เบิกค่าเช่าบ้านใช้อะไรบ้าง

สำหรับยอดการใช้จ่ายเดือน พ.ย. 2565 กรมบัญชีกลางได้เบิกจ่ายเงินให้แก่ร้านค้าที่ผู้มีสิทธินำบัตรสวัสดิการแห่งรัฐไปชำระค่าสินค้าอุปโภคบริโภค ค่าเดินทาง และค่าก๊าซหุงต้ม  ตั้งแต่วันที่ 1 - 30 พ.ย. 2565

Show

กรมบัญชีกลางอัปเดต บัตรสวัสดิการแห่งรัฐบัตรคนจน เดือนธันวาคม 2565 โอนเงินให้กับผู้ถือบัตร 13.17 ล้านราย อ่านรายละเอียดที่นี่

วันที่ 1 ธันวาคม 2565  กรมบัญชีกลาง สังกัดกระทรวงการคลัง ได้วางแผนโอนเงินบัตรสวัสดิการแห่งรัฐบัตรคนจน โดยโอนเงินให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐบัตรคนจน ที่มีจำนวน 13.17 ล้านราย  ล่าสุด กรมบัญชีกลางอัปเดตแผนการจ่ายเงินบัตรคนจนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐประจำเดือนธันวาคม 2565 ดังนี้

ทุกวันที่ 1 ของเดือน (ไม่สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และไม่สะสมในเดือนถัดไป)

  •  วงเงินซื้อสินค้า 200/300 บาทต่อเดือน
  •  ส่วนลดค่าซื้อก๊าซหุงต้ม 100 บาทต่อ 3 เดือน (25 ต.ค. – ธ.ค. 65)
  • ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ประกอบด้วย
  • ค่าโดยสารรถ บขส. 500 บาทต่อเดือน
  • ค่าโดยสารรถไฟ 500 บาทต่อเดือน
  • ค่าโดยสารรถ ขสมก./รถไฟฟ้า (MRT/BTS/ARL) 500 บาทต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่อาศัยอยู่ในเขต กทม. และปริมณฑล)

เบิกค่าเช่าบ้านใช้อะไรบ้าง

 

ทุกวันที่ 18 ของเดือน (สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้)

  • เงินชดเชยค่าไฟฟ้า ไม่เกิน 315 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่ได้ลงทะเบียนกับ กฟน. กฟภ. และกิจการไฟฟ้าสวัสดิการสัมปทานกองทัพเรือ ที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 315 บาทต่อเดือน)
  •  เงินชดเชยตามจำนวนเงินที่ชำระค่าน้ำประปา ไม่เกิน 100 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ที่ได้ลงทะเบียนกับ กปน. กปภ. ที่ใช้น้ำประปาไม่เกิน 315 บาทต่อเดือน จะได้รับเงินคืนค่าน้ำประปาไม่เกิน 100 บาท (ที่ได้ชำระเงินแล้ว) ส่วนที่เกินจาก 100 บาท ผู้ถือบัตรฯ เป็นผู้ชำระเอง)

 

ทุกวันที่ 22 ของเดือน (สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้)

  • เงินเพิ่มเบี้ยความพิการ 200 บาทต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ที่มีบัตรประจำตัวคนพิการและได้รับเงินเบี้ยความพิการ)

นางสาววารี แว่นแก้ว รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ในฐานะโฆษกกรมบัญชีกลาง เปิดเผยว่า สำหรับเดือนพฤศจิกายน 2565 กรมบัญชีกลางได้เบิกจ่ายเงินให้แก่ร้านค้าที่ผู้มีสิทธินำบัตรสวัสดิการแห่งรัฐไปชำระค่าสินค้าอุปโภคบริโภค ค่าเดินทาง และค่าก๊าซหุงต้ม ดังนี้ (ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 - 30 พฤศจิกายน 2565)

ลำดับ สวัสดิการ จำนวนเงิน (บาท)

1. สวัสดิการที่ให้เป็นวงเงินในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ

1.1 วงเงินค่าซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค 3,531,410,208.25

1.2 วงเงินส่วนลดค่าซื้อก๊าซหุงต้ม 50,215,302.00

1.3 วงเงินค่าโดยสาร ขสมก./BTS/MRT/Airport rail link 22,755,057.58

1.4 วงเงินค่าโดยสารรถบริษัทขนส่ง จำกัด (บขส.) 7,988,400.00

1.5 วงเงินค่าโดยสารรถไฟ 18,791,227.88

รวมจำนวนเงิน (1) 3,631,160,195.71

2. สวัสดิการที่ให้ผ่านกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (e-Money)

2.1 มาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ระยะที่ 1-2) 157,400.00

2.2 มาตรการสนับสนุนค่าใช่จ่ายช่วงปลายปี 191,500.00

2.3 มาตรการช่วยเหลือค่าเช่าบ้านสำหรับผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อย 18,400.00

2.4 มาตรการช่วยเหลือค่าเดินทางไปรับการรักษาพยาบาลฯ 31,000.00

2.5 มาตรการบรรเทาภาระค่าไฟฟ้า 168,399,508.38

2.6 มาตรการบรรเทาภาระค่าน้ำประปา 17,523,580.81

2.7 มาตรการชดเชยเงินให้แก่ผู้มีรายได้น้อยผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ

โดยใช้ข้อมูลจากจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มฯ (ระยะที่ 1 - 2) 1,007.24

2.8 มาตรการเพิ่มเบี้ยคนพิการ 32,600.00

2.9 มาตรการบรรเทาภาระค่าครองชีพให้แก่เกษตรกร 88,000.00

2.10 มาตรการบรรเทาค่าใช้จ่ายของพ่อแม่ช่วงเปิดปีการศึกษา 52,000.00

2.11 มาตรการพยุงการบริโภคของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 1,119,500.00

2.12 มาตรการมอบเงินช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุ 82,500.00

2.13 มาตรการช่วยเหลือการเลี้ยงดูบุตรแก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 20,100.00

2.14 การเติมเงินเข้ากระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในบัตรวงเงินค่าซื้อสินค้าอุปโภคที่จำเป็น 325,100.00

2.15 มาตรการเงินเพิ่มเบี้ยความพิการ ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 28 ม.ค. 2563 215,702,600.00

รวมจำนวนเงิน (2) 403,744,796.43

รวมจำนวนเงินทั้งสิ้น (1)+(2) 4,034,904,992.14

“ทั้งนี้ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ Call Center ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 0 2109 2345 หรือ Call Center กรมบัญชีกลาง 0 2270 6400 ในวัน เวลาราชการ" โฆษกกรมบัญชีกลาง กล่าว

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ 2565 หากเกิดอุบัติเหตุแล้วเราเป็นฝ่ายถูกสามารถเรียกร้องได้จากประกันของคู่กรณี กำหนดอัตราเคลมขั้นต่ำไว้ที่ 500 บาทต่อวัน 

เบิกค่าเช่าบ้านใช้อะไรบ้าง

หากเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน สิ่งหนึ่งที่คนใช้รถต้องทำก็คือติดต่อหาบริษัท ประกันภัยรถยนต์ของตัวเอง เพื่อให้เจ้าหน้าที่มาประเมินความเสียหาย เจรจาไกล่เกลี่ยว่าใครเป็นฝ่ายถูกหรือผิด และออกใบเคลม ซึ่งหลายคนอาจเข้าใจว่าขั้นตอนทุกอย่างจบลงเพียงแค่นี้ แต่จริง ๆ แล้วยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่บริษัทประกันรถยนต์มักไม่ค่อยบอก โดยเฉพาะสำหรับคู่กรณีที่เป็นฝ่ายถูก นั่นคือเรื่อง “ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ”

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ คืออะไร ?

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ คือ เงินสินไหมที่ทางบริษัทประกันภัยของผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดจะมีหน้าที่รับผิดชอบแทนตัวผู้ขับขี่ต่อคู่กรณีที่เป็นฝ่ายถูก ในระหว่างที่รถยนต์ต้องเข้าซ่อม หรือไม่สามารถใช้งานรถยนต์ได้ โดยผู้ที่เป็นฝ่ายถูกสามารถนำบิล ใบเสร็จค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เช่น ค่าแท็กซี่, ค่ารถเมล์ หรือค่ารถไฟฟ้า ในระหว่างที่ใช้งานรถยนต์ไม่ได้ มาทำเรื่องเบิกกับบริษัทประกันของคู่กรณีที่เป็นฝ่ายผิดได้ ซึ่งทางสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้กำหนดอัตราค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ 2565 ของรถยนต์แต่ละประเภทไว้ ซึ่งหากเราเป็นฝ่ายถูกสามารถเรียกร้องจากประกันภาคสมัครใจ (ประกันชั้น 1-3) ได้ดังนี้

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ
กำหนดอัตราขั้นต่ำเท่าไร ?

1. รถยนต์ส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่นั่ง กำหนดอัตราไม่น้อยกว่าวันละ 500 บาท

2. รถยนต์รับจ้างสาธารณะขนาดไม่เกิน 7 ที่นั่ง กำหนดอัตราไม่น้อยกว่าวันละ 700 บาท 

3. รถยนต์ขนาดเกินกว่า 7 ที่นั่ง กำหนดอัตราไม่น้อยกว่าวันละ 1,000 บาท

4. รถประเภทอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อ 1-3 เช่น "รถจักรยานยนต์" ให้เป็นไปตามข้อเรียกร้องและตกลงกันได้ โดยพิจารณาหลักฐานเป็นกรณีไป 

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ ใช้เอกสารใดบ้าง ?

  • เอกสารใบเคลม
  • เอกสารนำรถยนต์เข้าซ่อมที่กำหนดวันส่งรถ-รับรถไว้ชัดเจน
  • สำเนาทะเบียนรถยนต์
  • สำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์
  • สำเนาบัตรประชาชน
  • สำเนาใบขับขี่รถยนต์
  • เอกสารประกอบการใช้รถยนต์แต่ละวัน (ถ้ามี)
  • ใบเสร็จค่าเช่ารถ หรือค่าใช้จ่ายการเดินทางในระหว่างที่ใช้รถไม่ได้ (ถ้ามี)
  • สำเนาหน้าบัญชีธนาคาร
  • หนังสือเรียกร้องค่าขาดประโยชน์ระหว่างซ่อมรถ

หมายเหตุ บริษัทประกันภัยบางที่อาจใช้หรือไม่ใช้เอกสารบางอย่าง แต่ในเบื้องต้นควรเตรียมไปให้พร้อมทุกอย่าง จะได้ไม่เป็นการเสียเวลาในการติดต่อดำเนินการ

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ
มีขั้นตอนดำเนินการอย่างไร ?

  • แจ้งบริษัทประกันของคู่กรณีที่เป็นฝ่ายผิด เพื่อแจ้งความประสงค์ขอเบิกค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ
  • รวบรวมใบเสร็จ เอกสารค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ค่ารถเมล์ ค่ารถแท็กซี่ และค่ารถไฟฟ้า ที่เกิดขึ้นระหว่างที่ใช้งานรถยนต์ไม่ได้ เพื่อเป็นหลักฐานในการขอรับค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ
  • จัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ให้เรียบร้อย ตรวจสอบรายละเอียดความถูกต้อง และยื่นเอกสารกับบริษัทประกันภัย

เบิกค่าเช่าบ้านใช้อะไรบ้าง

 ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ
รวบถาม-ตอบหลายประเด็นที่หลายคนสงสัย

ถ้าทำเฉพาะประกันภัย พ.ร.บ. จะเรียกค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถได้ไหม ?

  • ประกันภัย พ.ร.บ. คุ้มครองคน ไม่คุ้มครองทรัพย์สิน ดังนั้นจะเรียกร้องค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถไม่ได้

เพราะเหตุใด คปภ. ถึงต้องกำหนดค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถขั้นต่ำ ?

  • เพื่ออำนวยความสะดวกให้การเรียกร้องของประชาชนรวดเร็วยิ่งขึ้น และลดปัญหาการร้องเรียน

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถขั้นต่ำ หมายถึง ?

  • ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถที่บริษัทประกันภัยต้องชดใช้เป็นจำนวนไม่น้อยกว่าที่กำหนดขั้นต่ำ เพื่อไม่ให้บริษัทประกันภัยเจรจาจ่ายในจำนวนที่ต่ำเกินไป

ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถอยู่ในกฎหมายใด พ.ร.บ. อะไรและมาตราไหน ?

  • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 ลักษณะมูลละเมิด บรรพ 2 (หนี้) > ลักษณะ 5 > หมวด 1 (ความรับผิดเพื่อละเมิด)

รถใช้เวลาในการซ่อมอู่ในเครือบริษัทเป็นเวลาทั้งหมด 107 วัน แต่ได้รับชดเชยเพียง 25 วัน ?

  • หลักเกณฑ์การเรียกร้องค่าขาดประโยชน์รถยนต์เกิดจากบริษัทประวิงการซ่อมหรือซ่อมล่าช้าเกินกว่าที่ควรจะเป็นโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร โดยปกติทั่วไปซ่อม 15-30 วัน แต่บริษัทซ่อมล่าช้าหรือส่งอะไหล่ล่าช้า ทำให้การซ่อมเกินเวลาถึง 45 วัน จะเรียกร้องเฉพาะส่วนที่เกินกว่าการสั่งซ่อมจริง แต่หากเป็นฝ่ายถูกสามารถเรียกร้องได้นับแต่วันทำละเมิด หากคิดว่าท่านไม่ได้รับความเป็นธรรมสามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงาน คปภ. ทุกจังหวัด

ตัวอย่างแบบฟอร์มคำร้อง
ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถระหว่างซ่อม

เบิกค่าเช่าบ้านใช้อะไรบ้าง

อย่างไรก็ตาม การเรียกร้องต้องไม่ลืมว่าค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถสามารถดำเนินการได้สำหรับผู้ที่เป็นฝ่ายถูกเมื่อเกิดอุบัติเหตุเท่านั้น ผู้ที่เป็นฝ่ายผิดไม่สามารถเรียกร้องค่าขาดประโยชน์จากบริษัทประกันภัยของอีกฝ่ายได้ และหากใครที่แจ้งความประสงค์เรียกร้องค่าขาดประโยชน์จาการใช้รถ แล้วถูกบริษัทประกันภัยบ่ายเบี่ยงหรือปฏิเสธการจ่ายสินไหม สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงาน คปภ.

เบิกค่าเช่าบ้านได้ตอนไหน

(๑) ตนเอง หรือคู่สมรส ได้ท าการผ่อนช าระค่าเช่าซื้อหรือผ่อนช าระเงินกู้เพื่อช าระ ราคาบ้านในท้องที่นั้น จะเบิกจ่ายได้เฉพาะบ้านหลังแรกเท่านั้น เว้นแต่บ้าน หลังที่เคยใช้สิทธิถูกทาลายหรือเสียหายเนื่องจากภัยพิบัติจนไม่สามารถพัก อาศัยอยู่ได้ ม. ๑๗ (๑)

การเบิกค่าเช่าบ้านมีกี่ประเภท

การเบิกเงินค่าเช่าบ้าน มี3 ประเภท ได้แก่ 1. เช่าบ้าน 2. เช่าซื้อบ้าน 3. ผ่อนชําระเงินกู้เพื่อชําระราคาบ้าน(ซื้อบ้าน/ปลูกสร้างบ้าน) จํานวนเงินที่สามารถเบิกได้= ราคาบ้านพร้อมที่ดิน x อัตราการผ่อนชําระเงินกู้ต่อเดือน วงเงินกู้ทั้งหมด Page 3 163 การใช้สิทธิในการเบิกเงินค่าเช่าบ้าน 1. กรณีเช่าบ้าน

เบิกค่าเช่าซื้อบ้าน ได้กี่หลัง

2. กรณีเช่าซื้อหรือผ่อนชําระเงินกู้เพื่อชําระค่าบ้าน - กรณีที่ตนเองหรือคู่สมรสเช่าซื้อบ้านหรือผ่อนชําระเงินกู้ เพื่อชําระราคาบ้านในท้องที่ เดียวกัน จะเบิกจ่ายได้เพียงหลังเดียวเท่านั้น เว้นแต่ บ้านที่เคยใช้สิทธิถูกทําลายหรือเสียหายเนื่องจากภัย พิบัติ

ข้าราชการสามารถเบิกค่าเช่าบ้านได้ไหม

มาตรา ๑๔ ให้ข้าราชการมีสิทธิได้รับเงินค่าเช่าบ้านข้าราชการตั้งแต่วันที่ข้าราชการ ผู้นั้นได้เช่าอยู่จริง แต่ไม่ก่อนวันที่รายงานตัวเพื่อเข้ารับหน้าที่ และให้สิ้นสุดในวันที่ขาดจากอัตรา เงินเดือนหรือวันที่อยู่ในข่ายหมดสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการตามพระราชกฤษฎีกานี้ ถ้าผู้ซึ่งได้รับ แต่งตั้งให้ไปรับราชการในท้องที่อื่นไม่ ...