โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม
โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม
โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม
 ��о��ʵԡ ��д�ɰ��繢ͧ�����㹺�ҹ

���¤��� ���ҧ���䫵� ���ҹ������ ����ҹ������������´�� ��੾�� ����·�����ҧ��ä� ���ԵáѺ����Ǵ���� ��ù���ʴط��������¡�ѹ��Ң�� �ҡ����ö����Ť���������Ѻ�ѹ�� ��觹�� �Ъ����š�ͧ�����������������ҧ�ҡ ��੾�� ��л������Ǵ���ʵԡ ����������繡ѹ�ҡ��� ���㹶ѧ��� ������觷�ͧ������Ҹ�ó� ������ �ҡ��¡��¡ͧ ���������� �ҡ��Ҫ��¡ѹ�Դ�鹹�ѵ��������� �Ѻ�Ǵ����ҹ�� �һ���ء���繢ͧ�� �ͧ���觺�ҹ
����Ѻ�ѹ��� ��觻�д�ɰ� ���ҧ��纹��ʹ� �繡�÷�����Ҵ �ҡ�Ǵ����Ѵ�� ����Ҵ�ѧ����� ���������Ѻ��᷹ ����Ҵ�ҧ�о���� ����Ҵ����� �������Ѻ��Ҵ��Ъ���˭� ���� ����������������Ѻ��á�Ҵ������㹺�ҹ ���ͧ������ʴؾ��ʵԡ ��������͹��� �����Ф�Ѻ �Ҵ��Ը� ��鹵͹��÷ӡѹ���

��觻�д�ɰ� �� : Recicloteca

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม

�ػ�ó������

1.�Ǵ����Ѵ�� ��Ҵ 1.5 � 2 �Ե� �ӹǹ 3 �Ǵ
2. ��������Ҵ �س�Ҩ��������� ���� ����� ��ǻ���ҳ 1.5 � 2 ���� �������Ѻ�����������
3. ���� , �դѴ����
4. ���ҹ���
5. �Ǵ
6. ��͹
7. ���

��鹵͹��÷�����Ҵ

  • ������ػ�ó� ��������� ����������ѹ��¤�Ѻ ��鹵͹�á �ӡ���л����ù���Թ����͡��͹ �ҡ��� �ӡ�õѴ���¢Ǵ ����繰ҹ����Ѻ����׹
  • ����� �Ѵ������������ �������ҧ�ͧ��� 0.5 ��. ������Ѵ�ҡ���� ���֧����駢ͧ�͢Ǵ �Ѵ���ú�������ͺǧ
  • �Ѵ�ҡ����͡ 㹡óյ�����ҧ��� �����Ǵ 2 �Ǵ������ѹ �ҡ�س�Դ����ѧ�������§�� �Ҩ��Ǵ���� �����������鹾��ʵԡ�ҡ��觢��
  • �Ǵ�ش���� ����繢Ǵ�������͡�ش ����ͧ�Ѵ�ҡ�Ǵ ���е�ͧ�������ǹ��� �������͡Ѻ��������Ҵ

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม

  • �Ѵ�Ǵ�ա 1 �Ǵ ���੾����ǹ�ͧ��ҹ�� �ҡ�ҡ�Ǵ ��������ǹ��任���ҳ 5 ��. ������Ѻ�繵���ִ�� ���������鹻��¾��ʵԡ �ҹ�͡�ҡ�ѹ
  • �����ҹ����� ��������Ǵ�������������� �������ҹ�ͧ�������Ҵ���ʵԡ �ִ�Ѻ�蹡ѹ 㹢�鹵͹��� �Ҩ�����Ҫ��� ���ͤ����дǡ�ҡ��觢��
  • ���������ǹ�ͧ�������Ҵ���� �ӡ���������Ѻ��ҡѺ�ҡ�Ǵ���ʵԡ �ҡ��鹷ӡ�õ͡�лٴ��¤�͹ �����Ҩ��ʡ�ٹ�͵ �����蹡ѹ

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม

����� ; http://www.banidea.com/swab-plastic-bottles-diy/

โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม
โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม
��Ѻ��ا����� 3 ���Ҥ� 2555
โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม


© �������䫵� �� �ҧ��ǡ�ó���� �������õ� © �ͺ��������ž�ѧ�ҹ �ҧ�������ѵ�� �Ţع��Ѿ��
E-mail :
โครงงานไม้กวาดจากขวดพลาสติก บรรณานุกรม
�ç���͹��ѡ���ѧ�ҹ�������Ǵ���� ����Է����¢͹��
123 �. �Ե��Ҿ �.����ͧ �.���ͧ �.�͹�� 40002
���Ѿ�� : 043-202-339   ���Ѿ����Ͷ�� 081-4711847

��§ҹ�����������


โครงงานวิทยาศาสตร์ ดา้ นส่ิงแวดล้อม ประเภท นวัตกรรมจากขยะ เร่อื ง ไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสติก(ยดื ได้) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จัดทำโดย นางสาล่ี บวั ภบิ าล รหสั ประจำตวั นกั ศึกษา 6313-00021-0 นายร่งุ เพชร ร่มโพธ์ิชี รหสั ประจำตวั นักศึกษา 6313-00066-7 นางสาวเรวดี เรืองศรี รหัสประจำตวั นกั ศึกษา 6312-00040-4 นายฤทธินนท์ แสงศร รหสั ประจำตวั นกั ศึกษา 6423-00028-3 นางพเยาว์ ทับทิมขาว รหสั ประจำตวั นักศึกษา 6313-00071-5 อาจารยท์ ีป่ รึกษา อาจารย์ศิริพร ศรหี ริ ัญ รหสั กลมุ่ 769 ชอ่ื กลุ่ม อ.ศิริพร ภาคเรียนที่ 2 ปก� ารศึกษา 2564 สถานทพ่ี บกลุม่ กศน.ตำบลสาลี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางปลาม้า สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั สุพรรณบรุ ี

ก ชอ่ื โครงงาน ไมก้ วาดจากขวดนำ้ พลาสติก(ยดื ได)้ ผจู้ ัดทำ นางสาลี่ บวั ภบิ าล นายรงุ่ เพชร ร่มโพธชิ์ ี นางสาวเรวดี เรอื งศรี นายฤทธินนท์ แสงศร นางพเยาว์ ทับทิมขาว ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ครูทปี่ รึกษา อาจารยศ์ ริ ิพร ศรหี ิรัญ สถานศึกษา กศน.ตำบลสาลี ท่อี ยู่ หม่ทู ี่ 2 ตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี โทร 086-174-2416 ระยะเวลาในการทำโครงงาน เดอื นมกราคม - เดือนกุมภาพันธ์ 2565 บทคดั ย่อ ป�ญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในป�จจุบัน ส่วนหนึ่งเป�นผลมาจากปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้น จากการอุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน ป�จจุบันนิยมการใช้ขวดพลาสติกในการบรรจุอาหารและ เครื่องดื่มเป�นจำนวนมาก เนื่องจากมีความสะดวกในการใช้งาน หาง่าย และมีราคาถูก ผลิตภัณฑ์ เหลา่ นี้จะทำใหเ้ กดิ ขยะมลู ฝอยพลาสติก ซง่ึ เป�นสาเหตปุ ระการหนึ่งที่กอ่ ให้เกดิ ป�ญหาสง่ิ แวดล้อม อีกป�ญหาหนึ่งที่พบ คือ จากการสำรวจบริเวณแหล่งที่อยู่อาศัย พบว่า มีขยะประเภทขวด พลาสตกิ อย่เู ป�นจำนวนมาก ไม่มกี ารนำไปกำจัด ทำให้เกิดปญ� หาขยะขวดพลาสติกลน้ กระจายอยู่เป�น ส่วนมากตามบริเวณแหล่งที่อยู่อาศัย จึงคิดวิธีแก้ไขป�ญหาโดยการนำขวดพลาสติกมาสร้างเป�นไม้ กวาดจากขวดน้ำพลาสตกิ วัตถุประสงค์ของโครงงานครั้งนี้ เพื่อประดิษฐ์ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติก เพื่อเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพระหว่างไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญ้า และเพื่อนำขยะประเภทขวดพลาสติกที่ไม่ได้ใช้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด และมีส่วนช่วยในการลด ปญ� หาภาวะโลกรอ้ น จากการดำเนินงานพบว่า สามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกได้ ไม้กวาด จากขวดน้ำพลาสติก สามารถใช้งานได้จริง วิธีการไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถปรับระดับการใช้งานได้ ความเหมาะสม และจากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาด ทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญ้า พบว่า ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกมีประสิทธภิ าพที่ดกี ว่าไม้ กวาดทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญ้า เป�นการนำขยะประเภทขวดพลาสติกมารีไซเคิลให้เกิด ประโยชนส์ ูงสุด อกี ทั้งยังสามารถผลติ เพ่ือนำไปจำหน่าย เพอ่ื เพม่ิ รายได้

ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติก(ยืดได้) สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเพราะได้รับความ ร่วมมือ ช่วยเหลือจากบุคคลหลายท่านที่ได้ให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นที่เป�นประโยชน์ต่อโครงงาน อย่างย่ิง คณะผู้จัดทำขอขอบคุณอาจารย์หญิงศิริพร ศรีหิรัญ อาจารย์ที่ปรึกษาในการทำโครงงาน ครง้ั น้ี ทเี่ สยี สละเวลาถา่ ยทอดความรู้ทีเ่ ข้าใจง่าย เพอื่ ประยุกต์ใชใ้ นการทำโครงงาน คอยให้คำแนะนำ ช่วยเหลอื และตรวจสอบแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาในการทำโครงงาน สนับสนนุ สถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จำเป�นต้องใช้ในระหว่างการทำโครงงาน ทำให้โครงงานเล่มนี้ มคี วามสมบรู ณ์ยงิ่ ขึน้ คณะผู้จดั ทำรู้สึกซาบซึ้งและขอขอบคณุ เปน� อย่างสงู มา ณ โอกาสน้ี สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือ แนะนำและประสานงาน ในสว่ นต่าง ๆ จนทำให้โครงงานน้ีประสบผลสำเรจ็ ไปไดด้ ว้ ยดี คณะผ้จู ดั ทำ

ค สารบัญ หน้า คำนำ บทคดั ย่อ.................................................................................................................................... ก กิตตกิ รรมประกาศ...................................................................................................................... ข สารบัญ....................................................................................................................................... ค สารบัญภาพ ............................................................................................................................... ง สารบัญตาราง............................................................................................................................. จ บทท่ี 1 บทนำ............................................................................................................................ 1 1.1 ความเปน� มาและความสำคญั .................................................................................. 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ .......................................................................................................... 1 1.3 สมมตฐิ าน .............................................................................................................. 2 1.4 ขอบเขตการศกึ ษา.................................................................................................. 2 1.5 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ..................................................................................... 2 บทท่ี 2 เอกสาร/ทฤษฎ/ี หลักการเก่ยี วข้อง .............................................................................. 3 2.1 การประดิษฐ์ (Invention)...................................................................................... 3 2.2 พลาสตกิ ................................................................................................................. 3 2.3 รไี ซเคิล (Recycle)………………………………………………………………………………………… 3 2.4 องค์ความรู้และทักษะเก่ยี วกับการประดิษฐ์ไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสติก เชือ่ มโยงกับหลกั สะเต็มศกึ ษา…………………………………………………........................... 8 2.5 โครงงานที่เกยี่ วข้อง…………………………………………………......................................... 10 บทที่ 3 อุปกรณแ์ ละวิธีการศึกษา ............................................................................................. 11 3.1 วัสดุอุปกรณ์............……………………………………………………………………………………… 11 3.2 วิธีการและลำดับขั้นตอนการทำโครงงาน…………………………………………………………. 11 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา................................................................................................................. 14 4.1 การเปรียบเทยี บประสทิ ธิภาพของไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสตกิ กับไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญา้ ........................................................ 15 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล................................................................................................ 16 5.1 สรปุ ผลและอภิปรายผล.......................................................................................... 16 5.2 ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................... 16 บรรณานุกรม.............................................................................................................................. 17 ภาคผนวก................................................................................................................................... 18

ง สารบัญภาพ ภาพที่ หนา้ ภาพท่ี 1 ไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสตกิ (ยืดได้).............................................................................…. 14 ภาพที่ 2 วสั ดุอปุ กรณ์ (1) – (7) ...…………………………………………...........………………………………… 19

จ สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า ตารางที่ 1 การบูรณาการโครงงานเรอ่ื งไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสติก เกย่ี วกับหลกั การสะเตม็ ศกึ ษา………………………………………………………………….……..………………..… 9 ตารางที่ 2 เปรยี บเทียบประสิทธิภาพของไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติก กับไม้กวาดทางมะพรา้ วและไม้กวาดจากดอกหญา้ ………………………..……………………………..……… 15

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเป�นมาและความสำคัญของป�ญหา ป�ญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในป�จจุบัน ส่วนหนึ่งเป�นผลมาจากปริมาณขยะที่เพิ่มมากข้ึน จากการอุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน ป�จจุบันนิยมการใช้ขวดพลาสติกในการบรรจุอาหารและ เครื่องดื่มเป�นจำนวนมาก เนื่องจากมีความสะดวกในการใช้งาน หาง่าย และมีราคาถูก ผลิตภัณฑ์ เหลา่ น้ีจะทำใหเ้ กดิ ขยะมลู ฝอยพลาสตกิ ซงึ่ เปน� สาเหตปุ ระการหนึ่งทกี่ อ่ ให้เกิดป�ญหาสิง่ แวดล้อม อีกป�ญหาหนึ่งที่พบ คือ จากการสำรวจบริเวณแหล่งที่อยู่อาศัย พบว่า มีขยะประเภทขวด พลาสติกอยู่เป�นจำนวนมาก ไม่มีการนำไปกำจัด ทำให้เกิดป�ญหาขยะขวดพลาสติกล้นกระจายเป�น สว่ นมากตามบรเิ วณแหลง่ ทอี่ ยู่อาศยั และจากการศึกษาข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม พบว่า ศักยภาพของวัสดุเหลอื ใช้ที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชนไ์ ด้จากมูลฝอยทีเ่ ก็บได้ ในกรงุ เทพมหานครและจังหวัดตา่ ง ๆ ทวั่ ประเทศไทยมปี ระมาณร้อยละ 16-34 ของปริมาณมูลฝอยท่ี เก็บได้ แต่มีเพียงร้อยละ 7 หรือประมาณ 2,360 ตันต่อวันเท่านั้นที่มีการนำกลับมาใช้ประโยชน์ การนำกลับมาใช้ใหม่ จึงเป�นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับชีวิต เพิ่มคุณค่าให้กับสิ่งแวดล้อม และช่วยถนอมรักษาทรพั ยากรธรรมชาติของโลกไวไ้ ดด้ ีทสี่ ุด จากป�ญหาข้างต้น คณะผู้จัดทำจึงคิดวิธีแก้ไขป�ญหาโดยการนำขวดพลาสติกมาสร้างเป�นไม้ กวาดจากขวดน้ำพลาสติก เพอื่ ลดป�ญหาขยะประเภทขวดน้ำพลาสติกและขยะมูลฝอยประเภทต่าง ๆ เพื่อให้มีส่วนช่วยในการลดป�ญหาภาวะโลกร้อนและยังเป�นการนำเอาของที่เหลือใช้มาทำให้เกิด ประโยชน์ และมีมูลค่ามากขึ้น คณะผู้จัดทำได้นำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ท่ีได้ศึกษาค้นคว้า เรื่องการรีไซเคิล เพื่อเกิดเป�นองค์ความรู้ เพิ่มประสบการณ์ การเรียนรู้ผ่านห้องเรียนเศรษฐกิจ พอเพียง และกระบวนการเรียนร้แู บบสะเต็มศกึ ษา 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ประดษิ ฐ์ไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสติก 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหวา่ งไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาดทางมะพรา้ ว และไมก้ วาดจากดอกหญา้ 3. เพื่อนำขยะประเภทขวดพลาสติกที่ไม่ได้ใช้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และมีส่วนช่วยใน การลดปญ� หาภาวะโลกร้อน

2 1.3 สมมติฐาน ถ้าไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกสามารถใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพมากกว่าไม้กวาด ทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญ้า จะมีส่วนช่วยในการลดป�ญหาภาวะโลกร้อน ลดปริมาณขยะ และลดคา่ ใชจ้ า่ ยภายในบา้ นได้ 1.4 ขอบเขตการศกึ ษา โครงงานนี้เป�นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ โดยผู้จัดทำสนใจในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ไมก้ วาดจากขวดน้ำพลาสติก โดยมีขอบเขตการศึกษาดังน้ี 1. ศกึ ษาวัสดทุ ต่ี อ้ งใช้ การทำงานอุปกรณ์ท่ีต้องใชใ้ นการสร้างสิง่ ประดิษฐ์ 2. ออกแบบไมก้ วาดจากขวดนำ้ พลาสติก และทดสอบการทำงานกอ่ นนำไปใช้จริง 1.5 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั 1. ประดิษฐ์ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกได้ 2. ไดร้ ู้และเข้าใจถงึ การทำงานอปุ กรณท์ ี่ตอ้ งใช้ในการสรา้ งสิง่ ประดิษฐ์ไดเ้ ป�นอย่างดี 3. สามารถใชง้ านดีกวา่ ไมก้ วาดทางมะพรา้ วและไมก้ วาดจากดอกหญ้า 4. สามารถซอ่ มแซมได้งา่ ย หากเกดิ การชำรดุ 5. ลดค่าใช้จ่ายภายในบ้านได้โดยที่ไม่ต้องซื้อไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญ้า และยงั สามารถทำจำหนา่ ยเพ่ือสรา้ งรายได้ 6. มีส่วนช่วยในการลดปริมาณขยะ เป�นการนำวัสดุเหลือใช้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดป�ญหาภาวะโลกรอ้ น 7. สามารถนำไปปรับปรงุ ตอ่ ยอดหรือพฒั นาในการทำประโยชน์จากขยะประเภทขวดพลาสติก ได้

3 บทท่ี 2 เอกสาร/ทฤษฎ/ี หลกั การเก่ยี วข้อง จากการจดั โครงงานเรือ่ งไมก้ วาดจากขวดน้ำพลาสตกิ (ยืดได้) ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เอกสาร ดงั นี้ 2.1 การประดิษฐ์ (Invention) การประดิษฐ์ (Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของ ผลติ ภัณฑ์ให้ดขี ้ึน หรอื ทำให้เกดิ ผลติ ภัณฑข์ น้ึ ใหม่ ท่ีแตกตา่ งไปจากเดมิ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ประดิษฐ-, ประดิษฐ์ มีที่มาจากคำ ภาษาบาลีและสันสกฤต และแปลความหมายของคำว่า ประดิษฐ์ ไว้ว่า ตั้งขึ้น, จัดทำขึ้น, คิดทำขึ้น, สรา้ งขึน้ , แต่งข้นึ 2.2 พลาสตกิ พลาสตกิ ทั่วไปทีเ่ ราคุ้นเคยและใช้กนั อยใู่ นปจ� จุบนั น้ีได้ถูกสังเคราะหข์ ึ้นดว้ ยฝม� ือมนุษย์ในช่วง ร้อยกว่าป�ทผ่ี ่านมานี้เองสำหรบั การใช้งานในด้านตา่ ง ๆเช่นบรรจุภณั ฑ์ อุปกรณข์ องใช้ และเคร่ืองมือ ตา่ งๆ หากเราจะย้อนกลับไปศึกษาประวัติการสังเคราะห์พลาสติกชนิดแรกของโลก คงจะต้องกลับไป เริ่มต้นที่ป� ค.ศ. 1863 เมื่อบริษัทผลิตลูกบิลเลียดในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้รางวัล 10,000 เหรียญแก่ผู้ที่สามารถหาวัสดุทดแทนงาช้างเพื่อใช้ในการทำลูกบิลเลียด ซึ่งในขณะนั้นเป�น กฬี าท่ีได้รับความนิยมสูง จงึ เปน� เหตใุ หช้ ้างปา่ ในแถบแอฟริกาจำนวนมากถูกล่าเพื่อเอางาจนเกือบสูญ พันธุ์ นายจอห์น เวสลีย์ ไฮเอตต์ (John Wesley Hyatt) ช่างไม้ชาวอเมริกาก็เป�นบุคคลหนึ่งที่สนใจ และพยายามค้นหาวัสดุที่สามารถนำมาใช้แทนงาช้าง หลังจากทำการทดลองอยู่หลายป� คืนหนึ่งเขา ได้รับอุบัติเหตุจากของมีคมบาดมือขณะทำการผสมขี้เลื่อยกับกาว เขาจึงใส่แผลด้วยคอลอเดียน (colodion) ยาสมานแผลซึง่ ทำจากไนโตรเซลลูโลสละลายอยใู่ นอเี ธอร์และแอลกอฮอล์ และดว้ ยความ บังเอิญเขาไดท้ ำยาหกลงบนพน้ื โต๊ะ เม่อื กลบั มาดูอีกคร้งั พบว่า ยาแห้งเปน� แผ่นเหนยี วๆ นายไฮเอตต์ทำการทดลองต่อจนพบว่าหากเติมการบูรลงไปในของผสมอีเทอร์จะได้วัสดุซ่ึง ต่อมาเรียกว่าเซลลูลอยด์ (celluloid) ซึ่งเป�นวัสดุที่มีสมบัติเหมาะสมในการนำมาทำเป�นลูกบิลเลียด และผลิตภัณฑ์ต่างๆ เนื่องจากมีสมบัติทนทานต่อน้ำมัน น้ำและกรด ใส หรือทำให้มีสีสันสวยงามได้ ง่าย และมีราคาถูก นิยมนำมาทำเป�นลูกบิลเลียด และคีย์เป�ยโนแทนงาช้างหรือทำหวีแทนกระดอง สัตว์ นอกจากนี้ยังนิยมนำมาทำเป�นเครื่องประดับ ปกเสื้อ กระดุม ของเล่นเด็ก และฟ�ล์มภาพยนตร์ และถ่ายภาพ จึงถือว่าเซลลูลอยด์เป�นพลาสติกกึ่งสังเคราะห์ชนิดแรกของโลกที่เกิดจากการปรับปรุง โครงสร้างของเซลลูโลสซึ่งเป�นวัสดุจากธรรมชาติ นับเป�นจุดเริ่มต้นของอุสาหกรรมพลาสติก แต่เนื่องจากเซลลูลอยส์ เป�นพลาสติกที่ติดไฟง่ายและระเบิดได้หากมีปริมาณหมู่ไนโตร (NO2) สูง

4 จึงไม่เป�นที่นิยมในเวลาต่อมา ทำให้วัสดุที่ทำจากเซลลูลอยส์หาได้ไม่ง่ายนักในป�จจุบัน แต่ยังนิยม นำมาทำเป�นลูกป�งปอง เซลลูลอยส์ที่ยังมีให้เห็นกันอยู่ส่วนใหญ่จะเป�นของเก่า ซึ่งเป�นที่ต้องการของ นกั สะสม ต่อมาในป� ค.ศ. 1907 นักเคมีชื่อ นายลีโอ เบคแลนด์ (Leo Baekeland) ได้ค้นพบวิธีการ ผลิตเบคเคอไลต์ (Bekelite) ซึ่งได้ชื่อว่าเป�นพลาสตกิ สังเคราะห์ชนิดแรกของโลกขึ้นเป�นครั้งแรกจาก สารอินทรยี ์โมเลกลุ เล็กๆ ซ่ึงเกิดจากการทำปฏกิ ริ ิยาระหว่างฟอร์มลั ดไี ฮด์และฟ�นอล เบคเคอไลต์ เป�น พลาสติกแข็ง ทนความร้อนได้ดี และสามารถขึ้นรูปให้มีรูปร่างต่างๆ ได้ตามแม่พิมพ์โดยใช้ความร้อน ทำให้มีสีสันสวยงามได้และมีราคาไม่แพง ในช่วงแรกเบเคอไลต์ถูกนำมาทำเป�นฉนวนเคลือบสายไฟ และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า ต่อมาใช้ผลิตเป�นผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน ของใช้ และเครื่องประดับต่าง ๆ มากมายที่มีสีสันสวยงาม และราคาไม่แพง และกลายเป�นวัสดุที่ได้ชื่อว่าถูกนำมาใช้งานในด้านต่างๆ นับพันอย่าง \"the material of a thousand uses\" ในช่วงทศวรรษที่ 30-40 จนกระทั่งในป� ค.ศ. 1942 ซึ่งเป�นช่วงที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เบเคอไลต์ถูกนำมาผลิตเป�นโทรศัพท์ แว่นตาสำหรับนักบิน และด้ามอาวุธต่าง ๆ จากผลิตภัณฑ์ที่มี สีสันต่าง ๆ ที่เคยมีมากมายกลับ กลายเป�นสีดำ จนกระทั่งสงครามสิ้นสุดลง เทคโนโลยีการฉีดขึ้นรปู พลาสติก (injection mold) ได้ถูกพัฒนาขึ้น และพลาสติกชนิดใหม่ ๆ เช่นไนลอน (nylon) ไวนิล (vinyl) หรืออะคริลิก (acrylic) ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการค้นคว้าวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ จึงมีการใช้ เบเคอไลต์น้อยลงอย่างมาก อย่างไรก็ตามป�จจบุ ันยังคงมีการใชเ้ บเคอไลต์เปน� สารเคลือบผวิ และผลิต ชิน้ ส่วนอุปกรณเ์ ครอื่ งใช้ไฟฟา้ ทีม่ ีคุณภาพและทนทานต่อความร้อนเป�นพเิ ศษ เครื่องใช้และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทำจากเบเคอไลต์ในอดีตได้กลับกลายมาเป�นของเก่าที่เป�นท่ี ต้องการของนักสะสมในป�จจุบัน ทำให้มีการทำของลอกเลียนแบบโดยใช้เรซินหรือพลาสติกชนิดอ่ืน เช่น อะคริลิก การเลือกซื้อเบเคอไลต์ที่เป�นของเก่าแท้ ๆ ต้องทดสอบโดยผู้ชำนาญ วิธีการท่ีดีที่สดุ ใน การตรวจสอบ คือ แช่ในน้ำอุ่น ถ้าเป�นเบเคอไลต์แท้จะมีกลิ่นคล้ายสารเคมี (ฟอร์มัลดีไฮด์) หากเป�น เซลลูลอยสจ์ ะมีกลิ่นเหมอื น วิกส์วาโปรับ (การบรู ) แต่ของลอกเลียนแบบจะไมม่ กี ลน่ิ ใด ๆ ประเภทของพลาสตกิ ตามสมบัตทิ างความร้อน สามารถแบง่ ออกเปน� 2 ประเภท คอื 1.เทอรโ์ มพลาสตกิ (Thermoplastic) โพลิเมอร์ประเภทนี้จะมีโครงสร้างโมเลกุลของสายโซ่โพลิเมอร์เป�นแบบเส้นตรงหรือแบบก่ิง สน้ั ๆ สามารถละลายได้ดีในตวั ทำละลายบางชนิด เมือ่ ไดร้ บั ความร้อนจะอ่อนตัว และหลอมเหลวเป�น ของเหลวหนดื เนือ่ งจาก โมเลกุลของโพลิเมอร์ที่พันกนั อยู่สามารถเคลื่อนที่ผ่านกันไปมาได้ง่ายขึน้ เมื่อ ได้รับความร้อน และเมื่อเย็นตัวลงก็จะแข็งตัว ซึ่งการหลอมเหลวและเย็นตัวนี้ สามารถเกิดกลับไป กลบั มาไดโ้ ดยไมท่ ำใหส้ มบตั ทิ างเคมีและทางกายภาพ หรอื โครงสร้างของโพลิเมอร์เปล่ยี นไปมากนัก

5 พลาสติกประเภทนี้สามารถขึ้นรูปโดยการฉีดขณะที่พลาสตกิ ถูกทำให้อ่อนตัวและไหลไดด้ ้วย ความร้อนและความดัน เข้าไปในแม่แบบที่มีช่องว่างเป�นรูปร่างตามต้องการ ภายหลังจากที่พลาสติก ไหลเข้าจนเต็มแม่พิมพ์จะถูกทำให้เย็นตัว และถอดออกจากแม่พิมพ์ ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่างตาม ต้องการ สามารถนำไปใช้งานได้ เมื่อใช้เสร็จแล้วสามารถนำกลับมารีไซเคิลได้โดยการบด และหลอม ด้วยความร้อนเพื่อขึ้นรูปเป�นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อีก แต่พลาสติกประเภทนี้มีข้อเสียและขีดจำกัดของ การใช้งาน คือไม่สามารถใช้งานที่อุณหภูมิสูงได้ เพราะอาจเกิดการบิดเบี้ยวหรือเสียรูปทรงไป ตัวอยา่ งเชน่ ขวดนำ้ ด่มื ไมเ่ หมาะสำหรบั ใช้บรรจนุ ำ้ ร้อนจดั หรือเดือด 2.เทอรโ์ มเซตต้ิง (Thermosetting) โพลิเมอร์ประเภทนี้จะมีโครงสร้างเป�นแบบร่างแห ซึ่งจะหลอมเหลวได้ในขั้นตอนการขึ้นรูป ครั้งแรกเท่านั้น ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีปฏิกิกริยาเคมีเกิดขึ้นทำให้เกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล ทำให้โพลิเมอร์มีรูปร่างที่ถาวร ไม่สามารถหลอมเหลวได้อีกเมื่อได้รับความร้อน และหากได้รับความ ร้อนสูงเกินไป จะทำให้พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุลแตกออก ได้สารที่ไม่มีสมบัติของความเป�น โพลเิ มอรต์ ่อไป การผลิตพลาสติกชนิดเทอร์โมเซตจะแตกต่างจากพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติกคือ ในขั้นตอนแรกต้องทำให้เกดิ ปฏิกริ ยิ าโพลิเมอไรเซชันเพียงบางสว่ น มกี ารเช่อื มโยงโมเลกุลเกิดข้ึนบ้าง เล็กน้อย และยังสามารถหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อน จึงสามารถขึ้นรูปภายใต้ความดันและ อุณหภูมิสูงได้ เมื่อผลิตภัณฑ์มีรูปร่างตามต้องการแล้ว ให้คงอุณหภูมิไว้ประมาณ 200-300 องศา เซลเซียส เพอ่ื ให้ได้โครงสร้างแบบร่างแหท่ีเสถียรและแข็งแรง สามารถนำผลติ ภัณฑ์ออกจากแบบโดย ไม่ต้องรอให้เย็น เนื่องจากผลิตภัณฑ์จะแข็งตัวอยู่ภายในแม่พิมพ์ ดังนั้นการให้ความร้อนใน กระบวนการผลิตพลาสติกเทอร์โมเซตกลับทำใหว้ ัสดแุ ข็งข้ึน ต่างจากกระบวนการผลิตพลาสติกเทอร์ โมพลาสติที่การให้ความร้อนจะทำให้พลาสติกนิ่ม และหลอมเหลว พลาสติกเทอร์โมเซตเมื่อใช้งาน เสร็จแล้วไม่สามารถนำมาผ่านการหลอมและผลิตเป�นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือรีไซเคิล (recycle) ได้อีก และถ้าให้ความร้อนมากเกินไป จะทำให้พลาสติกเกดิ การสลายตัวหรือไหม้ โดยไมเ่ กดิ การหลอมเหลว ตัวอย่างของพลาสติกในกลมุ่ นี้เช่น เบคเคอไลต์ และเมลามีน เปน� ต้น พลาสตกิ ทนี่ ิยมใช้มากในป�จจุบัน พลาสติกท่ถี ูกนำมาใช้ในปรมิ าณมากในป�จจุบันมีอยู่หลายชนิดทส่ี ามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ จึงมีการใส่สัญลักษณ์ตัวเลขเพื่อให้ง่ายต่อการแบ่งประเภทของพลาสติก ตัวเลขทั้ง 7 ตัวนี้ จะอยู่ใน สญั ลักษณร์ ูปสามเหลี่ยมทม่ี ลี กู ศรสามตวั วง่ิ ตามกันและมกั พบบริเวณก้นของภาชนะพลาสติก

6 1) โพลเิ อทธลิ นี เทเรฟทาเลต (Poly (ethylene terephthalate), PET) PET ทนแรงกระแทก ไม่เปราะแตกงา่ ย สามารถทำให้ใสมาก มองเหน็ สง่ิ ทบ่ี รรจอุ ยูภ่ ายในจึง นิยมใช้บรรจุน้ำดื่ม น้ำมันพืช และเครื่องสำอาง นอกจากนี้ขวด PET ยังมีสมบัติป้องกันการแพร่ผ่าน ของกา๊ ซได้เป�นอยา่ งดี จึงใช้เปน� ภาชนะบรรจนุ ้ำอัดลม PET สามารถนำกลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยนิยมนำมาผลิตเป�นเส้นใยสำหรับทำเสื้อกัน หนาว พรม และเสน้ ใยสงั เคราะหส์ ำหรบั ยดั หมอน หรือเส้ือสำหรับเล่นสกี 2) โพลเิ อทธิลนี ความหนาแนน่ สูง (High density polyethylene, HDPE) HDPE โพลิเอทธิลีนชนิดหนาแน่นสูงมีโครงสร้างโมเลกุลเป�นสายตรง ค่อนข้างแข็งแต่ยืดได้ มาก ไม่แตกง่าย ส่วนใหญ่ทำให้มีสีสันสวยงาม ยกเว้นขวดที่ใช้บรรจุน้ำดื่ม ซึ่งจะขุ่นกว่าขวด PET ราคาถูกขึ้นรูปได้ง่าย ทนสารเคมีจึงนิยมใช้ทำบรรจุภัณฑ์สำหรับน้ำยาทำความสะอาด แชมพูสระผม แป้งเด็ก และถุงหูหิ้ว นอกจากนี้ภาชนะที่ทำจาก HDPE ยังมีสมบัติป้องกันการแพร่ผ่านของความชื้น ไดด้ ี จึงใช้เปน� ขวดนมเพอื่ ยดื อายขุ องนมใหน้ านขึ้น HDPE สามารถนำกลบั มารไี ซเคลิ เพื่อผลติ ขวดตา่ งๆ เช่น ขวดใส่น้ำยาซกั ผ้า แท่งไมเ้ ทียมเพ่ือ ใช้ทำรัว้ หรอื มา้ นั่งในสวน 3) โพลไิ วนลิ คลอไรด์ (Poly (vinyl chloride), PVC) PVC เป�นพลาสตกิ แขง็ ใช้ทำท่อ เช่น ทอ่ น้ำประปา แตส่ ามารถทำใหน้ ิ่มโดยใสส่ ารพลาสติกไซ เซอร์ ใช้ทำสายยางใส แผ่นฟ�ล์มสำหรับห่ออาหาร ม่านในห้องอาบน้ำ แผ่นกระเบื้องยาง แผ่น พลาสติกปูโต๊ะ ขวดใส่แชมพูสระผม PVC เป�นพลาสติกที่มีสมบัติหลากหลาย สามารถนำมาใช้ผลิต ผลิตภัณฑ์อื่นได้อีกมาก เช่น ประตู หน้าต่าง วงกบ และหนังเทียม PVC สามารถนำกลับมารีไซเคิล เพื่อผลติ ท่อประปาสำหรบั การเกษตร กรวยจราจร และเฟอร์นเิ จอร์ หรอื มา้ น่งั พลาสติก 4) โพลเิ อทธลิ ีนความหนาแนน่ ตำ่ (Low density polyethylene, LDPE) LDPE เป�นพลาสติกที่นิ่ม สามารถยืดตัวได้มาก มีความใส นิยมนำมาทำเป�นฟ�ล์มสำหรับห่อ อาหารและห่อของ ถุงใส่ขนมปง� และถุงเย็นสำหรับบรรจอุ าหาร LDPE สามารถนำกลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยใช้ผลิตเป�นถุงดำสำหรับใส่ขยะ ถุงหูหิ้ว หรือ ถังขยะ 5) โพลโิ พรพิลนี (Polypropylene, PP) PP เปน� พลาสติกทแ่ี ข็ง ทนต่อแรงกระแทกได้ดี ทนตอ่ สารเคมี ความร้อน และนำ้ มัน ทำให้มี สีสันสวยงามได้ ส่วนใหญ่นิยมนำมาทำภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่อง ชาม จาน ถัง ตะกร้า หรือ กระบอกสำหรับใสน่ ำ้ แชเ่ ยน็

7 PP สามารถนำกลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยนิยมผลิตเป�นกล่องแบตเตอรี่รถยนต์ ชิ้นส่วน รถยนต์ เชน่ กนั ชน และกรวยสำหรับน้ำมนั 6) โพลสิ ไตรีน (Polystyrene, PS) PS เป�นพลาสติกที่แข็ง ใส แต่เปราะ และแตกง่าย ราคาถูก นิยมนำมาทำเป�นภาชนะบรรจุ ของใช้ เช่น เทปเพลง สำลี หรือของแห้ง เช่น หมูแผ่น หมูหยอง และคุ้กกี้ เนื่องจาก PS เปราะและ แตกง่าย จงึ ไมน่ ยิ มนำพลาสติกประเภทนมี้ าบรรจุน้ำดมื่ หรือแชมพูสระผม เนือ่ งจากอาจลื่นตกแตกได้ มีการนำพลาสติกประเภทนี้มาใช้ทำภาชนะหรือถาดโฟมสำหรับบรรจุอาหาร โฟมจะมี น้ำหนักทีเ่ บามากเน่ืองจากประกอบด้วย PS ประมาณ 2-5 % เท่าน้ัน สว่ นทีเ่ หลอื เป�นอากาศที่แทรก อยู่ในช่องว่าง PS สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ โดยนิยมผลิตเป�นไม้แขวนเสื้อ กล่องวีดีโอ ไม้บรรทัด หรือ ของใช้อนื่ ๆ 7) พลาสติกอ่ืนๆ ทไี่ ม่ใช่ 6 ชนดิ แรก หรอื ไมท่ ราบว่าเป�นพลาสตกิ ชนดิ ใด ป�จจุบันเรามีพลาสติกหลายชนิดให้เลือกใช้ พลาสติกที่ใช้ในครัวเรือนส่วนใหญ่สามารถนำ กลับมารีไซเคิลเพื่อหลอมใช้ใหม่ได้ การมีสัญลักษณ์ตัวเลข ทำให้เราสามารถแยกพลาสติกออกเป�น ชนดิ ตา่ งๆ เพอ่ื นำกลบั มารไี ซเคิลใช้ใหมไ่ ด้ง่ายข้นึ สำหรับพลาสติกในกลุ่มที่ 7 เป�นพลาสติกชนิดอื่นที่ไม่ใช่ 6 ชนิดแรก นอกจะมีตัวเลขระบุ แล้ว ควรใส่สัญลักษณ์ภาษาอังกฤษระบุชนิดของพลาสติกนั้นๆ ไว้ เพื่อสะดวกในการแยกและนำ กลบั มารีไซเคิล เชน่ โพลิคารบ์ อเนต (Polycarbonate, PC) 2.3 รีไซเคิล (Recycle) รีไซเคิล (อังกฤษ: Recycle) เป�นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป�นขยะ โดยนำไปผ่าน กระบวนการแปรสภาพ โดยเฉพาะการหลอม เพ่อื ใหเ้ ป�นวัสดุใหม่แล้วนำกลบั มาใช้ไดอ้ กี ซ่ึงวสั ดทุ ผี่ า่ น การแปรสภาพน้ันอาจจะเป�นผลติ ภัณฑ์เดิมหรือผลติ ภัณฑ์ใหม่ก็ได้ รไี ซเคิลมีความหมายต่างจาก รียูส (Reuse) ซงึ่ หมายถงึ การนำกลบั มาใชใ้ หม่โดยไมผ่ ่านกระบวนการแปรสภาพใดๆท้ังส้ิน ในความเข้าใจของคนบางกลุ่มนั้น การรีไซเคิลยังหมายถึง การนำวัสดุเหลือใช้กลับมา ปรับเปลี่ยนรูปแบบ หรือพัฒนารูปร่างใหม่ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่นๆ เช่น ขวดน้ำ พลาสติก หากนำมาใช้ใส่น้ำอีกครั้งเป�น การรียูส์ (reuse) แต่ถ้านำเอาขวดนำพลาสติกมาตัดให้เป�น กระป๋อง แลว้ นำไปใช้ตดั ดนิ บรรจุในถงุ หรือนำขวดพลาสติดมาตัดครึ่ง เปน� แจกันใสด่ อกไม้ หรอื เปน� ท่ี ใส่ปากกา มกั ถกู เรียกว่าเปน� การรไี ซเคลิ ขวดนำ้ พลาสตกิ

8 ต้นกำเนดิ ของการรีไซเคลิ การรีไซเคิลได้รับการปฏิบัติทั่วไปในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติโดยส่วนใหญ่ด้วยความ สนับสนุนที่ได้รับการบันทึกไว้ย้อนกลับไปในอดีตอันยาวนานในยุคของเพลโตเมื่อ 400 ป� ก่อน ครสิ ตกาล ในชว่ งระยะเวลาเมอ่ื ทรัพยากรเร่ิมหายากขึน้ นั้น, จากการศกึ ษาทางโบราณคดีเกี่ยวกับการ ทิ้งขยะของเสียในยุคโบราณแสดงให้เห็นว่า หลักฐานตัวอย่างขยะจากบ้านเรือนที่มีจำนวนปริมาณ เล็กนอ้ ย (เชน่ เถ้าเครอื่ งมือหกั และเคร่อื งปน� ดินเผา) ไดบ้ ง่ บอกถึงการที่มีขยะของเสียจำนวนไม่น้อยได้ ถกู นำกลับมาใช้ใหม่ในกรณที ไ่ี ม่มีวัสดใุ หมม่ าแทนของเดิม 2.4 องค์ความรู้และทักษะเกี่ยวกับการประดิษฐ์ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกเชื่อมโยงกับ หลักสะเต็มศกึ ษา สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education:STEM Education) คือ แนวทางการจัดการศกึ ษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ป�ญหาในชีวิตจริง รวมทั้ง การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป�นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ชว่ ยนกั เรยี นสรา้ งความเช่อื มโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการกบั ชวี ิตจริงและการทำงาน การจดั การเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษาเป�นการจัดการเรียนรูท้ ี่ไม่เน้นเพียงการทอ่ งจำทฤษฎหี รอื กฏทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ แต่เป�นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฏเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่กับ การพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคำถาม แก้ป�ญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ พร้อม ทงั้ สามารถนำข้อค้นพบน้ันไปใชห้ รือบูรณาการกับชีวติ ประจำวนั ได้ การจดั การเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเต็ม มีลกั ษณะ 5 ประการ ได้แก่ (1) เปน� การสอนท่เี นน้ การบูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาวิชาทั้ง 4 กับชีวิตประจำวัน และการทำอาชพี (3) เนน้ การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 (4) ท้าทายความคิดของนักเรยี น (5) เป�ดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และความเข้าใจท่ีสอดคล้องกับเนื้อหา ทั้ง 4 วิชา จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา คือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักและเห็น คุณค่าของการเรียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และเห็นว่าวิชา เหลา่ น้นั เปน� เรือ่ งใกล้ตวั ทสี่ ามารถนำมาใชไ้ ดท้ ุกวนั

9 ในการทำโครงงานเรื่อง ไมกวาดจากขวดน้ำพลาสติก สามารถบูรณาการความรู้เกี่ยวกับ หลักการสะเตม็ ศกึ ษา ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การบูรณาการโครงงานเรื่องไมกวาดจากขวดน้ำพลาสติก สามารถบูรณาการความรู้ เกยี่ วกบั หลกั การสะเตม็ ศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม 1. ศึกษาการการ 1. การวดั 1.การเลือกใชว้ ัสดุ กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ย่อยสลายของ คำนวณ ขนาด อปุ กรณ์ท่ี มี 6 ข้ันตอน ขยะพลาสตกิ ของไมกวาด เหมาะสมกบั การ 1. ระบปุ ญ� หา ปญ� หาการจดั การขยะ 2. วสั ดุ อุปกรณ์ จากขวด ใช้งานและช่วยใน ประเภทพลาสติกอยา่ งสร้างสรรค์ ที่ใชท้ ำไม้กวาด พลาสติก การลดปรมิ าณ 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง จากขวดพลาสติก ขยะดว้ ย กับปญ� หา ศึกษาเอกสารที่เกยี่ วขอ้ งกับ มคี ุณสมบัติ กระบวนการรี การประดิษฐไ์ มกวาดจากขวดพลาสติก รูปร่าง ความ ไซเคลิ 3. ออกแบบวธิ ีการแก้ปญ� หา ออกแบบไม ทนทาน 2. ประดษิ ฐไ์ ม กวาดจากขวดพลาสตกิ อยา งสรางสรรค วธิ ีการใชง้ าน กวาดจากขวด กำหนดวัสดทุ ่ใี ชอ ยา งเหมาะสม อย่างไร พลาสตกิ ไดอ ยา ง 4. วางแผนและดำเนนิ การแก้ป�ญหา 3. ศกึ ษาผลการ สรางสรรค มี กำหนดวิธกี ารเป�นลำดบั ขน้ั ตอนและ ความสวยงาม ใชไ้ มก วาดจาก เหมาะสมกบั การ ประดษิ ฐ์ไมกวาดจากขวดพลาสติก ใชงาน ขวดพลาสติก 3. การใช้ 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุง คอมพิวเตอร์ แกไ้ ขวิธีการแกป้ �ญหาหรอื ชนิ้ งาน สมาร์ทโฟนในการ หาค้นหาข้อมลู นำไมกวาดจากขวดพลาสติกไป ทดสอบการใชงาน และปรับปรุงแกไข หากพบป�ญหา 6. นำเสนอวิธีการแก้ป�ญหา ผลการ แก้ป�ญหาหรือชน้ิ งาน นำเสนอขนั้ ตอน ในการประดษิ ฐ์ไมกวาดจากขวด พลาสติก เพ่ือแกปญหาการจัดการ ขยะ ประเภทพลาสตกิ

10 2.5 โครงงานท่ีเก่ยี วข้อง บา้ นไอเดยี . คอลัมน์ : D.I.Y. ของแต่งบ้าน (ออนไลน์). 2552 : ไดแ้ บ่งป�นไอเดียการประดิษฐ์ ขยะพลาสตกิ ให้กลายเปน� ของใช้ภายในบ้าน เพ่ือลดขยะประเภทพลาสติกและเพมิ่ มูลคา่ ของขยะ โดย นำขวดพลาสตกิ มาประยุกตเ์ ป�นของใช้ภายในบ้าน ซง่ึ เหมาะกบั การใชภ้ ายนอกเช่นกวาดขยะชิน้ ใหญ่ หรอื ใบไม้ เนื่องดว้ ยวสั ดปุ ระเภทพลาสตกิ ไม่อ่อนตัว มาริสา มลู เมอื ง ,สุภารัตน์ สารวงศ์ ,กญั ฑาภรณ์ กนิ ร ,ดนยา เตป�น ,นภศร ตัน๋ สกลุ . 2561. ไดป้ ระดิษฐถ์ ังขยะจากขวดพลาสติกสามารถทำไดง้ ่าย เนือ่ งจากขวดพลาสตกิ มีรปู ทรงแปลกใหมส่ ะดุด ตา สามารถนำมาประดษิ ฐ์ได้เลยโดยไมต่ อ้ งแตง่ เติม หรือดัดแปลง เปน� เศษวสั ดุเหลอื ใช้ ทหี่ าได้ง่าย ทวั่ ไป และวิธที ำไม่ยากจนเกินไป มีความคงทนแข็งแรง สวยงาม ดงึ ดูดความสนใจน่ามอง ลดปรมิ าณ ขวดนำ้ พลาสติก สามารถนำไปใช้ท่บี ้าน ตามต้องการ เป�นการนำขยะพลาสติกกลบั มาใชใ้ หมใ่ หเ้ กิด ประโยชนส์ งู สุด เป�นการลดภาวะโลกร้อน ลดปริมาณการเผาขยะทำให้ลดแก็สพษิ ในอากาศ และเป�น การเพ่ิมมูลคา่ ให้กบั วสั ดุเหลือใช้

11 บทท่ี 3 อุปกรณแ์ ละวิธกี ารศกึ ษา โครงงานเรื่องไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติก(ยืดได้) มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์ไม้กวาดจาก ขวดน้ำพลาสติก เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาด ทางมะพร้าวและไม้กวาดจากดอกหญ้า เป�นการนำขยะประเภทขวดพลาสติกที่ไม่ได้ใช้ ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสดุ และมีส่วนช่วยในการลดป�ญหาภาวะโลกร้อน โดยมีขั้นตอนและรายละเอียดเก่ียวกบั วิธกี ารดำเนนิ งานดังนี้ วัสดุอุปกรณ์ วิธกี ารและลำดบั ขัน้ ตอนการทำโครงงาน 3.1 วสั ดุอปุ กรณ์ 1. ขวดนำ้ พลาสติก 2. กรรไกร/คตั เตอร์ 3. ไขขวง 4. นอ็ ตเกลยี วปลายแหลม 5. ไม้/เหล็ก 6. กาวซิลิโคน ป�นกาว 3.2 วธิ กี ารและลำดับขั้นตอนการทำโครงงาน 1. แกะปา้ ยแบรนด์สนิ คา้ ออก จากนนั้ ทำการตัดกน้ ขวดน้ำออก

12 2. ตัดคอขวดน้ำออก นำขวดน้ำพลาสตกิ 3 ขวดมารวมกนั หากยงั ไม่แน่นเพียงพอ สามารถ เพ่ิมขวดน้ำเพื่อให้มเี ส้นไม้กวาดมากขึ้น และขวดสดุ ทา้ ยคือขวดท่ีอย่นู อกสดุ ไม่ตอ้ งตัดปากขวด 3. ใชก้ รรไกร ตัดซอยขวดให้เป�นเส้น ๆ ความกวา้ งของเสน้ ประมาณ 0.5 เซนติเมตร เรมิ่ ตัด จากปลายจนถงึ มุมโคง้ ของคอขวดจนครบรอบขวดน้ำ 4. นำทง้ั สามขวด แลว้ นำมาซ้อนตอ่ ๆ กนั จากข้างใน แล้วใชน้ อ็ ตเจาะรู เพอ่ื ยึดฐานของเส้น ไมก้ วาดพลาสติก ท้ัง 3 ขวด ใหต้ ดิ กันใหแ้ นน่ 5. ทำการเจาะรูบริเวณคอขวดของขวดชั้นนอกสดุ และใส่ด้ามจับเขา้ กับปากขวดน้ำพลาสตกิ ท่ีทำเสรจ็ แล้ว ทำการไขน็อตเพ่ือยึดด้ามจับกับตวั เส้นพลาสตกิ ใหแ้ นน่

13 6. นำฝาขวด มาตกแตง่ บริเวรดา้ มจับ เพื่อให้สามารถแขวนได้

14 บทท่ี 4 ผลการศึกษา จากการดำเนินงานเร่ืองไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสตกิ (ยืดได้) พบว่าสามารถประดิษฐ์ไม้กวาด จากขวดน้ำพลาสติก ได้ สิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นขึ้นสามารถใช้งานได้จริง ใช้งานง่าย วิธีการไม่ยุ่งยาก ซบั ซอ้ น สามารถปรับระดบั การใช้งานไดค้ วามเหมาะสม ภาพที่ 1 ไม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสติก(ยดื ได้) จากการใช้งานของไมกวาดจากขวดนำ้ พลาสติก คือ หากต้องการทำความสะอาดตามพื้นทั่วไป สามารถใช้ไมกวาดจากขวดน้ำพลาสติกกวาดได้ทันที และถ้าหากต้องการทำความสะอาดในระดับที่ สูงขนึ้ สามารถปรับระดบั การใช้งานได้

15 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้ กวาดจากดอกหญ้า ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาด ทางมะพรา้ วและไมก้ วาดจากดอกหญ้า ประเภทของไมกวาด ขอ้ ดี ข้อเสยี ไมกวาดจากขวดน้ำพลาสติก 1. กวาดสิ่งของต่าง ๆ ทม่ี ีได้ 1. เข้าถงึ ซอกมุมต่าง ๆ ไดย้ าก ใช้กวาดน้ำได้ 2. ใช้งานไดท้ กุ พื้นที่ 3. มีขนาดเล็ก น้ำหนกั เบา 4. มีความทนทานตอ่ การใช้ งาน 5. สามารถปรบั ขนาดได้ตาม ความเหมาะสม ไม้กวาดทางมะพรา้ ว 1. กวาดสง่ิ ของต่างๆ ที่มี 1. มีขนาดใหญ่ มีน้ำหนักมาก นำ้ หนักเล็กนอ้ ยได้ ใชก้ วาดน้ำ 2. ทางมะพร้าวกห็ ักงา่ ยถ้าใช้ ได้ งานอย่างไม่ถกู ต้อง ไม่ทนทาน 2. ใช้งานบนพ้ืนที่ขรุขระได้ดี 3. กวาดไดเ้ ฉพาะบนพนื้ เทา่ นนั้ 4. ปรับระดับในการใช้งาน ไม่ได้ ไม้กวาดจากดอกหญ้า 1. มีขนาดเล็ก และมีน้ำหนัก 1. ไม่ทนต่อการใชง้ าน พงั งา่ ย เบา 2. กวาดไดเ้ ฉพาะพืน้ ทเี่ รียบ 2. เข้าถึงซอกมุมต่าง ๆ ได้งา่ ย เทา่ น้นั 3. กวาดได้เฉพาะบนพน้ื เท่านน้ั 4. ปรับระดบั ในการใชง้ าน ไมไ่ ด้

16 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล 5.1 สรุปผลและอภิปรายผล จากการจดั ทำโครงงานเรอื่ งไมก้ วาดจากขวดนำ้ พลาสตกิ (ยดื ได้) สรปุ ผลไดด้ งั นี้ 1. การสรา้ งสิ่งประดิษฐ์ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติก สามารถใชง้ านได้จรงิ ใชง้ านงา่ ย วิธกี าร ไมย่ งุ่ ยากซับซ้อน สามารถปรบั ระดบั การใชง้ านได้ความเหมาะสม 2. ประสิทธิภาพระหว่างไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกกับไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้กวาด จากดอกหญ้า พบว่า ไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสติกมีประสิทธภิ าพที่ดีกว่าไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้ กวาดจากดอกหญ้า เป�นการนำขยะประเภทขวดพลาสติกมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้งยัง สามารถผลติ เพ่ือนำไปจำหน่าย เพ่ือเพ่มิ รายได้ การสรา้ งส่ิงประดิษฐไ์ ม้กวาดจากขวดนำ้ พลาสตกิ โดยไม้กวาดจากขวดน้ำพลาสตกิ มลี กั ษณะเดน่ คอื 1. เปน� การนำขยะมารไี ซเคิลใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ 2. มีขนาดเลก็ ใชง้ านง่าย สามารถปรบั ระดับการใช้งานได้ตามความเหมาะสม 3. วัสดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการประดิษฐม์ รี าคาถูก หาได้งา่ ย 4. สามารถผลิตเพื่อนำไปจำหนา่ ย เพอ่ื เพมิ่ รายได้ 5.2 ข้อเสนอแนะ 1. พฒั นาเพ่ิมประสิทธภิ าพการใชง้ านไมก้ วาดจากขวดน้ำพลาสตกิ ให้ดียิง่ ข้ึนได้ 2. สามารถประยุกต์ใชเ้ พื่ออำนวยความสะดวกในงานดา้ นอน่ื ๆ ได้ 3. สามารถนำสงิ่ ประดษิ ฐ์ท่สี รา้ งข้นึ ขยายผลสู่ชุมชนได้ และอาจนำไปเป�นอาชพี เพอ่ื สร้าง รายได้

17 บรรณานุกรม กรมทรัพย์สินทางป�ญญา กระทรวงพาณิชย์. (2559). ความรู้เบือ้ งตน้ ดา้ นทรัพยส์ นิ ทางป�ญญา. กรุงเทพฯ: สืบคน้ เมือ่ 5 มกราคม 2565. เข้าถงึ ได้จาก https://www.ipthailand.go.th/images/633/book/basic_IP.pdf บ้านไอเดีย. (2552). D.I.Y. ไม้กวาด จากขวดนำ้ พลาสติก ขวดนำ้ อัดลม. สบื ค้นเม่ือ 5 มกราคม 2565. เข้าถึงได้จาก https://www.banidea.com/swab-plastic-bottles-diy/ มารสิ า มูลเมือง,สภุ ารัตน์ สารวงศ,์ กัญฑาภรณ์ กินร,ดนยา เตป�น,นภศร ตั๋นสกลุ . (2559). ถังขยะ จากขวดพลาสตกิ . สืบคน้ เม่ือ 5 มกราคม 2565. เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/thangkhyacakkhwdphlastik/home ศูนยเ์ ทคโนโลยแี ละวสั ดุแห่งชาต.ิ Bio Plastic พลาสติกย่อยสลายได.้ สบื คน้ เมื่อ 5 มกราคม 2565. เข้าถงึ ได้จาก https://www.mtec.or.th/bio-plastic/index.html สำนกั งานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554. สืบค้นเม่ือ 5 มกราคม 2565. เข้าถึงได้จาก https://dictionary.orst.go.th/ P-dit. (2557). ถงั ขยะ ทำจากขวดพลาสติก. สบื ค้นเม่ือ 5 มกราคม 2565. เขา้ ถึงได้จาก https://p-dit.com/2014/11/20/5893 Wikipedia. (2558). ก า ร แ ป ร ใ ช ้ ใ ห ม ่ . ส ื บ ค ้ น เ ม ื ่ อ 5 ม ก ร า ค ม 2565. เ ข ้ า ถ ึ ง ไ ด ้ จ า ก https://th.wikipedia.org/wiki/การแปลใชใ้ หม่

18 ภาคผนวก

19 (1) (2) (3) (4) (5) (6) ภาพท่ี 2 วัสดุอปุ กรณ์ (1) ขวดน้ำพลาสตกิ (2) กรรไกร/คตั เตอร์ (3) ไขขวง (4) นอ็ ตเกลียวปลายแหลม (5) ไม้/เหลก็ (6) กาวซิลโิ คน ปน� กาว

20

21

22