หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระ ภาษาไทย 2565

144

สำเนียงจะบอกว่าเป็นภาษาอะไร และผู้พูดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรกต็ ามภาษาถิ่นในประเทศไทยไม่ว่า
จะเป็นภาษาถิ่นเหนือ ถิ่นอีสาน ถิ่นใต้ สามารถสื่อสารเข้าใจกันได้ เพียงแต่สำเนียงแตกต่างกันไป
เทา่ นัน้

ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกว่า ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เป็นภาษาที่ใช้

ส่อื สารกันทัว่ ประเทศและเปน็ ภาษาท่ีใช้ในการเรยี นการสอน เพื่อให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ
ในการติดต่อสื่อสารสร้างความเป็นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาที่ใช้กันในเมืองหลวง
ที่ใช้ติดต่อกันทั้งประเทศ มีคำและสำเนียงภาษาที่เป็นมาตรฐาน ต้องพูดให้ชัดถ้อยชัดคำได้ตาม
มาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรือภาษาไทยมาตรฐานมีความสำคัญในการสร้างความเป็น
ปึกแผ่น วรรณคดีมีการถ่ายทอดกันมาเป็นวรรณคดปี ระจำชาติจะใช้ภาษาที่เป็นภาษาไทยมาตรฐาน
ในการสร้างสรรค์งานประพันธ์ ทำให้วรรณคดเี ปน็ เครื่องมือในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได้

ภาษาพูดกับภาษาเขยี น
ภาษาพดู เป็นภาษาท่ีใชพ้ ูดจากัน ไมเ่ ป็นแบบแผนภาษา ไมพ่ ิถพี ิถันในการใช้แต่ใช้สื่อสารกัน

ได้ดี สร้างความรู้สึกที่เป็นกันเอง ใช้ในหมู่เพื่อนฝูง ในครอบครัว และติดต่อสื่อสารกันอย่างไม่เป็น
ทางการ การใช้ภาษาพูดจะใช้ภาษาที่เป็นกันเองและสุภาพ ขณะเดียวกันก็คำนึงว่าพูดกบั บุคคลที่มี
ฐานะต่างกัน การใช้ถ้อยคำก็ต่างกันไปด้วยไม่คำนึงถึงหลักภาษาหรือระเบียบแบบแผนการใช้ภาษา
มากนกั

ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาที่ใช้เคร่งครัดต่อการใช้ถ้อยคำ และคำนึงถึงหลักภาษา เพื่อใช้ใน
การสื่อสารให้ถูกต้องและใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค
เลอื กใช้ถอ้ ยคำทเี่ หมาะสมกับสถานการณ์ในการสอ่ื สาร เปน็ ภาษาทีใ่ ช้ในพิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น การกล่าว
รายงาน กล่าวปราศรัย กล่าวสดุดี การประชุมอภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวังการใช้คำที่ไม่
จำเป็นหรือคำฟุ่มเฟอื ย หรอื การเล่นคำจนกลายเป็นการพูดหรือเขียนเล่นๆ

ภมู ิปัญญาท้องถนิ่
ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน (Local Wisdom) บางคร้งั เรียกว่า ภูมปิ ญั ญาชาวบ้าน เป็นกระบวนทัศน์

(Paradigm) ของคนในท้องถิน่ ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยูร่ อด
แตค่ นในท้องถนิ่ จะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ท่ีนำมาใช้
ในท้องถิ่นของตนเพื่อการดำรงชีวิตทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ผู้รู้จึงกลายเป็น ปราชญ์
ชาวบ้านทม่ี คี วามรูเ้ ก่ียวกบั ภาษา ยารกั ษาโรคและการดำเนินชีวิตในหมูบ่ ้านอย่างสงบสุข

145

ภมู ิปัญญาทางภาษา
ภูมปิ ญั ญาทางภาษาเป็นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมท้องถนิ่ บทเพลง สุภาษิต คำพงั เพยใน

แต่ละท้องถิ่น ที่ได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางสังคมท่ี
ต่างกนั โดยนำภมู ปิ ญั ญาทางภาษาในการสง่ั สอนอบรมพธิ กี ารต่าง ๆ การบนั เทิงหรือการละเล่น มกี าร
แต่งเป็นคำประพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนิทาน นิทานปรัมปรา ตำนาน บทเพลง บทร้องเล่น บทเห่
กลอ่ ม บทสวดตา่ ง ๆ บททำขวัญ เพ่อื ประโยชน์ทางสังคมและเป็นส่วนหนงึ่ ของวฒั นธรรมประจำถิ่น

ระดับภาษา
ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่คนในสังคมจะต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องกับสถานการณ์และโอกาสที่ใช้

ภาษา บคุ คลและประชุมชน การใช้ภาษาจงึ แบ่งออกเป็นระดับของการใช้ภาษาไดห้ ลายรูปแบบ ตำรา
แต่ละเลม่ จะแบ่งระดับภาษาแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของสัมพนั ธภาพของบคุ คลและสถานการณ์

การแบ่งระดบั ภาษาประมวลได้ดงั นี้
๑. การแบ่งระดับภาษาทเ่ี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ

๑.๑ ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาที่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการ
ประชมุ ในการกลา่ วสุนทรพจน์ เป็นตน้

๑.๒ ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาที่ไม่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการ
สนทนา การใช้ภาษาในการเขียนจดหมายถึงผู้คุ้นเคย การใช้ภาษาในการเล่าเรื่องหรอื ประสบการณ์
เป็นตน้

๒. การแบง่ ระดบั ภาษาท่ีเปน็ พิธีการกับระดบั ภาษาทไี่ ม่เปน็ พิธกี าร การแบ่งภาษาแบบนเี้ ป็น
การแบ่งภาษาตามความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลเปน็ ระดับ ดงั นี้

๒.๑ ภาษาระดบั พิธกี าร เปน็ ภาษาแบบแผน
๒.๒ ภาษาระดับกง่ึ พธิ กี าร เป็นภาษากงึ่ แบบแผน
๒.๓ ภาษาระดับทไ่ี มเ่ ป็นพิธีการ เป็นภาษาไม่เป็นแบบแผน
๓. การแบ่งระดับภาษาตามสภาพแวดล้อม โดยแบ่งระดับภาษาในระดับย่อยเป็น ๕ ระดับ
คอื
๓.๑ ภาษาระดบั พิธีการ เชน่ การกล่าวปราศรยั การกลา่ วเปดิ งาน
๓.๒ ภาษาระดับทางการ เช่น การรายงาน การอภิปราย
๓.๓ ภาษาระดับกง่ึ ทางการ เชน่ การประชุมอภิปราย การปาฐกถา
๓.๔ ภาษาระดบั การสนทนา เชน่ การสนทนากบั บุคคลอย่างเปน็ ทางการ
๓.๕ ภาษาระดบั กนั เอง เชน่ การสนทนาพูดคยุ ในหมูเ่ พอ่ื นฝูงในครอบครวั

146

วจิ ารณญาณ
วิจารณญาณ หมายถึง การใชค้ วามรู้ ความคิด ทำความเขา้ ใจเร่ืองใดเรือ่ งหนึง่ อยา่ งมเี หตผุ ล

การมีวิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณ์ในการพิจารณาตัดสินสารด้วยความรอบคอบ และอย่าง
ชาญฉลาดเปน็ เหตุเป็นผล

147

ภาคผนวก ข

คำส่ังโรงเรยี นบ้านวาวี

- คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนนวาวี
พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ
ปรับปรงุ ๒๕๖๐) และหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕

- คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
โรงเรียนบ้านวาวี (คำส่งั สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๒)

- คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียน
บ้านวาวี (คำส่งั โรงเรียนบ้านวาวี)

148

149

150

151

152

153

154

155

156

157

158

ภาคผนวก ค

ประกาศ/ คำส่ัง กระทรวงศกึ ษาธิการ

- คำสั่ง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
- คำสั่ง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑
- คำส่ัง ยกเลิกมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ัด สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระท่ี ๓
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปลยี่ นช่อื กล่มุ สาระการเรยี นรู้
- คำสั่ง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
- ประกาศ การบริหารจัดการหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
- ประกาศ การบรหิ ารจดั การเวลาเรยี นของสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

159

160

161

162

163

164

165

166

167

168

169

170

171

172

คณะผู้จัดทำ

คณะผจู้ ัดทำหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

๑. นายอนชุ ติ อนิ ตาวงค์ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
๒. นางสาวสรุ ัชญา พศิ าลไพโรจน์ ครผู ้สู อนรายวชิ าภาษาไทย
๓. นางสาวอรวรรณ ทองสุ ครูผ้สู อนรายวิชาภาษาไทย

คณะบรรณาธิการ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นวาวี
๑. วา่ ท่ีรอ้ ยเอกเสรี เช้อื อ้วน รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านวาวี
๒. นายรชั ชานนท์ วันเพญ็ หัวหนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ
๓. นางสาวสุรชั ญา พศิ าลไพโรจน์ หวั หนา้ งานพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
๔. นางสาวพลอยณชิ ชา เศรษฐปิติวงศ์

จดั พมิ พต์ ้นฉบบั หวั หน้างานพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
นางสาวพลอยณชิ ชา เศรษฐปิตวิ งศ์