เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

การประมวลผลข้อมูลมักจะประกอบไปด้วยหลายขั้นตอนที่คล้ายๆกัน แต่ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลที่คุณต้องการที่จะทำการประมวลผล หรือสิ่งที่คุณต้องการจะทำ
 

การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection)


ขั้นแรกที่จะต้องทำก็คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไม่ต้องสงสัย ซึ่งขั้นตอนนี้อาจจะเกิดขึ้นโดยเป็นการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว หรือมันอาจจะเป็นการรวบรวมข้อมูลด้วยมือมากกว่า
อย่างไรก็ตามข้อมูลก็จะถูกรวบรวมไว้ด้วยกัน มันเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากสำหรับรูปแบบและลำดับที่เหมาะสม และมันก็สามารถที่จะนำมาใช้ในส่วนที่เหลือของกระบวนการประมวลผลข้อมูลของคุณได้อีก ยกตัวอย่างเช่น คุณสามารถประมวลผลข้อมูลที่ไม่มีการจัดเรียงลำดับได้หรือไม่? และถ้าคำตอบของคุณคือ "ไม่" คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าข้อมูลถูกเก็บรวบรวมในรูปแบบที่มีการจัดเรียงตามลำดับเรียบร้อยแล้ว

 

การจัดเตรียมข้อมูล (Preparation) 


ในลำดับถัดไป นั่นก็คือการจัดเตรียมข้อมูล ซึ่งเป็นกระบวนการที่จำเป็นต้องทำกับข้อมูลดิบที่ได้ทำการรวบรวมมา เพื่อปรับเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม ที่จะนำไปโหลดเพื่อเก็บเข้าฐานข้อมูล หรือนำไปวิเคราะห์ เนื่องจาก การทิ้งข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์หรือไม่เกี่ยวข้อง จะเป็นการช่วยลดระยะเวลาในการประมวลผลข้อมูล และยังเป็นการช่วยลดโอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดหรือข้อมูลที่ชักนำให้เข้าใจผิด ได้เช่นกัน
 

อินพุต (Input)


ในระหว่างขั้นตอนนี้ ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้ จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องสามารถอ่านได้ (Machine-readable) เพื่อที่จะสามารถผลักดันให้เหมาะสมกับเครื่องมือและวิธีการที่จะทำการวิเคราะห์ โดยในขั้นตอนนี้ของข้อมูลหรือการหยุดทำงานนี้ อาจจะต้องใช้เวลาที่นานมาก เท่ากับว่าข้อมูลต้องได้รับการตรวจสอบจากการป้อนข้อมูลของมัน ทั้งนี้ก็เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีข้อผิดพลาดและมันอยู่ในรูปแบบที่แอพพลิเคชั่นสามารถประมวลผลได้ สำหรับข้อมูลใดๆ ที่ขาดหายไปและผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้อง
 

การประมวลผลข้อมูล (Processing)


การประมวลผลข้อมูลคือ ข้อมูลจะถูกจัดการโดยใช้อัลกอริทึม เพื่อสร้างข้อมูลที่ใช้งานได้และจำเป็นต่อการใช้งาน (Meaningful Information) มากยิ่งขึ้น
 

ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ (Output)


ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ คือผลลัพธ์ของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว จากนั้นจะสามารถแสดงต่อผู้ใช้ในรูปแบบที่พวกเขาสามารถเข้าใจได้ ยกตัวอย่างเช่น การนำเสนอในรูปแบบของรายงาน (Report), การแสดงผลด้วยกราฟ (Graph), วิดีโอ (Video), เสียง (Audio) หรือ เอกสาร (Document) ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้งานนี้ สามารถนำมาใช้เพื่อช่วยผู้ใช้ในการตัดสินใจ เกี่ยวกับข้อมูลดังกล่าว

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

Show

  • April 27, 2021
  • 1582

กระบวนการทำ PDPA ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

เนื้อหาในบทความ

กระบวนการทำ PDPA ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

          หลาย ๆ คนอาจหลงทาง ไม่รู้ว่าตกลงเราต้องทำอะไรบ้าง อะไรควรทำก่อนหรือหลัง วันนี้มาลงให้ลึกขึ้นถึงกระบวนการทำแบบชัด ๆกันดีกว่าอย่างที่รู้กันดีว่า กฎหมาย พ... คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) มีความยาวถึง 44 หน้า

          นี่เป็นแค่ในหมวดหมู่เดียวเท่านั้น ยังไม่รวมถึง พ... ไซเบอร์ที่เราจะต้องทำด้วย เรามาเริ่มไล่ดูกันดีกว่าว่า เราต้องทำอะไรต่อถ้ารู้ตัวแล้วว่าเราถือข้อมูลส่วนตัวของลูกค้าเอาไว้ แต่เพราะไม่ใช่ว่าใครจะเข้ามาทำงานนี้ได้ เริ่มแรกจึงต้องเริ่มต้นด้วย

กระบวนการ Comply PDPA

1. การจัดตั้งคณะทำงาน เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)

          เพื่อให้สอดคล้องตาม PDPA เกี่ยวกับการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา 41 และมาตรา 42 ของพระราชบัญญัติ
          คณะทำงานอย่างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พวกเราเรียกกันว่า DPO มีหน้าที่จัดการ ดูแล คุ้มครองทุกปัญหาที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคล

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

2. Privacy Notice หรือ การสร้างประกาศชี้แจงการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล

          อันนี้เพื่อให้สอดคล้องตาม พ.ร.บ. PDPA เกี่ยวกับการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา 41 และมาตรา 42 เพื่อแจ้งข้อมูลให้แก่ผู้ใช้บริการที่เกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ หรือเงื่อนไขอื่น ๆ ในการเก็บ / รวมรวบ / ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ หรือผู้ให้ข้อมูล ส่วนบุคคลกับองค์กร ตรงนี้คือเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับองค์กรได้ด้วย

3. Privacy Policy หรือ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

          เพื่อให้สอดคล้องตามพ... PDPA เกี่ยวกับการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา 41 และมาตรา 42 
สองอย่างนี้คล้าย ๆ กัน ต่างกันแค่บุคคลที่เขียนถึง ถ้าเป็น Privacy Notice จะเขียนเพื่อตกลงร่วมกับเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล / ส่วนใน Privacy Policy จะเขียนเป็นนโยบายในองค์กร

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

4. Data Processing Agreement หรือข้อตกลงการประมวลข้อมูล

          สิ่งนี้เป็นสัญญาที่เอาไว้ใช้ร่วมกันกับ Data Processor หรือผู้ประมวลผลข้อมูลนั่นเอง ตั้งแต่การกำหนดว่าผู้ประมวลผลข้อมูลมีขอบเขตถึงตรงไหนและเอาข้อมูลส่วนบุคคลไปทำอะไร ตรงนี้จะเกี่ยวข้องระหว่าง Data Processor กับ Data Controller

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

5. Data Breach Letter หรือจดหมายแจ้งการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

          สิ่งนี้จะต้องมีตาม พ... PDPA เกี่ยวกับการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา 41 และมาตรา 42 ของพระราชบัญญัติ แต่ใช้ในกรณีที่ข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหลไปแล้ว ต้องแจ้งภายใน 72 ชั่วโมง เราขอยกตัวอย่างเป็นข่าวบริษัทในไทยที่ทำข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานรั่วไหลเพราะ Hacker มา Hack ตามไปอ่านได้ที่ Link นี้เช่นกัน 

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

6. Record Of Processing (RoP) หรือบันทึกการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

          RoP เปรียบเสมือนสิ่งหลักที่จำเป็นต้องทำเพื่อเก็บบันทึกประวัติการประมวลผลข้อมูล รวมถึงวัตถุประสงค์ของการประมวลผล ซึ่งตรงนี้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบจะต้องสามารถขอตรวจสอบได้ ตั้งแต่การระบุข้อมูลที่จัดเก็บ วัตถุประสงค์ แหล่ง และวันเวลาที่จัดเก็บ

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

7. Cookies หรือ Text Files ที่อยู่ประจำในคอมพิวเตอร์

          Cookies ที่เรามักพบตามหน้าเว็บไซต์ต่างๆ นั้น แม้ทางกฎหมายยังไม่ได้บังคับใช้เต็มรูปแบบ แต่การแจ้งผู้ใช้งานก็ช่วยให้ผู้เข้าใช้งานรู้สึกเป็นส่วนตัวมากขึ้น สำหรับ Cookies นั้นมีหน้าที่จัดเก็บรายละเอียดข้อมูล log การใช้งาน internet ของท่าน หรือ พฤติกรรมการเยี่ยมชม website ของท่าน ถือเป็นส่วนหนึ่งในข้อมูลในข้อมูลส่วนบุคคลจึงจำเป็นจะต้องมีการขออนุญาตก่อนการใช้งาน

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

8. Data Subject Rights หรือ การทำสิทธิ์ของเจ้าของข้อมูล

          เพื่อให้ตอบสนองกับความต้องการและสนับสนุน เมื่อเจ้าของข้อมูล ผู้ประมวลผลจะต้องจัดการตามคำร้องของเจ้าของ

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

          เพื่อให้ตอบโจทย์มาตรา 19 ที่ว่าผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระทำการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล ส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้กระทำได้

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

          เพราะเรารู้ว่าทุกนาทีสำคัญกับการทำงานของคุณ ทั้งหมดนี้ก็คือกระบวนการทำทั้งหมดที่เราย่อมาให้จากตัวกฎหมาย พ..ให้ออกมาเป็นขั้นตอนการทำให้ง่ายขึ้นกว่าการต้องลงมือทำ อ่าน และทำความเข้าใจ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ด้วยตัวคุณเอง

Wanphichit Chintrakulchai

t-reg Founder

FREE EVENT

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

ร่วมฟังแนวทางเปลี่ยนความท้าทาย ให้กลายเป็นโอกาส ด้วยไกด์ไลน์การทำโครงการ PDPA ควบคู่กับ Digital Transformation โดย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี และกฎหมาย PDPA จาก t-reg พบกับผู้เชี่ยวชาญของ t-reg PDPA Platform ที่ให้คำปรึกษาพร้อมเทคโนโลยี ในการพาองค์กรชั้นนำของประเทศไทยมามากกว่า 50 องค์กร สำเร็จโครงการ PDPA แบบยั่งยืน

ลงทะเบียน

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

ร่วมฟังแนวทางที่ท่านจะได้รับทราบข้อมูลอัพเดทเกี่ยวกับตัวกฎหมาย และแนวทางการตรวจสอบในเชิง Audit ว่าองค์กรของท่านนั้นยังคงรักษามาตรการการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้เป็นอย่างดีหรือไม่ กฎหมายที่ออกเพิ่มเติมมาส่งผลต่อท่านอย่างไร และกระบวนการ Audit ที่เข้มข้น

ลงทะเบียน

RELATED POST

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

Case Study

7+1 บทเรียนเรื่อง Data Breach ที่โรงแรมควรรู้จากกรณี Marriott International

อ่านต่อ »

08/08/2022

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

t-reg knowledge

Consent Management (ระบบบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล) คืออะไรในกฎหมาย PDPA

อ่านต่อ »

11/23/2021

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

t-reg knowledge

10 เรื่องที่บริษัทประกันควรรู้เกี่ยวกับ PDPA X ธุรกิจประกันภัย เข้าใจกฎหมาย ธุรกิจไปได้ไกลกว่า

อ่านต่อ »

10/21/2022

เหตุใดจึงต้องทำ Data Processing

Case Study

Lesson Learned Amazon บริษัท E-commerce รายใหญ่อาจสูญเงิน 2.9 หมื่นล้านบาท เหตุ GDPR สั่งปรับฐานใช้พฤติกรรมของผู้บริโภคเพื่อการยิงโฆษณา

การประมวลผลข้อมูลจำเป็นต้องทำสิ่งใดบ้าง

การประมวลผลข้อมูลเป็นกระบวนการที่กระทำกับข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้ ซึ่งมีขั้นตอนการประมวลผล ข้อมูลเบื้องต้น 6 ขั้นตอน ได้แก่ " การทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการ ประมวลผลข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การเตรียมข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทาง สถิติ และการทำข้อมูลให้เป็นภาพ ”

การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) หมายถึงอะไร

การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน ข้อมูลโดยทั่วไปเกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระเบียบจากขบวนการนับหรือการวัด ไม่สามารถสื่อความหมายให้เข้าใจหรือใช้ประโยชน์ได้ การประมวลผลจึงเป็นวิธีการนำข้อมูล (Data) กลายสภาพเป็นสารสนเทศ (Information) ที่มี ...

การประมวลผลข้อมูลมีหน้าที่อย่างไร

การประมวลผล (Processing) คือ การกระทำต่อข้อมูลดิบ (Raw data) ในลักษณะใดก็ได้ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนเทศ (Information) การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ หมายถึง การนำข้อมูลที่เก็บไว้อย่างมีระบบ มาทำการวิเคราะห์ สรุปด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์กัน มีความหมายและมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่ง

การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) มี่กี่ขั้นตอน

Data Processing หรือเทคโนโลยีการประมวลผล คือกระบวนการหนึ่งในการจัดการกับข้อมูลจำนวนมากให้มาอยู่ในรูปของข้อมูลที่ต้องการ โดยต้องผ่านกระบวนการพื้นฐาน 3 ขั้นตอน นั่นคือ การนำเข้าข้อมูล (Input) การประมวลผลด้วยมนุษย์หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ (Process) จากนั้นจึงแสดงผลลัพธ์และส่งข้อมูลที่ผ่านการประมวลออกมาให้อยู่ในรูปแบบที่ ...