โครง งาน ตะกร้า จากเส้นพลาสติก doc

โครงงานวิทยาศาสตร์

เรือ่ ง การสานตะกรา้ จากหวาย

จดั ทาโดย

นายสุทธิพงศ์ ยามี เลขท่ี 7

นางสาวปัทมพร สารคาม เลขที่ 18

นางสาวกัลยาภรณ์ อนิ ตะ๊ อดุ เลขที่ 29

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3/1

เสนอ

คณุ ครพู รทิพย์ ยศโยธนิ

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

โรงเรยี นปา่ แดดวิทยาคม

กติ ตกิ รรมประกาศ
ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ คุณครูพรทิพย์ ยศโยธิน และ นายตั๋น
ปาระมี ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คาปรึกษาให้ความสะดวกในการทาโครงงาน และข้อเสนอแนะ
เก่ียวกับ แนวทางในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ขอบคุณเพื่อนในกลุ่มทุกคนทใี่ ห้ความช่วยเหลอื ตลอดจน
คาแนะนาทเี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการทาโครงงาน
คณะผู้จดั ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณทุกทา่ นอยา่ งสูงท่ใี ห้ การสนบั สนนุ เออ้ื เฟอื้ และให้
ความอนุเคราะห์ช่วยเหลอื จนกระทง่ั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ สาเร็จ และลลุ ว่ งไดด้ ้วยดี

คณะผู้จดั ทา

โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์ เรอ่ื ง การสานตะกรา้ หวาย

คณะผู้จัดทา

1.นายสทุ ธิพงศ์ ยามี

2.นางสาวปทั มพร สารคาม

3.นางสาวกลั ยาภรณ์ อินต๊ะอดุ

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/1

ครทู ่ปี รึกษา : คุณครูพรทิพย์ ยศโยธนิ

โรงเรยี นปา่ แดดวิทยาคม จงั หวดั เชยี งราย

บทคดั ย่อ

ทม่ี าและความสาคญั

ชอ่ื นายตนั๋ ปาระมี เกดิ วันท่ี 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2485 อายุ 77 ปี บ้านเลขท่ี 65 หมู่ท่ี 1 ต.หนอง
แรด อ. เทงิ จ.เชยี งราย บดิ าชอื่ นายหมู ปาระมี มารดาชื่อ นางปลอด ปาระมี ประวัติศนู ย์ จดุ เร่ิมตน้ มีการทา
เครื่องจกั รสาร จากหวาย ไม้ไผ่เป็นตะกรา้ ไซ สุ่ม เพื่อนามาใช้ในครวั เรือนชาวบ้านก็ทากันเรื่อยมา ในปีพ.ศ.
2533 ได้รวมกลุ่มจักรสารข้ึนมาในปีพ.ศ.2537 มีครูจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนได้เข้ามาสอนและก่อตง้ั
กลุ่มขึ้นมาอย่างเป็นรปู ธรรม โดยได้เข้ามาสอนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหส้ ารมารถนาไปจาหน่ายได้ โดยได้ทา
การสารวจความต้องการของชาวบา้ นที่ชาวบ้านต้องการความช่วยเหลอื ปจั จุบนั บา้ นมีสมาชิกทัง้ หมด 64 คน
ในปีพ.ศ. 2543 กรมส่งเสรมิ สหกรณไ์ ดจ้ ดั สง่ ไปศึกษาดูงานทีเ่ มืองทองธานี กรงุ เทพมหานคร และไดส้ นบั สนุน
การประสานงานกับสานกั งาน พัฒนาชมุ ชนอาเภอเทิง ไปศึกษาดูงานจากหลายแหล่งลวดลายท่ีใช้ในการจักร
สานในปัจจุบันได้รับการสืบทอดต่อกันมาจากผู้เฒ่าผู้แก่ เช่น ลายดีหมัด ลายดีหล่ม ลายดอกแก้ ว และแต่
ละลายใชใ้ จการผลติ ผลงานทแี่ ตกต่างกัน คอื ลายดีหมดั -ลายดอกแก้ว ใช้ทาขนั โตก และลายดหี ล่มและลายท่ี
ได้เรยี นรูม้ าใหม่ คือ ลายสองและลายสโุ ขทัย (ตะกร้าก้นแคบ ปากกว้าง รูปทรงวงรี ) ส่วนลวดทเี่ ป็นเอกลกั ษณ์
ของกลุ่มทคือ ลายสอง-หนองแรด (ตะกร้าวงรี) ลักษณะใชเ้ ส้นหวายขัดสารท้งั ใบด้วยลวดลายสอง-หนองแรด
วัตถุประสงค์ เพอ่ื เปน็ อาชพี ของตนเอง ลดรายจา่ ยเพิ่มรายไดใ้ นครัวเรือนและชุมชน เพ่ือเปน็ การใช้เวลาว่าง
ใหเ้ ป็นประโยชน์ เพ่อื ฝึกการทางานเปน็ กระบวนการกลุ่ม จากการศกึ ษา ผลปรากฏว่า ไมเ่ ป็นไปตามสมมตฐิ าน
คือ ตะกรา้ หวายมีความทนทานสามารถใช้ไดน้ าน รอ้ ยละ 75.00

สารบญั

เรือ่ ง หนา้
คานา ก
สารบญั ข
สารบัญตาราง ค
สารบัญภาพ ง
หลักการและเหตผุ ล 1
1
-หลกั การและเหตผุ ล 1
-วตั ถุประสงค์ 1
-ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน 1
-งบประมาณ 2
ขนั้ ตอนการดาเนินงาน 2
-การวางแผน 2
-การปฏบิ ัติงาน 2
-ประเมินผลการดาเนนิ งาน 2
-แนวทางการแก้ไขปัญหา 3
รายชือ่ แต่ละฝา่ ย 3
-ผู้กากบั /เขียนบท 3
-พิธกี ร/ผู้บรรยาย 3
-ฝา่ ยฉาก 3
-ฝ่ายแสง/ส/ี เสยี ง 3
-ฝา่ ยเส้อื ผ้า 3
-ฝ่ายนกั แสดง 4
-ฝา่ ยนักแสดงเบิกโรง 4
-เรขานุการ/เหรญั ญกิ 5
งบประมาณท่ไี ด้รับ 7
สรปุ ผลการประเมิน 7
-ตารางสรปุ ผลการประเมนิ 10
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง

ตาราง หนา้
ตารางท่ี 1ตารางสรปุ ผลประเมนิ 7

สารบัญภาพ หนา้
ภาพ 11
ภาพกิจกรรม 11
12
-การจัดฉาก 12
-ถา่ ยโปสเตอร์ 13
-การซอ้ มการแสดง 13
-การแสดงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563 13
14
-เปิดงานการแสดงละครสรา้ งสรรคป์ ระจาปกี ารศกึ ษา 2562 15
-การแสดงเบิกโรงของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3/2 16
-การแสดงละครเรอื่ งมากเกินไปของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3/1 17
-ผ้ชู มการแสดง
-จบการแสดง
-โปสเตอรล์ ะคร

บทท่ี 1

ที่มาและความสาคญั

ท่ีมาและความสาคญั
ช่ือนายตน๋ั ปาระมี เกิดวนั ท่ี 12 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ.2485 อายุ 77 ปี บ้านเลขท่ี 65 หมูท่ ี่ 1

ต.หนองแรด อ. เทิง จ.เชียงราย บดิ าชอื่ นายหมู ปาระมี มารดาชอ่ื นางปลอด ปาระมี ประวัตศิ นู ย์ จุดเรม่ิ ตน้
มีการทาเครือ่ งจกั รสาร จากหวาย ไมไ้ ผเ่ ปน็ ตะกรา้ ไซ สุ่ม เพอื่ นามาใช้ในครวั เรือนชาวบ้านก็ทากันเรื่อยมา ใน
ปีพ.ศ. 2533 ไดร้ วมกลมุ่ จกั รสารขนึ้ มาในปพี .ศ.2537 มีครจู ากศูนย์การศึกษานอกโรงเรยี นไดเ้ ข้ามาสอนและ
ก่อตงั้ กลุ่มข้นึ มาอย่างเปน็ รูปธรรม โดยได้เขา้ มาสอนและพัฒนาผลติ ภัณฑใ์ หส้ ารมารถนาไปจาหน่ายได้ โดยได้
ทาการสารวจความต้องการของชาวบ้านท่ีชาวบา้ นตอ้ งการความชว่ ยเหลือ

เรม่ิ ต้นมผี เู้ รียนทัง้ หมด 8 คน คือ
1.นายตั้ง ปาระมี
2.นายป๋นั มาลา
3.นายจันทร์ สืบสาร
4.นายสวย ไชยเนตร
5.นายมุย้ ไชยชมพล
6.นายช่าง ไชยชมพล
7.นายไผ่ ศริ ิแสน
8.นายดวง ถะนะงาม
ปัจจุบันบ้านมีสมาชิกทั้งหมด 64 คน ในปีพ.ศ. 2543 กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ได้จัดสง่ ไปศึกษาดูงานที่
เมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร และได้สนับสนุนการประสานงานกับสานักงาน พัฒนาชุมชนอาเภอเทิง ไป
ศึกษาดูงานจากหลายแหล่งลวดลายทีใ่ ช้ในการจกั รสานในปัจจุบันได้รับการสืบทอดต่อกันมาจากผ้เู ฒา่ ผูแ้ ก่
เชน่ ลายดหี มัด ลายดีหลม่ ลายดอกแก้ว และแต่ละลายใช้ใจการผลติ ผลงานทแี่ ตกต่างกัน คอื ลายดหี มัด-ลาย
ดอกแกว้ ใช้ทาขนั โตก และลายดหี ลม่ และลายทไี่ ด้เรยี นรมู้ าใหม่ คือ ลายสองและลายสโุ ขทัย (ตะกร้าก้นแคบ
ปากกว้าง รูปทรงวงรี ) สว่ นลวดทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มคอื ลายสอง-หนองแรด (ตะกร้าวงร)ี ลกั ษณะใช้เสน้
หวายขัดสารทัง้ ใบด้วยลวดลายสอง-หนองแรด
สมมตฐิ าน:ตะกร้าหวายมปี ระสิทธภิ าพในการใช้งานนานและคงทน รอ้ ยละ 80.00
วตั ถปุ ระสงค์
1.เพื่อเป็นอาชพี ของตนเอง ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้ในครัวเรอื นและชมุ ชน
2.เพื่อใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์
3.เพ่อื ฝึกการทางานเปน็ กระบวนการกลุ่ม

ตวั แปร
ตวั แปรต้น :ตะกร้าจากหวาย
ตวั แปรตาม : ความคงทนของตะกร้า
ตวั แปรควบคุม : หวาย หวายเทียม

ขอบเขตการศึกษา : บา้ นเลขที่ 65 หมูท่ ่ี 1 ต.หนองแรด อ. เทิง จ.เชียงราย
ระยะเวลาในการศึกษา: 24ตุลาคม 2562- 08 มกราคม 2563

บทท่ี 2

เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

เคร่ืองจักสาน เป็นงานศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านของไทยท่ีมีมาช้านานและผลิตกันทุกภาค ภาคของ
ประเทศไทย ซง่ึ สว่ นใหญ่จะใชว้ ัสดุทห่ี าได้ในท้องถนิ่ เปน็ วตั ถดุ ิบในการผลติ เช่น หวาย ไม้ไผ่ ย่านลเิ พา กระจดู
กก ฯลฯ เม่อื นามาผลติ เปน็ เครอ่ื งมอื ใช้ในชีวิตประจาวนั โดยสนองความตอ้ งการประโยชนใ์ ช้สอยพืน้ ฐานเป็น
สาคัญ เครอื่ งจักสานจึงเป็นสง่ิ ที่มีความจาเปน็ และมคี วามสาพันธ์อย่าง ใกล้ชิดกับวิถขี องคน ไทยจนกลายเปน็
ส่วนหน่ึงของศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้านที่มีการสร้างสรรค์ และ สืบทอดต่อเน่ืองกันมาแต่อดีต นับต้ังแต่การ
ออกแบบลวดลาย รูปทรง โครงสรา้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้วัสดุพ้ืนบ้านได้อย่างเหมาะสมตามคตนิ ิยมท้องถิน่
น้นั ๆ ทาให้เคร่ืองจักสานพื้นบ้านของไทยมีเอกลักษณ์ เฉพาะงานแตกต่างกันไป

เคร่ืองจักสาน ทาจากวัสดุที่เปื่อยสลายและผุพังได้ง่ายจึงไม่สามารถกาหนดอายุได้แน่นอน แม้
หลักฐานท่ีหลงเหลืออยู่จะพบน้อยกว่าเครื่องป้ันดินเผา แต่มีการทาเคร่ืองจักสานมาต้ังแต่ยุคก่อน
ประวตั ิศาสตร์ โดยพบหลักฐานทางโบราณคดีท่ีเกี่ยวเนอ่ื ง คือ ได้พบเครอื่ งป้นั ดนิ เผาสมัยใหม่ ลกั ษณะรปู ทรง
คล้ายเครอ่ื งจกั สานรูปสเี่ หลี่ยมปากรูปกลมลวดลายด้านข้างมีลักษณะคล้ายคลึงกับลวดลายเครอื่ งจกั สาน ทา
ขึ้นด้วยวธิ ียาดินเหนียวภายนภาชนะเครือ่ งจกั สานให้หนาพอแลว้ นามาเผาเมอ่ื เผาเสรจ็ แล้ว ภาชนะจกั สานจะ
ถูกเผาไหมห้ ายไปเหลือแต่ภาชนะดินเผาทมี่ ีลวดลายจักรสานปรากฏอย่ทู ี่พน้ื ผิว

เครื่องจักสานพนื้ ฐานของไทยส่วนใหญ่ใช้ไม้ไผเ่ ปน็ วัตถุดิบในการจักสาน นอกน้นั ยังมีวัสดุอ่ืน ๆ ตาม
ทอ้ งถนิ่ แต่ละภาคของไทย เช่น กก หวาย ใบลาน คล้า คลุม้ กระจูด แหยง่ เตย ลาเจยี ก ยา่ นลิเพา ใบมะพรา้ ว
เป็นต้น วัสดุต่าง ๆ เหล่านี้ก่อให้เกิดลวดลายและรูปทรงเคร่ืองจักสานมีลักษณะเฉพาะ ตามเอกลักษณ์ของ
ท้องถ่นิ น้นั ๆอกี ดว้ ย

ชอ่ื ท้องถ่ิน:หวาย

ชื่อสามญั :Rattan

ช่อื วิทยาศาสตร:์ Calamus caesius Blume

ชอ่ื วงศ:์ Palmae

ลกั ษณะวิสยั /ประเภท:ไม้เถา

ลกั ษณะพืช:ลักษณะที่ดเี ด่นของหวาย เป็นพืชทนแล้งได้ดี อีกทั้งยอดออ่ นของหวายนามาปรงุ อาหาร
ได้หลายชนิด ยอดใหม่ท่ีแทงขึ้นมา มีลักษณะคลา้ ยยอดมะพรา้ ว ถ้าไม่ตัดออกขาย จะเลื้อยเป็นเครอื ยาว ลา
ตน้ และกาบใบมหี นาม รากเปน็ ระบบรากแขนง ดอกชอ่ ประกอบด้วยกล่มุ แขนงช่อดอก ดอกไม่สมบรู ณเ์ พศ จะ
สร้างชอ่ ดอกออกจากลาต้นส่วนท่ีมกี าบหมุ้ เปลอื กผลมีลกั ษณะเป็นเกลด็ ซอ้ นทบั กันเป็นชนั้ ๆ ผลค่อนข้างกลม
ผลอ่อนสีเขยี วเม่ือแกจ่ ะเปลีย่ นเป็นสีขาว

หวายนับวา่ เปน็ พืชในตระกูลพืชใบเลยี้ งเด่ียวตามธรรมชาติ ท่พี บในปา่ ธรรมชาตติ ามชนบทมหี นาม
แหลม ท้ังส่วนของกาบใบ ขอบใบ เส้นกลางใบ จะมีลักษณะเป็นไขผงสีขาตาม กาบใบมีเน้อื หนา ใช้เมล็ดทา
พนั ธ์ุ ใบมสี เี ขียวเจรญิ เติบโตได้ ตลอดท้งั ปี มรี ากจานวนมากจึงสามารถหาอาหารและน้าได้เอง

การเก็บเกยี่ ว:จะเริ่มเกบ็ เกย่ี วไดเ้ มือ่ หวายมีอายุ 10 - 14 เดอื น หลงั ยา้ ยลงปลกู ในแปลง โดยจะตดั 2
- 3 อาทติ ย์ตอ่ ครง้ั

ปรมิ าณทพี่ บ:มาก

การขยายพันธ์:ุ ใชเ้ มล็ด

อธบิ ายวธิ ีการเพาะ/ขยายพันธ์ุ:การเพาะเมลด็ และ การแยกกอ แยกหนอ่

การใช้ประโยชน์/ส่วนท่นี าไปใช้ประโยชน์: ทั้งน้เี พราะหวายสามารถนาไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งมากมาย
โดย เฉพาะผิวหวายเป็นวัตถุดิบสาคัญในการทาหัตถกรรมเครื่องจัก สานการทาเคร่ืองเรือนและใช้ผูกมัดได้
เหมอื นเชอื ก ลาหวายใช้ ทาบา้ นเรอื นคุณสมบัติท่ีดีของหวายคือมคี วามเหนียว แข็งแรงทนทาน และยดื หยนุ่ ได้
ดีกว่าไม้ไผ่สาต้นหวายตันสามารถดัดโค้งงอได้ ด้วยการผ่านความร้อน จึงเป็นวัตถุดิบพืชชนิดอื่นๆ และยัง
สามารถนามาปรงุ เป็นอาหารได้ด้วย

แหล่งท่ีพบ: ป่าเทอื กเขาเเกว้ ,ป่าคลองปอ้ ม

ข้อมูลอ่ืนๆเพิ่มเติม:ต้นหวาย ชอบขึ้นในเขตรอ้ นชื้น มีฝนตกชุก แหล่งหวายใน ประเทศไทยจึงพบ
มากทางเขตภาคใต้ได้แก่ จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี สงขลา ระนอง กระบ่ี ปตั ตานี ฯลฯ มปี ระมาณ 40 กว่าชนิดแต่
ชนิด ท่มี ีมาก เป็นหวายในสกุล Calamus หวายที่นิยมใช้ในการจักสาน เป็นหวายชนิดผิดแข็งไดแ้ ก่ หวายแดง
หวายกาหลง หวายหอม หวายชมุ พร หวายโอมัด หวายข้ีขาว ฯลฯ

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

พืชในสกลุ หวายทุกชนดิ มีลักษณะลาต้นปีนปา่ ย มีท้ังลาต้นเดี่ยวหรอื เปน็ กอ ซ่ึงหวายต้นเดี่ยวเมอื่ ตดั
ลาต้นแล้งจะไมแ่ ตกต้นใหม่ ส่วนหวายกอสามารถทยอยตัดได้ และมีการแตกต้นใหมท่ ี่ตาใกล้ซอกใบบรเิ วณ
โคนต้น ข้อที่ 2-3 หวายบางชนิด เช่น Calamus trachycoleus หน่อท่ีแตกใหม่จะพัฒนาเป็นไหลยาวได้
มากกวา่ 3 เมตร

1. ราก

รากหวายมีระบบรากแขนง และรากฝอย ที่แตกรากแขนงออกในแนวราบ และแนวดิ่ง แต่มักเจริญ
เป็นรากแขนงในแนวราบใกล้ผวิ ดนิ และสานกนั แน่น อาจแพรไ่ กลไดถ้ งึ 5-8 เมตร รอบลาตน้

2. ลาตน้

ลาตน้ หวายมีลกั ษณะกลม แต่บางชนดิ มีรูปทรงสามเหลี่ยม ขนาดลาต้นเลก็ จนถึงใหญ่ ขนาดตัง้ แต่ 15
มลิ ลเิ มตร จนถงึ 10 เซนตเิ มตร ถูกหอ่ หุ้มดว้ ยกาบใบหรือกาบหมุ้ ลา ลาตน้ สูงไดม้ ากกวา่ 2 เมตร บรเิ วณโคน
ตน้ ใหญ่ และเรียวเล็กลงเร่ือยๆจนถงึ ปลาย ลาต้นเป็นปล้อง มีข้อ ตน้ อ่อนมสี ีขาวครีม ใชน้ าประกอบอาหาร มี
รสฝาด และขมเล็กน้อย เม่ือแก่จะเปล่ียนเป็นสีเขียว และมีเส้นใยเหนียวแข็ง บางชนิดมีมือเกาะ แทงออก
บรเิ วณสว่ นข้อของลาตน้ สว่ นยอดอ่อนนยิ มนามาปรงุ เปน็ อาหารได้เช่นกนั

3. ใบ

ใบหวายประกอบดว้ ย 3 ส่วน คือ กาบใบ (leaf sheath) ก้านใบ (rachis) และใบ (leaflet) แทงออก
บรเิ วณ

• กาบใบหรือกาบหมุ้ ลา จะแทงออกบรเิ วณข้อ หุ้มสลับทับเหลี่ยมกันตลอดลาต้นตอนบน เม่ือแก่จะ
หลดุ ร่วงท้ิงรอยแผลตามข้อ กาบหมุ้ ลานีจ้ ะเป็นส่วนโคนของใบ และเป็นสว่ นที่มีหนามเกดิ ในลกั ษณะแตกต่าง
กันตามพันธ์ุ ท้ังขนาด สี และการเรยี งตวั ซ่ึงช่วยในการจาแนกชนดิ หวายได้ แต่หวายบางชนิดอาจไม่มีหนาม
บริเวณกาบใบ สว่ นบรเิ วณด้านในบริเวณตอนบนของโคนกาบใบจะมเี ยอื่ บางๆทีเ่ รียกว่า ocrea ซง่ึ จะผกุ รอ่ น
เมื่อใบแก่ และรว่ ง บางชนิดจะมี ocrea ทเ่ี ดน่ ชดั จากการพองโตออกมาให้เหน็

• ก้านใบ ลักษณะก้านใบ และหนามท่เี กิดจะแตกต่างกนั ตามพนั ธ์ุแตล่ ะชนิด บางชนิดบริเวณกาบหุ้ม
ลาบริเวณด้านลา่ งของโคนกาบใบท่ีเป็น ocrea จะพองโตเป็นสันนูน เรียกว่า เข่า (knee) ท่ีเชื่อว่าทาหนา้ ที่
จดั เรียงตัวใบหวายจากแนวด่งิ มาส่แู นวราบ

• ทางใบ หรือก้านใบย่อย ท่ีเริ่มมีใบยอ่ ยแทงออกดา้ นซา้ ย-ขวา มีลักษณะโค้งลงด้านล่างบริเวณส่วน
ปลาย ทางใบด้านบนมสี ีเขียวเข้มกว่าทางใบดา้ นล่าง และเกิดหนามรปู เลบ็ เหย่ียวตลอดแนว มักพบหนามใน
ด้านล่าง ส่วนด้านบนพบหนามในบางสายพันธ์ุ และบางพนั ธอ์ุ าจพบหนามบรเิ วณด้านข้างของทางใบดว้ ย

• ใบย่อย มีลักษณะแตกต่างกนั ตามสายพนั ธ์ุ อาจเปน็ รูปส่ีเหลีย่ มขนมเปยี กปนู หรือรปู ยาวรี หรอื รปู รี
มีลักษณะโค้งลงด้านล่างบริเวณปลายใบ ขอบใบหยัก เรียงตัวหลายแบบในแต่ละพันธุ์ เช่น แบบตรงขา้ มกนั
แบบเย้อื ง และแบบสลบั

• มือเกาะ หรืออวัยวะปนี ปา่ ย เปน็ สว่ นท่ีใชส้ าหรบั ปนี ป่ายเพ่ือองิ ลาตน้ ให้เลือ้ ย และเติบโตสาหรับรบั
แสง พบเจริญออกในหวายที่โตเต็มท่ี ไม่พบในระยะกลา้ มี 2 รูปแบบ คอื

– มือเกาะท่ีเกิดบรเิ วณส่วนปลายของทางใบ เรียกว่า cirrus มีความยาวประมาณ 2-3 เมตร บริเวณ
ดา้ นล่างมหี นามรูปเลบ็ เหยยี่ ว

– มอื เกาะทเ่ี กิดบนลาต้นบรเิ วณบรเิ วณเีดยี วกับชอ่ ดอก เรยี กวา่ flagellum มคี วามยาวประมาณ 1-5
เมตร มหี นามรปู เลบ็ เหย่ยี วกระจายตลอดความยาว

4. ดอก และชอ่ ดอก

หวายออกดอกเป็นชอ่ เหมือนพืชในตะกลู ปาล์มทกุ ชนิด ช่อดอกมีลักษณะเป็นพวงสขี าว ช่อดอกท่แี ทง
ออกใหมจ่ ะมปี ลหี ุ้ม เมอื่ ดอกแก่ปลีจะคลอี่ อก มองเหน็ ลูกหวายเปน็ ตุ่มสขี าวนวลภายใน ภายในชอ่ ดอกอาจมี
ท้ังดอกเพศผู้ และดอกเพศเมีย แตห่ วายส่วนมากจะมีดอกเพศผู้ และเพศเมียอยู่คนละต้นกัน

ลักษณะดอกของหวายมี 2 แบบ คือ Hapaxanthic ออกดอกเป็นช่อบริเวณยอดลาหวาย และ
Pleonanthic ออกดอกเป็นชอ่ บรเิ วณขอ้ ของลาตน้ ท้งั น้ี ดอกในชอ่ จะสกุ ไม่พรอ้ มกนั

5. ผล และเมลด็

ผลหวายมลี กั ษณะเป็นเกลด็ เรียงซอ้ นกนั ในทิศปลายผลมาฐานผล แตผ่ ลหวายบางชนดิ จะมลี กั ษณะเกร็ดแบบ
หนามคลา้ ยผลระกา สีของเปลอื กผลมหี ลายสีตามชนิดหวาย ผลออ่ นจะมสี ีเขยี วออ่ น และเขียวเข้ม

เม่ือแก่ และเมอ่ื สุกจะเปล้ยี นเป็นได้หลายสี เช่น สีเหลอื ง สีแดง และสีขาว แตกต่างกนั ตามสายพันธุ์
เมื่อสุกจัดจะมีสีคลา้ ดา ขนาดผลมีตง้ั แต่เท่าเมล็ดข้าวโพดจนถึงเทา่ ลูกพุดทราหรือเทา่ หัวแม่มอื และเปลอื กผล
เม่ือสุกสามารถรับประทานได้ เนื้อมีรสหวาน ส่วนด้านในเป็นเมล็ด อาจมีเมล็ดเดียวหรือบางพันธุ์มีได้ 2-3
เมลด็ /ผล ลักษณะเมลด็ คอ่ นขา้ งกลม และแบนรี

ชนดิ หวายในไทย

1. หวายลิง เป็นหวายเลื้อย ยาวได้มากกว่า 3 เมตร ที่ชอบขึ้นตามชายทะเล ลาห้วย หนองบึง เปน็
ชนดิ ท่ไี ม่มหี นาม ใบคลา้ ยใบผกั ปราบ นยิ มนามาจักตอก

2. หวายโปรง่ เป็นหวายที่มขี นาดพอๆกบั ไผร่ วก นยิ มนามาจกั สานเครอื่ งหตั ถกรรม ข้าวของเครอื่ งใช้
ต่างๆ ผลมขี นาดประมาณลูกพุดทราหรอื เมล็ดบวั หลวง เปลอื กเมลด็ แขง็ เป็นเกรด็ เมื่อสุกผลมสี เี หลอื ง ดอกใช้
รับประทานได้

3. หวายพรวน เป็นหวายที่มีขนาดลาต้นใหญ่ท่ีสุด ขนาดประมาณเท่าข้อมือ พบมากในจังหวัดตรงั
พังงา และภูเกต็ เนื้อหวายมีความเหนียว และทนทาน นิยมนามาทาเชือก ล่ามช้าง ล่ามวัว รวมถึงนิยมใช้ทา
เฟอร์นเิ จอร์ต่างๆ เช่น โตะ๊ เกา้ อ้ี เตียงนอน และฝ้าผนงั บา้ น เน่อื งจากสามารถจักเป็นแผ่นขนาดใหญ่ได้ดี

4. หวายขม เป็นหวายท่ีมีขนาดประมาณหัวแมม่ ือ ใบเลก็ ยาวคลา้ ยใบระกา เน้ือเปราะง่าย ไมท่ นทาน
ไม่นิยมนามาจักสาน แต่หน่อ และยอดใช้รบั ประทานได้ มีรสขมเลก็ นอ้ ย เมล็ดหวายมขี นาดเล็กประมาณเทา่
เมลด็ ขา้ วโพด เปลือกเมล็ดเปน็ เกล็ดสขี าว นิยมใช้ทายา

5. หวายน้า เป็นหวายที่มีขนาดลาต้นประมาณน้ิวก้อย ชอบข้ึนบริเวณท่ีชุ่ม น้าท่วมขัง เนื้อหวายมี
ความเหนียวทน นิยมนามาจกั สานข้าวของเครือ่ งใช้ต่างๆ เช่น ตะกร้า ถาดใสอ่ าหาร หมวก เปน็ ตน้

6. หวายตะคา้ ทอง เปน็ หวายเล้อื ย ยาวได้มากกวา่ 6 เมตร ลาต้นขนาดเท่าหวั แม่มือ ทีช่ อบข้ึนบริเวณ
ที่ชมุ่ และนา้ ท่วมขัง เนื้อหวายเหนยี ว ทนทาน นิยมใชจ้ กั สานงานหตั ถกรรมทกุ ชนิด เมล็ดใช้ทายา พบมากใน
จงั หวัดภาคใต้

7. หวายชุมพร เป็นหวายขนาดเล็กกว่าน้ิวกอ้ ย เน้ือหวายหยาบเหนียวมาก นิยมใช้จักตอก ทาเชือก
และจกั สานงานหตั ถกรรม

8. หวายชะอัง เป็นหวายขนาดเล็ก เน้ือหวายเนียว ทนทาน นิยมใช้ทาเชือก ทาตอก และเคร่ืองจัก
สาน พบมากในภาคใต้ โดยเฉพาะตาบลนาชะองั อาเภอเมอื ง จังหวัดชุมพร

9. หวายสะเดา และหวายสมิง เปน็ หวายที่พบในภาคตะวนั ออก

10. ชนิดหวายที่เรียกในชื่ออื่นๆ เช่น หวายข้ีเสี้ยน หวายงวย หวายเดาใหญ่ หวายข้อดา หวายขีผ้ ง้ึ
หวายแดง หวายกาหลง หวายขี้ไก่ หวายช้าง หวายพังกา หวายผิวเบาะ หวายแดง หวายเจียน หวายหัวตัด
หวายพนุ หวายขี้บาง หวายนางนวล หวายหางหนู หวายนง่ั หวายโคก และหวายดง เป็นตน้

หวายเทียม (Resin Wicker) เป็นเส้นงานสานสงั เคราะห์ PE (พลาสติกประเภทหน่ึง) ท่ีเหมาะกบั
สภาพอากาศทุกประเภท (all-weather wicker) ท่ีถูกนาไปใช้กับการผลิตเฟอร์นิเจอร์ภายนอก (Outdoor
Furniture) ที่ใชบ้ ริเวณระเบยี งบ้านหรือลานภายนอก

เส้นหวายเทียมได้รับการออกแบบ พฒั นา ด้วยเทคโนโลย่ี ที่ให้ดูเสมือนหวายแทห้ รือหวาย
ธรรมชาติ โดยใชว้ สั ดุสงั เคราะห์ (Synthetic Material) อาทิเช่น โพลเิ อททาลนี (ประเภทหน่ึงของพลาสติก)
ดงั น้นั เฟอร์นิเจอร์ที่ทาดว้ ยเสน้ สงั เคราะห์น้ีจึงมคี วามคงทนต่อสภาพอากาศต่างๆและไม่เส่ือมสลายไดง้ ่ายๆ
เหมอื นวสั ดุธรรมชาติ

เหตุผลที่หวายเทียมถูกเรียกว่าเป็นเสน้ หวายสาหรับทุกสภาพอากาศเพราะวา่ เป็นเสน้ ที่กนั น้า (water
resistant) ทนต่อสภาพอากาศช้ืนและในหนา้ ฝน

นอกจากน้ีสีของเสน้ หวายเทียม (Resin Wicker) ไม่หลุดลอกเหมือนกบั สีท่ีใชท้ าบนหวายธรรมชาติ
เน่ืองดว้ ยสีถกู ยอ้ มไปกบั เสน้ หวายระหว่างการผลติ เสน้

สีเคลือบเงา (LOBSTER) เป็นสีที่ทามาจากอลั ขีดเรซ่ินชนิดพิเศษผสมกบั สารป้องกนั เช้ือรา เหมาะ
สาหรับการตกแต่ง เคลือบเงาพ้ืนผิวทุกชนิด เช่น พ้ืนผวิ โลหะ หรือพ้ืนผิวไมเ้ ป็ นสีเคลือบเงาคุณภาพสูงมี
ความคงทนต่อสภาพดิน ฟ้า อากาศ สามารถรักษาความเงางาม และคงความสวยของสีไดย้ าวนาน

เหลก็ หมาด (Brad awl) รูปร่างคลา้ ยไขควงเลก็ ๆ ใชส้ าหรับเจาะในเวลาท่ีจะตอกตะปูหรือตะปู
เกลยี ว วิธีใชจ้ ะกดลงในเน้ือไมแ้ ลว้ บิดซา้ ยขวา ไมค่ วรใชก้ บั ไมบ้ าง

ตะปู เป็นอปุ กรณ์ที่ทามาจากโลหะ มีลกั ษณะแข็ง ปลายแหลม รูปร่างคลา้ ยเข็ม ตะปูส่วนมากทามา
จากเหล็ก มกั ใชส้ าหรับการยดึ ตรึง หรือเพื่อติดวตั ถุชนิดต่าง ๆ ในงานไม้ งานก่อสร้าง และงานวศิ วกรรม
ตะปูมกั ถูกใชง้ านร่วมกบั คอ้ น โดยใชค้ อ้ นในการตีหรือตอกเพ่ือดนั ตะปูให้ผา่ นเขา้ ไปในวตั ถุที่ตอ้ งการ จะ
ขาดอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงไม่ได้

ค้อน คือเครื่องมือสาหรับตอกหรือทุบบนวตั ถุอ่ืน สาหรับการใชง้ านเช่น การตอกตะปู การจดั
ชิ้นส่วนใหเ้ ขา้ รูป และ คอ้ นอาจไดร้ ับการออกแบบมาใหใ้ ชง้ านเฉพาะทาง และมีรูปร่างกบั โครงสร้างท่ี
หลากหลาย แต่มีโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเหมือนกนั คือดา้ มจบั และหัวคอ้ น ซ่ึงน้าหนักจะค่อนไปทางหัวคอ้ น
มากกว่า แรงท่ีกระทบเป้าหมายจะมากเท่าใด ข้ึนอยู่กบั มวลของคอ้ นและความเร่งของการตอก ดงั น้นั เมอ่ื
คอ้ นยง่ิ หนกั มากและหวดดว้ ยความเร่งมาก แรงท่ีไดจ้ ากคอ้ นยง่ิ มากตามไปดว้ ย

แปรงทาสีเป็นอุปกรณ์ทาสีท่ีช่างทาสีคุน้ เคยกนั ดี แปรงทาสีน้นั ใชส้ าหรับกระจายสีชนิดเหลวไป
บนพ้ืนท่ีที่เราตอ้ งการจะทา แปรงทาสีสามารถช่วยกระจายสีให้สม่าเสมอและราบเรียบบนพ้ืนผวิ ทางาน
ก่อนที่สีน้ันจะแหง้ แปรงทาสีน้นั จะถูกหุ้นแน่นดว้ ยส่วนหัวแปรงที่เป็ นโลหะ สมยั ก่อนมีแต่แปรงท่ีทามา
จากใยพืชและขนสตั ว์ ซ่ึงประสิทธิภาพในการทาสีไมด่ ีนกั

บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน

วิธีการดาเนินงาน
1.ประชมุ กันวา่ จะทาโครงงานอะไร
2.ได้ชือ่ เร่ืองวา่ การจกั รสานตะกร้าหวาย
3.สอบถามผู้รูเ้ ก่ียวกบั หมบู่ ้านทท่ี าการจกั รสานตะกรา้ หวาย
4.นัดเวลาในการไปดูการทาตะกรา้ หวาย
5.ไปศึกษาดงู านการจักรสานตะกร้าหวายทีบ่ ้านหนองแรด หมู่1
6.เกบ้ ข้อมลู รายละเอียดการทาตะกรา้ หวาย
7.ลงมอื ปฏิบัติ ทาตะกร้าหวาย
8.จดั ทารปู เลม่ โครงงาน
9.นาเสนอขอ้ มลู

วสั ดอุ ุปกรณ์
1.หวาย
2.ตวั ยงิ
3.ไสแ้ ม็กใหญ่
4.หมาด
5.หวายเทียม
6.นา้ ยาเคลือบเงา
7.แปรงทาสี
8.แกรลอนผา่ ครง่ึ
9.มีดเหลาหวาย
10.คอ้ น
11.ตะปู
12.ตะปขู นาดเลก็

ขั้นเตรยี มการ
1. เตรียมต้นหวาย นามาจัก หรือผา่ หวาย ตามขนาดที่ต้องการ แล้วนาหวายไปชัดเรยี ด ให้ได้ขนาด

ของเสน้ หวาย ขนาดใหญ่/แบน/กลม/แบนเล็ก/แบนใหญ่
2. เตรียมอุปกรณเ์ ครอ่ื งใช้ ได้แก่ เหล็กหมาด มดี คมี ตะปู น้า ฯลฯ

ข้นั ตอนการผลิต

1. ตัดกน้ คอื ขั้นตอนการนาหวายทั้งต้นมาโค้งตามแบบที่ตอ้ งการจะทา

2. ข้ึนตะกร้า (จะใช้ลายขัด) คือการนาหวายที่เตรียมไวม้ าสานเปน็ ลายขัด กับหวาย ท่ีตัดก้นไว้ และ
จะมหี วายท่ีเป็นเส้นยืนหรือเส้นตัง้

3. การเข้าแบบหรือเข้ารอง คอื การนาแบบหรือรองทเี่ ตรยี มไวม้ าใส่ก้นตะกรา้ ท่ีเตรยี มไว้ แลว้ สานตาม
แบบ

4. การสาน คือ ขน้ั ตอนท่ตี ้องใช้ความละเอียดมากทสี่ ดุ สานตามลายท่ตี ้องการ

5. การสาน หรือเม้นปาก คือ ขั้นตอนที่สานเป็นลายจนได้ตะกร้าตามต้องการ และถักปากเพื่อเกบ็
ความเรยี บรอ้ ย

6. ใส่ขอบ คือ ข้ันตอนท่ีถักปากเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว นาหวายเปน็ ตน้ ขนาดเดียวกบั ทดี่ ีดก้น มาโค้งทา
เป็นของปากกระเป๋า

7. เตรียมหู ใส่หู คือ การนาหวายเป็นต้นมาดัด แล้วโค้งเพื่อจะทาเปน็ หู และใช้หวาย ที่เป็นผิวของ
หวาย ขนาดตามทีเ่ ตรียมไวม้ าถักรอบหู ให้สวยงาม

8. ทาน้ามันชักเงา คือ การนาน้ามันมาทาตะกร้าที่สานเสร็จแลว้ เพื่อให้ตะกร้าแข็งแรง ไม่ขึ้นรา มี
ความทนทาน

บทที่ 4

ผลการดาเนินงาน

ผลการศึกษา
ตารางท่ี1 แสดงการประเมินความพงึ พอใจ เรอื่ งการสานตะกรา้ ผลปรากฏวา่

ข้อ รายการประเมิน ผลการประเมนิ รอ้ ยละ
54321 50.00
1 ความประณีต ความสวยงามของตะกรา้ หวาย 10 8 2 50.00
2 ความคงทน ความแขง็ แรง ของตะกรา้ หวาย 10 7 3 45.00
3 ความสะดวกสบายในการใช้งานของตะกร้าหวาย 60.00
4 ความปลอดภัยในการใชต้ ะกรา้ หวาย 9821 50.00
5 ประโยชนข์ องตะกรา้ หวายเมอื่ นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน 7 12 1 50.00
6 ตะกร้าหวายสามารถซอ่ มแซมบารุงไดง้ ่าย 8 10 2 50.00
7 ความนา่ สนใจตะกรา้ หวาย 50.00
8 ความสะดวกสบายในการเคล่อื นยา้ ยของตะกร้าหวาย 6 10 4 70.00
9 การใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ของตะกรา้ 8 10 1 1
10 ตะกรา้ ประสทิ ธิภาพในการใช้งานได้นานและคงทน 10 5 4 1 75.00
14 4 1 1

15 2 3

ระดับชว่ งคะแนนความพงึ พอใจ
ชว่ งคะแนน 81.00-100.00 ระดบั 5 หมายถึง ดีมาก
ช่วงคะแนน 71.00-80.00 ระดบั 4 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 61.00-70.00 ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง
ช่วงคะแนน 51.00-60.00 ระดับ 2 หมายถงึ นอ้ ย
ชว่ งคะแนน 10.00-50.00 ระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

อภิปรายผลการศึกษา
จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจ เรอ่ื ง การสานตะกร้า

1.ความประณีต ความสวยงามของตะกร้าหวายความพึงพอใจอยู่ในระดบั 1 ปรบั ปรงุ รอ้ ยละ 50.00
2.ความคงทน ความแขง็ แรง ของตะกรา้ หวาย ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั 1 น้อยที่สุด ร้อยละ 50.00
3.ความสะดวกสบายในการใช้งานของตะกร้าหวาย ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั 1 นอ้ ยที่สดุ รอ้ ยละ
45.00
4.ความปลอดภัยในการใช้ตะกรา้ หวาย ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดับ 2 น้อย รอ้ ยละ 60.00
5.ประโยชน์ของตะกร้าหวายเมอ่ื นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั 1 ปรบั ปรงุ ร้อย
ละ 50.00
6.ตะกรา้ หวายสามารถซ่อมแซมบารุงไดง้ า่ ย ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั 1 ปรบั ปรงุ รอ้ ยละ 50.00
7.ความน่าสนใจตะกร้าหวาย ความพึงพอใจอยู่ในระดบั 1 ปรับปรุง ร้อยละ 50.00
8.ความสะดวกสบายในการเคลือ่ นย้ายของตะกร้าหวาย ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ 1 ปรับปรุง รอ้ ย
ละ 50.00
9.การใช้ประโยชน์ได้จรงิ ของตะกรา้ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับ 3 ปานกลาง ร้อยละ 70.00
10.ตะกร้าประสทิ ธิภาพในการใชง้ านไดน้ านและคงทน ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั 3 ปานกลาง รอ้ ย
ละ 75.00

บทที่ 5

สรปุ และข้อเสนอแนะ

สรุปผล
จากการศึกษา ผลปรากฏว่า ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน คือ ตะกร้าหวายมีความทนทานสามารถใชไ้ ด้

นาน ร้อยละ 75.00
ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรมีการฝกึ อบรม สมาชิกในชุมชนนาสิง่ ของเหลือใช้ที่มีในชุมชนมาประดิษฐเ์ ป็นผลิตภัณฑ์ท่ีก่อ
ประโยชนแ์ ละรายได้แก่ตนเองและชมุ ชน

2.รณรงค์การใชส้ ิง่ ของอยา่ งประหยดั และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
ประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั

1. ฝกึ สอนให้แก่เยาวชนในท้องถิน่ และผู้สนใจ ไดเ้ รยี นร้แู ละฝึกหดั การจกั สาน ผลิตภณั ฑ์ เพอื่ รว่ มกัน
อนรุ ักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาด้านการจักสาน ใหค้ งไว้สืบต่อไป ไม่สญู หาย

2. สรา้ งรายได้ให้แก่ชมุ ชน จากการจาหน่ายผลติ ภัณฑ์เครือ่ งจักสาน
3.เป็นการใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์

บรรณานุกรม

Google sites หวาย ค้นหาเมอื่ วันท่ี 7 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ.2562แหล่งที่มา :
https://sites.google.com/site/nilakhrabtnmi/tn-hway

nagaadesign.com หวายเทยี ม ค้นหาเม่อื วันที่ 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562
แหล่งท่ีมา:https://nagaadesign.com/%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8
%A2E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E
0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/

trueplookpanya เครอ่ื งจกั รสาน คน้ หาเมื่อวนั ท่ี 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ.2562แหล่งที่มา:
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/5 9 9 7 9 / - timhis-tim-artfin-art-

his-cul-

สเี คลอื บเงา LOBSTER ค้นหาเมือ่ วนั ที่ 7 เดือน ธนั วาคม พ.ศ.2562แหล่งทมี่ า:

http://www.industry.in.th/dip/productdetails.php?id=29983&uid=36132
ค้อน คน้ หาเมือ่ วนั ที่ 14 เดอื น มกราคม พ.ศ.2563แหล่งท่ีมา:

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99

ตะปู คน้ หาเม่ือวนั ท่ี 14 เดือน มกราคม พ.ศ.2563แหล่งท่มี า:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%B9

ภาคผนวก

ภาพท่ี 1 ภาพวัสดอุ ุปกรณ์
ภาพที่ 2 ภาพหวายเทยี ม
ภาพท่ี 3 ภาพหวายเทียม
ภาพที่ 4 นา้ ยาเคลือบเงา

ภาพท่ี 5 ฐานตะกร้า
ภาพที่ 6 โครงตะกรา้
ภาพที่ 7 การสานตวั ตะกรา้
ภาพที่ 8 การคาดปากตะกรา้
ภาพท่ี 9 การทาน้ามันเคลอื บเงา

ภาพท่ี 10 ตะกร้าหวาย
ภาพที่ 11 การประเมนิ
ภาพท่ี 12 การประเมนิ
ภาพที่ 13 การประเมนิ