หนังสือรับรองบุตร ตัวอย่าง

วันที่นำเข้าข้อมูล 16 ก.พ. 2564

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 13 ต.ค. 2565

| 5,765 view

จดทะเบียนรับรองบุตร (ตามกฎหมายไทย)

สถานกงสุลใหญ่ ณ นครมิวนิก รับจดทะเบียนรับรองบุตรสำหรับบุคคลสัญชาติไทย โดยมีขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนการจดทะเบียนรับรองบุตร

หนังสือรับรองบุตร ตัวอย่าง

เอกสารที่ต้องนำมายื่น

  • คำร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตร (ดาวน์โหลด)
  • หนังสือเดินทางของบิดาและมารดา พร้อมสำเนา
  • บัตรประชาชนและทะเบียนบ้านไทยของมารดา  พร้อมสำเนา
  • บัตรประชาชนและทะเบียนบ้านไทยของบิดา (กรณีบิดามีสัญชาติไทย)  พร้อมสำเนา
  • สูติบัตรเยอรมันของบุตร แบบหลายภาษาที่ผ่านการรับรองจาก Regierungspräsidium พร้อมสำเนา
  • สูติบัตรไทยพร้อมสำเนา
  • บัตรประจำตัวประชาชนของพยานบุคคลจำนวน 2 คน พร้อมสำเนา

ค่าธรรมเนียม    ไม่เสียค่าธรรมเนียม

การจดทะเบียนรับรองบุตร เป็นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้บุตรนอกสมรสเป็นบุตร ที่ชอบด้วยกฎหมายของบิดา

เนื่องจากบุตรที่เกิดจากบิดาและมารดาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันจะเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของมารดาเท่านั้น มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของบิดา

บุตรที่มิชอบตามกฎหมายของบิดา จะเป็นบุตรที่ชอบตามกฎหมายของบิดาก็ต่อเมื่อ

  • บิดาและมารดาได้จดทะเบียนสมรสโดยถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งจะมีผลตั้งแต่วันที่สมรส
  • ศาลพิพากษาให้เด็กเป็นบุตร โดยชอบด้วยกฎหมายของบิดา ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด
  • บิดาได้จดทะเบียนรับรองบุตร ซึ่งจะมีผลตั้งแต่วันที่จดทะเบียน

ทั้งนี้การจดทะเบียนรับรองบุตรมารดาและบุตรต้องให้ความยินยอมด้วย และแม้บุตรจะมีอายุไม่ครบ 15 ปี ก็สามารถให้ความยินยอมได้ หากรู้และเข้าใจถึงการให้ความยินยอมหรือคัดค้านว่า ผู้ร้องเป็นบิดาของตนได้

ในกรณีที่มารดาหรือบุตรคัดค้านว่าบิดาผู้ขอจดทะเบียนรับรองบุตรไม่ใช่บิดา หรือไม่ให้ความยินยอม หรือไม่อาจให้ความยินยอมได้ และ ในกรณีบุตรเป็นผู้เยาว์ไร้เดียงสา หรือมารดาเสียชีวิตแล้ว นายทะเบียนไม่สามารถจดทะเบียนรับรองบุตรให้ได้ นอกจากจะได้ยื่นร้องต่อศาลให้มีคำพิพากษาให้บิดาจดทะเบียนรับรองบุตรได้มาแสดง

02-572-8442

วันทำการ : จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 16.30 น. (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)

กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ

Department of Consular Affairs

กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ

ตัวอย่างแบบฟอร์มเอกสารภาษาอังกฤษ

ตัวอย่างแบบฟอร์มเอกสารภาษาอังกฤษ

วันที่นำเข้าข้อมูล 26 พ.ย. 2562

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 2 ก.ย. 2565

| 265,746 view

สูติบัตร

ทะเบียนบ้าน

บัตรประจำตัวประชาชน

ข้อมูลส่วนบุคคลขณะขอมีบัตร

หนังสือรับรองการใช้คำนำหน้านาม

ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว

แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร

ใบสำคัญการสมรส

ทะเบียนสมรส

ทะเบียนหย่า

ใบสำคัญการหย่า

หนังสือสำคัญการจัดตั้งนามสกุล

หนังสือสำคัญการเปลี่ยนชื่อ

หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อ-สกุล

มรณบัตร

หนังสือรับรองการใช้อำนาจปกครองบุตร

หนังสือรับรองการใช้คำนำหน้านามหญิง

หนังสือรับรองสถานภาพการสมรส

หมายเหตุ

  ตัวอย่างคำแปลแบบฟอร์มการทะเบียนราษฎร การทะเบียนครอบครัว คำแปลแบบฟอร์มอื่น ๆ
    การแปลเอกสารต้องแปลให้สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฏในต้นฉบับเอกสารภาษาไทย
  ตัวอย่างการแปลนี้ใช้เป็นแนวทางในการแปลเท่านั้น
  ขอสงวนสิทธิ์สำหรับการตรวจแก้ใด ๆ โดยเจ้าหน้าที่


Copyright © 2020 Department of Consular Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

การจดทะเบียนรับรองบุตร

  • หนังสือรับรองบุตร ตัวอย่าง

Details

Details Parent Category: คู่มือการบริการ Category: ทะเบียนทั่วไป

คู่มือด้านทะเบียนทั่วไป > การจดทะเบียนรับรองบุตร  
    การจดทะเบียนรับรองบุตร เป็นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้บุตรนอกสมรสเป็นบุตร ที่ชอบด้วยกฎหมายของบิดา เนื่องจากบุตรที่เกิดจากบิดา และมารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันจะเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของมารดาเท่านั้น

ขั้นตอนการจดทะเบียนรับรองบุตร
    สามารถทำได้โดยให้บิดาเป็นผู้ยื่นคำร้อง ณ สำนักทะเบียนอำเภอ กิ่งอำเภอหรือสำนักงานเขต แห่งใดก็ได้ โดยนำหลักฐาน คือ

  • สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน ของบิดา มารดา และ บุตร
  • บัตรประจำตัวประชาชน ของบิดา มารดา สูติบัตรของบุตร ไปแสดง
  • พยานบุคคลจำนวน 2 คน

     ทั้งนี้การจดทะเบียนรับรองบุตรมารดาและบุตรต้องให้ความยินยอมด้วย ในกรณีที่มารดาหรือบุตรคัดค้านว่าบิดา ผู้ขอจดทะเบียนรับรองบุตรไม่ใช่บิดา หรือไม่ให้ความยินยอม หรือไม่อาจให้ความยินยอมได้ในกรณีบุตรเป็นผู้เยาว์ไร้เดียงสา หรือมารดาเสียชีวิตแล้ว นายทะเบียนไม่สามารถจดทะเบียนรับรองบุตรให้ได้ นอกจากจะได้ยื่นร้องต่อศาลให้มีคำพิพากษาให้บิดาจดทะเบียนรับรองบุตรได้ไปแสดง

       * การจดทะเบียนรับรองบุตรไม่เสียค่าธรรมเนียม