Data Governance Framework คือ

ก่อนจะไปจัดธรรมาภิบาลข้อมูล ต้องเข้าใจก่อนว่าข้อมูลที่มีอยู่นั้นเป็นประเภทอะไรบ้าง ซึ่งในโลกยุคปัจจุบันข้อมูลได้ถูกแบ่งออกมาเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่

  1. ข้อมูลที่มีโครงสร้าง (Structured Data) คือข้อมูลที่มีนิยามโครงสร้างข้อมูลไว้อย่างชัดเจน ทำให้ง่ายในการสืบค้น พร้อมใช้งานต่อยอดได้ทันที ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูล (Database) ที่เป็นตาราง หรือไฟล์รูปแบบ Spreadsheet อย่างเช่นไฟล์ Excel หรือ Comma-Separated Values (CSV) เป็นต้น
  2. ข้อมูลกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Data) คือข้อมูลที่มีโครงสร้างระดับหนึ่ง อาจเป็นลำดับชั้น (Hierarchy) โดยนิยามโครงสร้างมาประกอบด้วย อย่างเช่น ไฟล์ Extensible Markup Language (XML) หรือ Javascript Object Notation (JSON) หรือเว็บเพจต่าง ๆ
  3. ข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Data) คือข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน และไม่ได้มีนิยามโครงสร้างข้อมูลแต่อย่างใด อย่างเช่น เอกสารกระดาษ รูปภาพ วีดีโอ เสียง ข้อความยาว ๆ บนโลกโซเชียลเน็ตเวิร์ก

Data Governance Framework คือ

ก่อนที่จะทำ Data Governance นั้น เราจำเป็นต้องเข้าใจก่อนว่าภายในองค์กรของเรามีข้อมูล ประเภทใดบ้าง เพื่อที่จะจัดการข้อมูลในแต่ละชนิดได้อย่างถูกวิธีแล้วจึงจะสามารถนำมาบูรณา การร่วมกันต่อยอด อย่างการทำ Big Data Analytics หรือหา insight บางอย่างภายในข้อมูลที่มีได้

อะไรคือ Data Governance

คำว่า “ธรรมาภิบาลข้อมูล”หรือ “Data Governance” นั้นถ้าเป็นภาษาทางการนั้นคือการ กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารจัดการข้อมูล ว่ากันตั้งแต่การจัดทำ การจัดเก็บ การจำแนกหมวดหมู่ การประมวลผลหรือใช้ข้อมูล การเปิดเผยข้อมูล การตรวจสอบ รวมถึงการทำลาย พร้อมกับการกำหนดมาตรการในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพของข้อมูลให้มีความถูกต้อง พร้อมใช้ และทำให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันรวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆในการอนุญาตให้เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ชัดเจนมีมาตรการความมั่นคงปลอดภัย และไม่ให้มีข้อมูลส่วนบุคคลถูกละเมิดเกิดขึ้น

หากพูดเป็นหลักการภาพรวมที่ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น Data Governance นั่นคือ แนวคิดและ กระบวนการบริหารจัดการข้อมูล (Data Management) ให้เป็นไปตามวงจรชีวิตของข้อมูล (Data Life Cycle) อย่างมีระบบที่จะทำให้มีมาตรฐานอย่างเช่นนิยามและโครงสร้างข้อมูลที่มีความชัดเจนเพื่อให้ สามารถนำไปใช้งานต่อยอดได้อย่างสะดวก รวมทั้งมีความชัดเจนว่าใครเป็นเจ้าของข้อมูล ผู้ดูแลข้อมูล และใครมีสิทธิเข้าถึงได้บ้างนั่นเอง

Data Governance Framework

Data Governance นั้นถือได้ว่าเป็นส่วนที่สำคัญในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อให้เกิดการขับ เคลื่อนองค์กรด้วยข้อมูลที่ดีได้อย่างยั่งยืน และเป็นแนวทางที่จะช่วยให้สามารถกำหนดทิศทาง ควบคุม ให้ข้อมูลมีคุณภาพที่ดี เป็นขั้นตอนที่จะทำให้ข้อมูลภายในองค์กรดีขึ้นได้ แต่ทั้งนี้การจัดทำ Data Governance นั้นไม่ได้มีรูปแบบที่ตายตัวชัดเจน ดังนั้น ทาง DGA จึงได้กำหนด Data Governance Framework ขึ้นมาเพื่อให้เป็นหลักยึดได้ง่ายขึ้นว่าจะต้องมีปัจจัยใดบ้างเป็นสำคัญที่จะต้องคำนึงถึงและ พิจารณา อันได้แก่

  • Policy & Standard คือนโยบายต่างๆ และมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูล โดยจะต้อง มีการจัดทำเอกสารนิยามต่างๆ เพื่ออธิบายข้อมูลให้มีความชัดเจน อย่างเช่น เอกสาร พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) การใส่คำอธิบายของข้อมูลหรือชนิดข้อมูล เป็นต้น
  • Privacy & Compliance คือการกำหนดนโยบายความเป็นส่วนตัวและการอนุญาตให้ใช้ งานข้อมูลดังกล่าว การจัดลำดับชั้นความลับของข้อมูล
  • Role & Responsibility คือการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลข้อมูล ใครต้องทำอะไรในข้อมูลชุดนั้นๆ บ้าง อย่างเช่น ใครเป็นเจ้าของข้อมูล (Data Owner) ใครเป็นผู้ใช้ข้อมูล (Data User) หรือผู้สนับสนุนข้อมูล (Data Supporter)
  • Process คือกระบวนการในการบริหารจัดการข้อมูลอย่างมีระบบ วิธีการจัดการกับข้อมูล แต่ละประเภท เพื่อให้พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา และให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
  • Guideline คือแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ที่จะทำให้กระบวนการภายในทั้งหลายไปใน แนวทางเดียวกัน

Data Governance Framework คือ

เป้าหมายของการทำ Data Governance

สำหรับการทำ Data Governance นั้น เป้าหมายที่สำคัญที่สุดคือการทำให้เกิด “ข้อมูลที่ดี” ภายในองค์กร ซึ่งข้อมูลที่ดีนั้นมี 3 องค์ประกอบสำคัญด้วยกัน ได้แก่

  • Data Security ข้อมูลจะต้องมีความปลอดภัย สามารถรักษาความลับข้อมูลได้ (Confidentiality) มีการกำหนดสิทธิว่าใครแก้ไขได้บ้าง (Integrity) และมีการสำรอง ข้อมูลไว้เผื่อกรณีเกิดปัญหาต้องกู้คืนข้อมูล (Availability)
  • Data Privacy ข้อมูลจะต้องมีการปกป้องความเป็นส่วนบุคคล โดยต้องมีการขออนุญาต (consent) จากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเสมอ
  • Data Quality ข้อมูลจะต้องมีคุณภาพ มีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มีมาตรฐานเดียวกัน ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้

ส่วนที่ยากสุดใน 3 องค์ประกอบนั้นคือ Data Quality เนื่องด้วยคำว่าคุณภาพที่ดีนั้นอาจเรียก ได้ว่าไม่ได้มีอะไรบอกชัดเจนนักว่าอะไรเรียกว่า “มีคุณภาพ” จึงถือว่า Data Quality เป็นงานที่มีมิติ ซับซ้อน จึงต้องใช้ความละเอียดรอบคอบในระดับสูง ถึงจะสามารถประเมินได้ว่ามีคุณภาพจริงหรือไม่ ซึ่ง Data Governance Framework ได้มีแนวทางในการตรวจสอบเพื่อการประเมินผล 6 องค์ประกอบ ให้พิจารณาด้วยกัน ได้แก่

การทำ Data Governance หรือ ธรรมาภิบาลข้อมูล คือ “การกำกับดูแลข้อมูลโดยมีการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอย่างมีระบบตั้งแต่การเกิดของข้อมูล การจัดเก็บ การวิเคราะห์ การทำลาย การเข้าถึง การรักษาความปลอดภัย” การทำ Data Governance จึงมีนัยสำคัญอย่างมากต่อทุกๆองค์กรที่ต้องการใช้ข้อมูลในการขับเคลื่อนธุรกิจ โดยเฉพาะองค์กรที่ต้องการเป็น Data Driven Organization


ในขั้นตอนแรกของการดำเนินโครงการ Data Governance คือ การกำหนดแนวทางการปฎิบัติหรือกรอบการทำโครงการ ซึ่งกรอบที่ว่านี้ไม่ใช่เพียงแต่เป็นกรอบโครงสร้างบทบาทหน้าที่ในธรรมาภิบาลข้อมูลเพียงอย่างเดียว แต่เป็นกรอบโครงสร้างที่ครอบคลุมทั้งในเชิงปฎิบัติและกระบวนการที่จะทำให้โครงการ Data Governance มีกระบวนการที่นำไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า Data Governance Framework หรือ “กรอบธรรมาภิบาลข้อมูล” โดยมุ่งเน้นกระบวนการที่ลดความซับซ้อนและทำให้ข้อมูลมีประสิทธิภาพสูงสุด


อย่างไรก็ตาม แต่ละองค์กร จะมีการใช้ Framework หรือ กรอบธรรมาภิบาลที่แตกต่างกัน ซึ่งตามหลักสากล Framework นี้ ก็มีให้เลือกใช้อ้างอิงได้หลากหลาย ทำให้หลายองค์กรจึงต้องเผชิญกับปัญหาในการเลือก Framework ที่จะนำมาปฎิบัติในองค์กร


Framework ที่เหมาะสมที่สุดของแต่ละองค์กร มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกันหลายส่วน ทั้งประเภทของข้อมูล ความพร้อมของเทคโนโลยี บุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึง นโยบายในการใช้ประโยชน์จากข้อมูล

สำหรับตัวอย่าง Framework ต่าง ๆ ที่สามารถใช้อ้างอิงเป็นมาตรฐานทั้งในประเทศไทย และสากล มีดังต่อไปนี้ …. (มีคำอธิบายใต้รูป)


Data Governance เป็นโครงการเชิงนโยบาย ที่สามารถแก้ปัญหาข้อมูลกระจัดกระจาย การเข้าไม่ถึงข้อมูล และการหวงแหนข้อมูลของแต่ละแผนกได้ หากนำไปปฎิบัติอย่างถูกต้องค่ะ


Data Governance Framework คือ

Data Governance คืออะไร?


Data Governance Framework คือ

กรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework by DGA)



Data Governance Framework คือ

Data Governance Framework by DGI


Data Governance Framework คือ

Data Governance Framework by PwC Consulting





Data Governance Framework คือ

Data Governance Framework by DAMA


Data Governance Framework คือ

Data Governance Framework by Coraline



Data Governance Framework คือ

ORGANIZATIONAL TRANSFORMATION





สนใจบริการในการ Implement Data Governance และ Data Catalog ติดต่อทีมงาน Coraline ได้ ทุกช่องทางค่ะ

#DataScience #Optimization #ProductivityImprovement #DigitalTransformation #MachineLearning #ArtificialIntelligence #DataManagement #DataGovernance #DataQuality #DeepLearning

#Coraline ให้คำปรึกษา และรับพัฒนาโครงการ Big Data, Data Model, Artificial Intelligence และ Digital Transformation เพื่อเพิ่มศักยภาพของธุรกิจ

Data Governance Framework มีอะไรบ้าง

Data Governance Framework คือ.
1. ภารกิจและวิสัยทัศน์ (Mission & Vision) ... .
2. เป้าหมาย Governance Metrics ตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ในการระดมทุน (Goals, Governance Metrics / Success Measures, Funding Strategies) ... .
3. กฎ (Rules – Definitions & Policies) ... .
4. อำนาจในการตัดสินใจ (Decision Rights).

Data Governance ควบคุมอะไร

คำว่า “ธรรมาภิบาลข้อมูล”หรือ “Data Governance” นั้นถ้าเป็นภาษาทางการนั้นคือการ กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารจัดการข้อมูล ว่ากันตั้งแต่การจัดทำ การจัดเก็บ การจำแนกหมวดหมู่ การประมวลผลหรือใช้ข้อมูล การเปิดเผยข้อมูล การตรวจสอบ รวมถึงการทำลาย พร้อมกับการกำหนดมาตรการในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพของข้อมูลให้มี ...

Data Steward ทำอะไรบ้าง

1.2.3 Data Stewards หรือผู้เชี่ยวชาญข้อมูล หรือบริกรข้อมูล อาจมีได้หลายคน และอาจแบ่ง ได้เป็นหลายระดับขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของข้อมูลในองค์กร ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มนี้มักท างานและให้ค าปรึกษา เกี่ยวกับนิยามหรือมาตรฐานข้อมูล หรือก าหนดนโยบายเกี่ยวกับข้อมูล และอาจรวมไปถึงก าหนดเกณฑ์คุณภาพ ข้อมูลด้วย

การกำกับข้อมูลคืออะไร

คำว่า Data Governance แปลเป็นไทยว่า การธรรมาภิบาลข้อมูล ซึ่งหมายถึง การกำกับดูแลข้อมูล โดยมีการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอย่างมีระบบ ตั้งแต่การเกิดของข้อมูล การจัดเก็บ การวิเคราะห์ การทำลาย การเข้าถึง การรักษาความปลอดภัย และการนำไปใช้ โดยให้ความสำคัญทั้งในมุมกระบวนการ บุคลากร และเทคโนโลยี