหป้ ้ันจ่นั ชนิดเคล่อื นทไ่ี ดบ้ นราง 5. การเดินสายเปิดบนวสั ดฉุ นวนภายในอาคาร ใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ าํ หนดในตารางท่ี 4.3 6. วัสดุฉนวนสาํ หรับการเดินสายตอ้ งเป็นชนิดทีเ่ หมาะสมกับสภาพการใชง้ าน 7. การเดินสายบนวัสดฉุ นวนภายนอกอาคาร ให้เปน็ ไปตามข้อกําหนดต่อไปนี้ (1) การเดินสายบนตุ้มให้เป็นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 4.3 โดยมีข้อเพ่ิมเติมคือ ถ้าเดิน ผ่านในทโ่ี ลง่ ขนาดสายต้องไมเ่ ล็กกว่า 2.5 ตร.มม. และระยะระหวา่ งจุดจบั ยึดสายไมเ่ กนิ 5.0 เมตร (2) การเดินสายบนลกู ถว้ ยใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ ําหนดในตารางท่ี 4.4 และอธบิ ายดงั รปู ที่ 4.12 ตารางที่ 4.3 การเดินสายบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร ระยะสูงสุดระหว่าง ระยะหา่ งตา่ํ สดุ (เมตร) ขนาดสายทองแดง จุดจบั ยึดสาย ใหญส่ ดุ (ตร.มม.) การตดิ ต้ัง (เมตร) สายไฟฟา้ สายไฟฟา้ กบั 2.5 สงิ่ ปลูกสรา้ ง 50 บนต้มุ 5.0 ไม่กําหนด บนลูกถว้ ย 0.10 0.025 0.15 0.05 ตารางที่ 4.4 การเดินสายบนลูกถ้วยภายนอกอาคาร ระยะสูงสุดระหว่าง ระยะหา่ งตํา่ สดุ (เมตร) ขนาดสายทองแดง จุดจบั ยึดสาย ใหญ่สดุ (ตร.มม.) (เมตร) สายไฟฟา้ สายไฟฟ้ากบั ไมเ่ กนิ 10 สงิ่ ปลกู สรา้ ง 2.5 11–25 4 26–40 0.15 0.05 6 0.20 0.05 0.20 0.05

99 รปู ที่ 4.12 การเดินสายบนลกู ถว้ ยภายนอกอาคาร 8. สายไฟฟ้าซึ่งตดิ ต้ังบนตุ้มหรอื ลูกถ้วยจะต้องยึดกับฉนวนที่รองรับให้ม่ันคง ในกรณีที่ใช้ลวดผูก สาย (Tie Wire) ใหใ้ ช้ชนิดที่มฉี นวนที่ทนแรงดนั เทียบเท่าฉนวนของสายไฟฟ้านั้น ในกรณีที่อาจจะสัมผัสได้โดย พลั้งเผลอ 9. ขนาดกระแสของสายไฟฟา้ ให้ใช้คา่ กระแสตามตารางท่ี 2.7 4.3.1 การเดนิ สายในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง และทอ่ โลหะบาง 1. การใช้งาน ท่อโลหะหนา (Rigid Metal Conduit: RMC) ท่อโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit: IMC) และท่อโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing: EMT) สามารถใช้กับงานเดินสาย ทั่วไปท้ังในสถานท่ีแห้ง ช้ืนและเปียก นอกจากจะระบุไว้เฉพาะเรื่องน้ัน ๆ โดยต้องติดต้ังให้เหมาะสมกับสภาพ การใชง้ าน 2. ข้อกาํ หนดการติดต้งั (1) ในสถานที่เปียก ท่อโลหะและส่วนประกอบท่ีใช้ยึดท่อโลหะ เช่น สลักเกลียว (Bolt) สแตร็ป (Strap) สกรู (Screw) ฯลฯ ต้องเป็นชนิดทที่ นตอ่ การผุกร่อน (2) ปลายท่อท่ีถูกตัดออกต้องลบคม ดังรูปที่ 4.13 เพื่อป้องกันไม่ให้ปาดฉนวนของสาย การ ทาํ เกลียวทอ่ ตอ้ งใช้เคร่อื งทาํ เกลียวชนิดปลายเรยี ว

100 รูปที่ 4.13 ปลายท่อท่ีตัดออกตอ้ งลบคม (3) ข้อต่อ (Coupling) และข้อต่อยึด (Connector) ชนิดไม่มีเกลียวต้องต่อให้แน่น เม่ือฝัง ในอิฐก่อหรือคอนกรีตต้องใช้ชนิดฝังในคอนกรีต (Concretetight) เมื่อติดตั้งในสถานที่เปียกต้องใช้ชนิดกันฝน (Raintight) (4) การต่อสาย ให้ต่อได้เฉพาะในกล่องต่อสายหรือกล่องจุดต่อไฟฟ้าที่สามารถเปิดออกได้ สะดวก ปริมาตรของสายและฉนวน รวมท้งั หัวต่อสายเมือ่ รวมกันแล้วตอ้ งไม่เกินรอ้ ยละ 75 ของปริมาตรภายใน กล่องตอ่ สายหรอื กล่องจุดตอ่ ไฟฟา้ (5) การติดตั้งท่อร้อยสายเข้ากับกล่องต่อสาย หรือเครื่องประกอบการเดินท่อ ต้องจัดให้มี บุชชิงเพ่ือป้องกันไม่ให้ฉนวนสายชํารุด ดังรูปที่ 4.14 ยกเว้น กล่องต่อสายและเคร่ืองประกอบการเดินท่อท่ีได้ ออกแบบเพอ่ื ปอ้ งกนั การชาํ รดุ ของฉนวนไว้แลว้ รูปท่ี 4.14 จดั ใหม้ ีบุชชงิ เพอ่ื ปอ้ งกันฉนวนสายชํารุด (6) ห้ามทําเกลยี วในทอ่ โลหะบาง (7) มมุ ดดั โค้งระหวา่ งจดุ ดงึ สายรวมกนั แล้วตอ้ งไม่เกิน 360 องศา 3. ห้ามใช้ท่อโลหะบางฝังดินโดยตรง หรือใช้ในระบบไฟฟ้าแรงสูง หรือท่ีซึ่งอาจเกิดความ เสยี หายหลังการตดิ ตัง้ 4. ห้ามใชท้ อ่ โลหะขนาดเลก็ กวา่ 15 มม. 5. จํานวนสายสูงสุดตอ้ งเปน็ ไปตามตารางท่ี 4.5

101 ตารางที่ 4.5 พืน้ ทห่ี นา้ ตดั สูงสุดรวมของสายไฟทุกเส้นคดิ เปน็ รอ้ ยละเทยี บกบั พ้นื ทหี่ น้าตัดของทอ่ จาํ นวนสายในท่อร้อยสาย 1 2 3 4 มากกวา่ 4 สายไฟทกุ ชนิด ยกเวน้ สายชนดิ มปี ลอกตะก่วั ห้มุ 53 31 40 40 40 สายไฟชนดิ มปี ลอกตะก่ัวหมุ้ 55 30 40 38 35 6. ท่อขนาดใหญ่กว่า 15 มม. หากร้อยสายชนิดไม่มีปลอกตะก่ัว รัศมีดัดโค้งด้านในของท่อต้อง ไม่น้อยกว่า 6 เท่า ของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ ถ้าเป็นสายไฟฟ้าชนิดมีปลอกตะก่ัว รัศมีดัดโค้งด้านใน ต้องไม่น้อยกว่า 10 เท่า ของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อสําหรับท่อขนาด 15 มม. หากร้อยสายชนิดไม่มี ปลอกตะก่ัว รัศมีดัดโค้งด้านในต้องไม่น้อยกว่า 8 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ แต่ถ้าเป็นสายไฟฟ้า ชนิดมีปลอกตะก่ัว รัศมีดัดโค้งด้านในต้องไม่น้อยกว่า 12 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ การดัดโค้ง ต้องไม่ทําใหท้ ่อชํารดุ 7. ต้องติดตง้ั ระบบทอ่ ให้เสรจ็ ก่อน ดังรูปท่ี 4.15 จงึ ทาํ การเดนิ สายไฟฟ้า รปู ที่ 4.15 ติดตัง้ ระบบท่อให้เสร็จกอ่ น จงึ ทําการเดินสายไฟฟา้ 8. การเดนิ สายดว้ ยทอ่ โลหะไปยังบรภิ ณั ฑไ์ ฟฟา้ ควรเดินด้วยท่อโลหะโดยตลอดและช่วงต่อสาย เข้าบริภณั ฑไ์ ฟฟ้าควรเดินด้วยท่อโลหะอ่อน หรือใช้วิธีการอ่นื ตามทีเ่ หมาะสม 9. หา้ มใชท้ อ่ โลหะเปน็ ตัวนําสําหรบั ตอ่ ลงดนิ 10. ขนาดกระแสของสายไฟฟา้ ให้ใชค้ า่ กระแสตามตารางที่ 2.5 11. ท่อรอ้ ยสายตอ้ งยึดกับท่ีให้มั่นคงด้วยอุปกรณ์จับยึดที่เหมาะสม โดยมีระยะห่างระหว่างจุดจับ ยึดไมเ่ กิน 3.0 เมตร และห่างจากกล่องตอ่ สายหรืออปุ กรณ์ต่าง ๆ ไมเ่ กนิ 0.9 เมตร

102 4.3.2 การเดนิ สายในทอ่ โลหะออ่ น (Flexible Metal Conduit) 1. ลักษณะการใชง้ าน ต้องเป็นไปตามขอ้ กาํ หนดทุกข้อ ดังนี้ (1) ในสถานทแี่ หง้ (2) ในท่เี ขา้ ถงึ ไดแ้ ละปอ้ งกนั สายจากความเสียหายทางกายภาพ หรอื เพ่ือการเดินซอ่ นสาย (3) ให้ใช้สาํ หรบั เดนิ เขา้ บรภิ ณั ฑไ์ ฟฟา้ หรือกล่องตอ่ สายและความยาวไม่เกิน 2 เมตร 2. ห้ามใชท้ ่อโลหะอ่อน ในกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ในปลอ่ งลฟิ ต์หรือปลอ่ งขนของ (2) ในห้องแบตเตอรี่ (3) ในบรเิ วณอันตราย นอกจากจะระบไุ ว้เปน็ อยา่ งอ่ืน (4) ฝังในดินหรือฝังในคอนกรีต (5) ห้ามใช้ในสถานที่เปียก นอกจากจะใช้สายไฟฟา้ ชนิดท่ีเหมาะสมกับสภาพการติดต้ัง และ ในการติดตั้งท่อโลหะออ่ นตอ้ งป้องกันไม่ใหน้ ้ําเขา้ ไปในช่องรอ้ ยสายทท่ี อ่ โลหะออ่ นนี้ต่ออยู่ 3. ห้ามใช้ท่อโลหะอ่อนท่ีมีขนาดเล็กกว่า 15 มม. ยกเว้น ท่อโลหะอ่อนท่ีประกอบมากับขั้ว หลอดไฟและมคี วามยาวไม่เกนิ 1.80 เมตร 4. จาํ นวนสายไฟฟ้าสูงสุดในทอ่ โลหะอ่อนต้องเป็นไปตามทกี่ ําหนดในตารางท่ี 4.5 5. มมุ ดัดโคง้ ระหวา่ งจุดดึงสายรวมกนั แลว้ ต้องไมเ่ กนิ 360 องศา 6. ตอ้ งติดตง้ั ระบบท่อให้เสรจ็ กอ่ น จงึ ทําการเดินสายไฟฟา้ 7. หา้ มใช้ทอ่ โลหะออ่ นเปน็ ตวั นาํ สาํ หรับต่อลงดิน 8. ระยะห่างระหว่างอุปกรณจ์ ับยึดตอ้ งไมเ่ กนิ 1.50 เมตร และห่างจากกลอ่ งต่อสายหรอื อปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ ไมเ่ กนิ 0.30 เมตร 9. ขนาดกระแสของสายไฟฟา้ ใหเ้ ป็นไปตามที่กําหนดในตารางท่ี 2.5 4.3.3 การเดินสายในท่ออโลหะแข็ง (Rigid Nonmetallic Conduit) ท่ออโลหะแข็งและเคร่ืองประกอบการเดินท่อต้องใช้วัสดุที่เหมาะสม ทนต่อความชื้น สภาวะ อากาศและสารเคมี สําหรับท่อท่ีใช้เหนือดินต้องมีคุณสมบัติต้านเปลวเพลิง ทนแรงกระแทกและแรงอัด ไม่บิด เบ้ียวเพราะความร้อนภายใต้สภาวะที่อาจเกิดข้ึนเมื่อใช้งาน ในสถานท่ีใช้งานท่ีท่อมีโอกาสถูกแสงแดดโดยตรง ต้องใช้ท่อร้อยสายชนิดทนต่อแสงแดด สําหรับท่อที่ใช้ใต้ดินวัสดุที่ใช้ต้องทนความชื้น ทนสารท่ีทําให้ผุกร่อน และมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะทนแรงกระแทกได้โดยไมเ่ สียหาย ถ้าใช้ฝังดินโดยตรงโดยไมม่ ีคอนกรีตหุ้ม วัสดุ ท่ใี ชต้ อ้ งสามารถทนน้าํ หนักกดทอี่ าจเกิดข้ึนภายหลงั การติดต้ังได้

103 1. อนญุ าตให้ใชท้ อ่ อโลหะแข็ง ในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี (1) เดนิ ซอ่ นในผนงั พน้ื และเพดาน (2) ในบริเวณทท่ี ําให้เกิดการผุกร่อนและเกี่ยวข้องกับสารเคมี ถ้าท่อและเคร่ืองประกอบการ เดินทอ่ ได้ออกแบบไวส้ ําหรับใช้งานในสภาพดงั กล่าว (3) ในที่เปยี กหรอื ชื้นซึง่ ได้จัดใหม้ กี ารป้องกันนํ้าเข้าไปในท่อ (4) ในท่ีเปิดโล่ง (Exposed) ซง่ึ ไมอ่ าจเกิดความเสียหายทางกายภาพ (5) การติดตงั้ ใตด้ ินต้องเป็นไปตามท่ีกาํ หนดในขอ้ 4.1.3 2. หา้ มใช้ทอ่ อโลหะแขง็ ในกรณีดงั ต่อไปนี้ (1) ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบไุ วเ้ ปน็ อยา่ งอนื่ (2) ใชเ้ ปน็ เคร่ืองแขวนหรือจับยดึ ดวงโคม (3) อณุ หภมู โิ ดยรอบหรืออณุ หภูมิใช้งานของสายเกินกว่าอุณหภมู ขิ องทอ่ ท่ีระบไุ ว้ (4) ในโรงมหรสพ นอกจากจะระบุไว้เป็นอยา่ งอน่ื 3. เมื่อเดินท่อเข้ากล่องหรือส่วนประกอบอื่น ๆ ต้องจัดให้มีบุชชิง หรือมีการป้องกันไม่ให้ฉนวน ของสายชาํ รดุ 4. ห้ามใชท้ อ่ อโลหะแข็งทีม่ ีขนาดเล็กกวา่ 15 มม. 5. จํานวนสายไฟฟ้าสงู สุดในทอ่ โลหะแขง็ ต้องเป็นไปตามทก่ี าํ หนดในตารางที่ 4.5 6. มมุ ดดั โคง้ ระหว่างจุดดึงสายรวมกันแลว้ ต้องไม่เกิน 360 องศา 7. ต้องติดตงั้ ระบบท่อใหเ้ สรจ็ กอ่ น ดังรปู ท่ี 4.16 จึงทําการเดินสายไฟฟา้ รปู ที่ 4.16 ติดตง้ั ระบบทอ่ ใหเ้ สร็จกอ่ น จึงทําการเดินสายไฟฟา้ 8. ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้เป็นไปตามทีก่ ําหนดในตารางท่ี 2.5

104 อนุญาตให้ใช้รางเดินสายได้เฉพาะการติดตั้งในท่ีเปิดโล่งซึ่งสามารถเข้าถึงเพ่ือตรวจสอบและบํารุงรักษา ได้ตลอดความยาวของรางเดินสาย ห้ามเดินในฝ้าเพดาน ถ้าติดต้ังภายนอกอาคารต้องเป็นชนิดกันฝน (Raintight) และต้องมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะไม่เสียรูปภายหลังการติดตั้งและต้องเป็นไปตามข้อกําหนด ดงั ต่อไปน้ี 1. ห้ามใช้รางเดินสายในบริเวณท่ีอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ ในบริเวณท่ีมีไอที่ทําให้ผุกร่อน หรอื ในบรเิ วณอันตราย นอกจากจะระบไุ วเ้ ปน็ อย่างอนื่ 2. พื้นที่หน้าตัดของตัวนําและฉนวนท้ังหมดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของพ้ืนท่ีหน้าตัดภายในราง เดินสาย 3. ขนาดกระแสของสายในรางเดินสายให้ใช้ค่ากระแสตามตารางท่ี 2.5 กรณีตัวนํากระแส 3 เส้น โดยไม่ ต้องใช้ตัวคูณลดกระแสเร่ืองจํานวนสาย หากตัวนําท่ีมีกระแสไหลรวมกันไม่เกิน 30 เส้น ตัวนําวงจรสัญญาณ หรือวงจรควบคุมทอ่ี าจมกี ระแสไหลในชว่ งระยะเวลาสนั้ ไมถ่ ือวา่ เปน็ ตวั นาํ ทมี่ กี ระแสไหล 4. สายไฟแกนเดยี่ วของวงจรเดยี วกนั รวมทั้งสายดนิ ต้องวางเปน็ กลมุ่ เดยี วกนั แล้วมัดรวมเขา้ ด้วยกัน 5. รางเดินสายต้องจับยึดอย่างมั่นคง แข็งแรงทุกระยะไม่เกิน 1.50 เมตร แต่ยอมให้จุดจับยึดห่าง มากกวา่ 1.50 เมตร ได้ในกรณที ่ีจาํ เปน็ แตต่ ้องไม่เกิน 3.00 เมตร 6. รางเดินสายในแนวดิง่ ตอ้ งจับยึดอย่างมน่ั คงแข็งแรงทุกระยะไมเ่ กนิ 4.50 เมตร ห้ามมีจุดต่อเกิน 1 จุด ในแต่ละระยะจบั ยดึ จดุ จับยึดต้องห่างจากปลายรางเดินสายไมเ่ กนิ 1.50 เมตร ดว้ ย 7. หา้ มตดิ ตั้งหรือใชร้ างเดินสายในกรณตี อ่ ไปน้ี (1) ต่อรางเดนิ สายตรงจุดทีผ่ า่ นผนังหรือพ้นื (2) เป็นตวั นําสําหรบั ต่อลงดนิ (3) ขนาดเกิน 150×300 มิลลเิ มตร 8. อนุญาตให้ต่อสายเฉพาะในส่วนที่สามารถเปิดออกและเข้าถึงได้สะดวกตลอดเวลาเท่านั้น และ พ้ืนท่ีหน้าตัดของตัวนํา และฉนวนรวมทั้งหัวต่อสายรวมกันแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 75 ของพ้ืนท่ีหน้าตัดภายใน ของรางเดนิ สาย ณ จดุ รวมสาย 9. ในรางเดินสายตรงตําแหน่งท่ีต้องการดัด งอสาย เช่นปลายสาย ตําแหน่งที่มีท่อร้อยสายเข้า-ออกราง เดนิ สาย ตอ้ งจดั ให้มีที่ว่างสาํ หรบั ดัดงอสายอยา่ งเพียงพอ และมีการป้องกนั ไม่ใหม้ สี ว่ นคมทอี่ าจบาดสายได้ 10. การเดินสายในแนวด่ิงต้องมีการจับยดึ สายตามที่กาํ หนดในหัวขอ้ 4.1.5 ขอ้ 3 11. จดุ ปลายรางเดนิ สายตอ้ งปดิ

105 4.5.1 ขอบเขต ครอบคลุมการติดตั้งและการใช้กล่องสําหรับงานไฟฟ้า เช่นกล่องสําหรับจุดต่อไฟฟ้าของสวิตช์ หรืออุปกรณ์ กล่องตอ่ สาย กลอ่ งดงึ สาย กลอ่ งแยกสายและกล่องอน่ื ๆ ที่ติดต้งั เพือ่ วตั ถุประสงค์การเดินสาย 4.5.2 ข้อกาํ หนดและลักษณะการใชง้ าน 1. กล่องตอ้ งทาํ จากวสั ดุที่ทนตอ่ การผุกร่อนหรอื มกี ารป้องกันทเี่ หมาะสมทั้งภายในและภายนอก เช่น เคลอื บดว้ ยสีหรอื อาบสังกะสี หรือวธิ ีอ่ืน ๆ 2. ต้องจดั ให้มบี ชุ ชงิ หรือเครอื่ งประกอบท่มี ขี อบมนเรียบ ตรงบริเวณท่ีตัวนําหรือสายเคเบิลผ่าน ผนงั ของกลอ่ ง ดังรูปท่ี 4.17 บุชชงิ รปู ที่ 4.17 มบี ชุ ชงิ ตรงบรเิ วณท่ตี ัวนําผ่านผนงั ของกลอ่ ง 3. กล่องตอ้ งสามารถบรรจตุ วั นําหรือสายเคเบิลไดท้ ัง้ หมด 4. เม่ือติดตั้งกล่องแล้ว ต้องเข้าถึงได้โดยไม่ต้องร้ือถอนส่วนใดส่วนหน่ึงของอาคารและต้องมี ท่วี ่างให้สามารถทํางานไดส้ ะดวก 5. กลอ่ งต้องมฝี าปดิ ท่เี หมาะสมและแน่นหนา 6. กล่องที่ใช้กับระบบแรงสูงต้องมีป้าย “อันตรายไฟฟ้าแรงสูง” ติดไว้อย่างถาวร ป้ายที่จัดทํา ต้องอย่ดู ้านนอกของฝากลอ่ งและเหน็ ได้ชัด ดงั รปู ที่ 4.18

106 รูปท่ี 4.18 จดั ทําป้ายเตอื นอันตรายจากไฟฟา้ อยู่ดา้ นนอกฝากลอ่ งและเห็นได้ชดั 7. หลังการติดต้ังแล้ว กล่องต้องไม่มีรูหรือช่องที่โตพอให้วัตถุที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 7.5 มม. ลอดเข้าไปได้ การเดินสายบนผิวหรือเดินเกาะผนังใช้กับการเดินสายแรงต่ําภายในอาคารทั่วไป ยกเว้น ในบริเวณ อนั ตราย หรอื ทไ่ี ดร้ ะบุวา่ หา้ มใชใ้ นเร่อื งน้ัน ๆ โดยสายไฟฟา้ ทใ่ี ชต้ ้องเหมาะสมกบั สภาพติดต้งั ดว้ ย 1. สายไฟฟ้าตอ้ งเปน็ ชนดิ ทม่ี เี ปลือกนอก ดังรูป การเดนิ สายต้องปอ้ งกนั ไม่ใหฉ้ นวนหรือเปลอื กชาํ รดุ รปู ที่ 4.19 การเดินสายเกาะผนงั ต้องเป็นชนดิ ทม่ี ีเปลอื กนอก 2. การเดินสายผ่านผนังหรือส่ิงก่อสร้างต้องมีการป้องกันความเสียหายเน่ืองจากฉนวนหรือเปลือกนอก ถูกบาดดว้ ยสง่ิ ทีแ่ หลมคม 3. สายไฟฟ้าตอ้ งจบั ยดึ ให้มัน่ คงด้วยอปุ กรณ์ที่ออกแบบโดยเฉพาะหรือใชท้ อ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ เปน็ ตวั จบั ยึด 4. การต่อและการต่อแยกใหท้ าํ ได้เฉพาะในกลอ่ งสําหรบั งานไฟฟ้าเทา่ นน้ั ดังรปู ที่ 4.20

107 การต่อสายหรอื ต่อแยกสาย ทําไดเ้ ฉพาะในกลอ่ งสาํ หรบั งานไฟฟ้าเทา่ น้นั รูปที่ 4.20 การต่อสายตอ้ งทาํ ในกล่องสําหรบั งานไฟฟา้ เทา่ น้ัน 5. ขนาดกระแสของสายไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ ไปตามตารางที่ 2.5 และไมต่ อ้ งใชต้ วั คณู ปรับคา่ ขนาดกระแส 6. การเดนิ สายให้ติดตง้ั เรียงเป็นชน้ั เดียว ห้ามติดตั้งซอ้ นกนั ดังรปู ท่ี 4.21 รปู ที่ 4.21 การเดนิ สายบนผิวหรือเดินเกาะผนงั เดินเรยี งชั้นเดียว หา้ มซอ้ นกัน 4.7.1 ขอบเขต 1. แผงสวิตช์และแผงย่อยใช้ควบคุมไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากําลัง รวมท้ังแผงชาร์จไฟเข้า แบตเตอร่ีโดยตอ่ จากวงจรไฟฟา้ แสงสวา่ งและไฟฟา้ กาํ ลงั 2. แผงสวติ ชแ์ ละแผงย่อยตอ้ งติดตัง้ ในห้องหรอื ที่ซึ่งจัดไว้โดยเฉพาะ 3. ตัวนําและบัสบาร์ในแผงสวิตช์หรือแผงย่อย ต้องติดตั้งอย่างมั่นคงในตําแหน่งที่ปลอดภัยจาก ความเสยี หายทางกายภาพ และการจัดวางต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้เกดิ ความร้อนสูงเนอ่ื งจากการเหนี่ยวนํา 4. ขั้วต่อสายในแผงสวิตช์หรือแผงย่อย ควรติดต้ังในลักษณะท่ีสามารถต่อสายไปยังโหลดได้โดย ไม่ต้องขา้ มบัสบาร์เส้นไฟ 5. การจัดเฟสของแผงสวิตช์และแผงย่อย เมื่อมองจากด้านหน้าให้อยู่ในลักษณะเฟสเป็น 1, 2 และ 3 (หรือเฟสเอ (A) บี (B) ซี (C) ตามลําดับ) โดยเรียงจากด้านหน้าไปด้านหลังของแผง จากด้านบนลง

108 ด้านลา่ งหรอื จากดา้ นซา้ ยมือไปขวามอื การจดั เฟสลกั ษณะอ่ืนอนญุ าตใหใ้ ช้ได้เฉพาะการเช่ือมต่อเข้ากับระบบที่ มอี ยแู่ ล้ว แต่ต้องทําเครอ่ื งหมายให้เหน็ ได้ชดั เจน 6. แต่ละบสั บารจ์ ะตอ้ งจดั ทําเครอื่ งหมายแสดงเฟสอยา่ งใดอย่างหนึง่ ดงั ต่อไปน้ี (1) เปน็ ตัวอกั ษร ไดแ้ ก่ – L1 สําหรบั เฟส 1 หรือเฟส A – L2 สําหรับเฟส 2 หรอื เฟส B – L3 สําหรบั เฟส 3 หรอื เฟส C – N สาํ หรบั นวิ ทรัล – E หรือ สาํ หรบั บัสดิน/ขั้วสายดิน (ข) เปน็ สี ได้แก่ – สีน้าํ ตาล สําหรับเฟส 1 หรอื เฟส A – สดี าํ สาํ หรับเฟส 2 หรอื เฟส B – สเี ทา สําหรับเฟส 3 หรอื เฟส C – สีฟ้า สําหรบั นวิ ทรัล – สเี ขยี ว สาํ หรบั บัสดนิ /ขวั้ สายดนิ หรอื เขยี วแถบเหลือง 4.7.2 แผงสวติ ช์ (Switchboard) 1. แผงสวิตช์ที่มีส่วนที่มีไฟฟ้าเปิดโล่ง ต้องติดต้ังในสถานที่แห้ง เข้าถึงได้และควบคุมโดยบุคคลที่ มหี น้าท่ีเกี่ยวข้องเทา่ นั้น ดังรปู ท่ี 4.22 เม่ือติดต้งั ในสถานท่เี ปียกหรือนอกอาคาร ตอ้ งมีเครอ่ื งห่อหุ้ม (กล่องหรือ ตู้) ท่ีทนสภาพอากาศ นอกจากแผงสวิตช์จะเป็นชนิดที่ออกแบบไว้สําหรับติดตั้งภายนอกได้ แผงสวิตช์ซ่ึงอยู่ใน สถานทที่ ี่มวี ัตถตุ ดิ ไฟไดง้ า่ ยตอ้ งตดิ ตง้ั ในตาํ แหน่งทแี่ ผงสวติ ช์จะไม่ทําให้เกิดเพลงิ ไหม้ตอ่ วัตถตุ ดิ ไฟข้างเคียง รปู ท่ี 4.22 แผงสวติ ช์ ตอ้ งเข้าถงึ ไดแ้ ละควบคมุ โดยบุคคลทมี่ ีหน้าทีเ่ กย่ี วขอ้ งเทา่ นน้ั

109 2. ส่วนบนของแผงสวิตช์ต้องอยู่ห่างจากเพดานท่ีติดไฟได้ไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร หากเป็นเพดาน ไม่ติดไฟหรือมีแผ่นกั้นที่ไม่ติดไฟระหว่างแผงสวิตช์กับเพดาน ระยะห่างระหว่างส่วนบนของแผงสวิตช์และ เพดานต้องไม่น้อยกวา่ 0.60 เมตร 3. สําหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ โครงของแผงสวิตช์รวมทั้งโครงที่รองรับที่เป็นโลหะทั้งของ สวิตช์และบริภัณฑ์ไฟฟ้าต้องต่อลงดิน เคร่ืองมือวัด รีเลย์ มิเตอร์ หรือหม้อแปลงเคร่ืองวัดซึ่งติดตั้งในแผงสวิตช์ ต้องต่อลงดนิ ดว้ ย 4.7.3 แผงยอ่ ย (Panelboard) 1. แผงยอ่ ยต้องมพี กิ ดั ไมต่ ่าํ กว่าขนาดของสายปอ้ นทคี่ าํ นวณได้ 2. การตดิ ต้งั แผงยอ่ ยในสถานทเ่ี ปยี กหรือชื้น ตอ้ งมีการป้องกันไม่ให้ความช้ืนหรือนํ้าเข้าไปในแผง ได้ และต้องติดต้ังให้ห่างจากผนังหรือพื้นรองรับไม่น้อยกว่า 5 มม. ถ้าติดตั้งในสถานที่เปียกต้องเป็นแบบทน สภาพอากาศ (Weatherproof) 3. แผงย่อยต้องติดต้ังในตู้ กล่องอุปกรณ์ตัดตอน (Cutout Box) หรือในเคร่ืองห่อหุ้มที่ออกแบบ เฉพาะ และต้องเป็นแบบด้านหน้าไม่มีไฟ ยกเว้น สําหรบั แผงย่อยขนาดไม่เกนิ 16 แอมแปร์ 1 เฟส 4. แผงยอ่ ยของวงจรย่อยแสงสว่างและเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทุกแผง ต้องติดต้ังเครื่องป้องกันกระแสเกิน ด้านไฟเข้า ยกเวน้ สายป้อนของแผงยอ่ ยน้นั ได้ติดต้ังเครอื่ งปอ้ งกันกระแสเกนิ ไม่เกนิ ขนาดของแผงย่อยอยแู่ ลว้ 5. จํานวนเคร่ืองป้องกันกระแสเกินในแผงย่อย ต้องไม่เกิน 42 ขั้ว ไม่รวมข้ัวท่ีเป็นประธาน ดังรูป ที่ 4.23 มเี ซอรก ติ เบรกเกอร ไมเกนิ 42 ข้ัว (วงจรยอย) รูปท่ี 4.23 จาํ นวนเซอรก์ ิตเบรกเกอรใ์ นแผงยอ่ ย ไม่เกนิ 42 ขวั้ 1. ขอ้ กาํ หนดการเดนิ สายระบบแรงต่ํา เป็นข้อกําหนดตามมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสําหรับประเทศ ไทย เกี่ยวข้องกับการเดินสายไฟของระบบไฟฟ้าท่ีมีแรงดันต่างกัน การป้องกันความเสียหายทางกายภาพของ สายไฟ การติดต้ังใต้ดิน การป้องกันผุกร่อน การติดต้ังวัสดุและการจับยึด การกําหนดสีของสายไฟและการ เดนิ สายควบ เปน็ ตน้

110 2. การเดินสายเปิดบนวัสดุฉนวน เป็นวิธีการเดินสายแบบเปิดโล่งโดยใช้ตุ้มหรือลูกถ้วยเพื่อการจับยึด สายท่ีใช้ต้องเป็นสายแกนเดียวและต้องไม่ถูกปิดบังด้วยโครงสร้างของอาคาร มีการป้องกันความเสียหายทาง กายภาพ ระยะการจบั ยึดตา่ ง ๆ เปน็ ไปตามมาตรฐาน วสท. ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าเป็นไปตามตารางขนาด กระแสของสายไฟฟา้ และลกั ษณะการติดตงั้ นั้น 3. การเดินสายในท่อร้อยสาย เช่น ท่อโลหะหนา (RMC) ท่อโลหะหนาปานกลาง (IMC) และท่อโลหะ บาง (EMT) สามารถใช้กับงานเดินสายท่ัวไปท้ังในสถานท่ีแห้ง ช้ืนและเปียก นอกจากจะระบุไว้เฉพาะเรื่องนั้น โดยต้องตดิ ตงั้ ให้เหมาะสมกบั สภาพการใช้งาน 4. การเดินสายในรางเดินสาย ให้ใช้รางเดินสายได้เฉพาะการติดต้ังในที่เปิดโล่งซ่ึงสามารถเข้าถึงเพื่อ ตรวจสอบและบาํ รงุ รักษาไดต้ ลอดความยาวของรางเดนิ สาย หา้ มเดนิ ในฝา้ เพดาน ถ้าติดต้ังภายนอกอาคารต้อง เป็นชนดิ กนั ฝน และตอ้ งมคี วามแข็งแรงเพียงพอทีจ่ ะไม่เสียรปู ภายหลังการติดต้งั 5. กล่องสําหรับงานไฟฟ้า ครอบคลุมการติดต้ังและการใช้กล่องสําหรับงานไฟฟ้า เช่นกล่องสําหรับจุด ต่อไฟฟ้าของสวิตช์หรืออุปกรณ์ กล่องต่อสาย กล่องดึงสาย กล่องแยกสายและกล่องอื่น ๆ ที่ติดต้ังเพ่ือ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเดนิ สาย 6. การเดินสายบนผิวหรือเดินเกาะผนังใช้กับการเดินสายแรงตํ่าภายในอาคารท่ัวไป ยกเว้น ในบริเวณ อันตราย หรือท่ีไดร้ ะบวุ า่ หา้ มใช้ในเร่อื งน้นั ๆ โดยสายไฟฟา้ ทีใ่ ชต้ ้องเหมาะสมกบั สภาพติดต้ังด้วย 7. แผงสวิตชแ์ ละแผงยอ่ ยใช้ควบคุมไฟฟา้ แสงสวา่ งและไฟฟ้ากําลัง รวมทั้งแผงชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่โดย ต่อจากวงจรไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากําลัง เก่ียวกับตัวนํา บัสบาร์ ข้ัวต่อสาย การจัดเฟส การจัดทํา เครื่องหมายแสดงเฟสรวมทง้ั การติดต้ังให้เป็นไปตามมาตรฐาน วสท. คาํ ศพั ท์ประจาํ หน่วย ขอ้ ต่อยึด กลอ่ งอุปกรณต์ ัดตอน Connector ท่อโลหะบาง (อีเอม็ ท)ี Cutout Box ท่อโลหะหนาปานกลาง (ไอเอม็ ซี) Electrical Metallic Tubing: EMT การเดินสายแบบเปิดหรือเดนิ ลอยบนวัสดฉุ นวน Intermediate Metal Conduit: IMC แผงยอ่ ย Open Wiring ทอ่ โลหะหนา (อาร์เอม็ ซ)ี Panelboard แผงสวิตช์ Rigid Metal Conduit: RMC การเดินสายบนผิวหรอื เดินสายเกาะผนัง Switchboard Surface Wiring