เฉลย ข้อสอบบาลีสนามหลวง ป ธ 1 2

ปัญหา-เฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 -  สามเณรอุทิส ศิริวรรณ เปรียญ (ปัจจุบัน ศ. ดร.อุทิส ศิริวรรณ ป.ธ.9, พ.ม. (มหาจุฬาฯ), ศษ.บ. (มสธ.) อ.ม. (จุฬาฯ), MBA (Finance & Insurance) USA, DIBA (NSU) USA)

ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๐
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๑
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๒
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๔
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๕
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๖
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๘
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๙
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๐
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๑
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๔
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๕
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๖
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๗
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๘
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๙
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๒
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๔
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๕
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๖
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๗
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

.......และ พ.ศ. ใหม่ๆ .......

เรือ่ ง

สอบบาล

ของสนามหลวงแผนกบาลี

พ.ศ. ๒๕๖๔

ขอ้ สอบและเฉลย

ประโยค ๑-๒ ถงึ ประโยค ป.ธ.๙ พ.ศ. ๒๕๖๔

โอวาทแม่กองบาลสี นามหลวง

ในการเปิดสอบประโยคบาลีสนามหลวง

พ.ศ. ๒๕๖๔

นกั เรยี นผ้สู อบความรู้ประโยคบาลสี นามหลวงทุกรูป

วันนี้ เป็นวันแรกของการเปิดสอบประโยคบาลีสนามหลวงคร้ังที่ ๑
ครัง้ หลงั ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ซง่ึ เปน็ การสอบของชนั้ ประโยค ๑ - ๒ และประโยค

ป.ธ. ๓, ๔ ,๕ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคประจำศกนี้ การสอบบาลี
สนามหลวงในส่วนกลาง สนามหลวงแผนกบาลี ร่วมกับเจ้าสำนักสถาน

ที่สอบในแต่ละแห่ง ได้ร่วมกันดำเนินการจัดการสอบ ส่วนการสอบประโยค
บาลีสนามหลวงในส่วนภูมิภาคนั้น แม่กองบาลีสนามหลวง ได้มอบหมายให้
เจ้าคณะภาคเจ้าสังกัด เป็นผู้รับผิดชอบโดยตลอด ดังที่ได้เคยปฏิบัติมา

ในศกก่อน

ท่านท้ังหลาย การสอบบาลีสนามหลวงในปีน ้ี มอี นั ท่จี ะตอ้ งล่าช้ากวา่
ปกต ิ อนั เนอ่ื งจากวา่ ประชาชนพลโลกประสบปญั หารว่ มกนั คอื การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา(โควิด-๑๙) ซ่ึงเป็นโรคท่ีร้ายแรงแพร่ระบาดไป
ทั่วโลก ทุกประเทศต่างระวังป้องกันรักษาอย่างเข้มงวด แต่กระน้ัน ก็ยังไม่
สามารถจะยบั ย้งั ได ้ จงึ ต้องประกาศใหป้ ระชาชนในประเทศนน้ั ๆ ระมดั ระวัง
ด้วยมาตรการต่าง ๆ ทั้งในการป้องกันตน และถึงกับต้องเปลี่ยนวิถีชีวิตตาม
ปกติให้เอื้อต่อการระวังป้องกันโรค รณรงค์ให้ประชาชนของตนเฝ้าระวังใน
การติดต่อระหว่างกันและในการสัญจรซึ่งถือว่าเป็นความยากลำบากอย่างหน่ึง

3
ในการดำเนินชีวิต รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ต่างก็มีมาตรการอย่างเข้มงวด
ในการป้องกันรักษาประชาชนของตน ประเทศไทยของเรา รัฐบาลได้ออก
มาตรการต่าง ๆ เพ่ือป้องกันรักษาประชาชนตามประกาศของกระทรวง
สาธารณสุขซึ่งเป็นผลให้สถานศึกษาต่าง ๆ ต้องหยุดโรงเรียนหรือสถานศึกษา
เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไปสู่นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา

นนั้ ๆ

ด้วยเหตุดังนี้ การสอบบาลีสนามหลวงซึ่งตามปกติในการสอบ

ครั้งท่ี ๑ ครง้ั แรกกำหนดเอา วนั ขน้ึ ๒ ค่ำ เดอื น ๓ เปน็ ต้นไป และ ในการ
สอบครง้ั หลัง กำหนดเอาวนั แรม ๑๐ เดอื น ๓ ของปนี ั้น เปน็ ต้นไป มีอันต้อง
ประกาศเล่ือนการสอบออกไปและได้กำหนดวันสอบภายหลัง ดังเช่นท่ีท่าน
ทง้ั หลายมาสอบในวนั นี้

ท่านท้ังหลาย การธำรงรักษาพระศาสนาให้มีความม่ันคง และเจริญ
รุ่งเรืองโดยย่ิงข้ึนไป ถือเป็นภาระหน้าที่โดยตรงของเราท้ังหลายท่ีจำต้องช่วย
กันดำเนินการให้เป็นไป การที่พระศาสนาจะมีความม่ันคงและเจริญรุ่งเรือง

ได้นั้น ส่วนสำคญั อยู่ทีพ่ ระสงฆส์ าวก เปน็ ผูป้ ระพฤตดิ ี ปฏิบัตชิ อบ ตามกรอบ

แห่งพระธรรมวินัยท่ีพระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้แต่งตั้งไว้ ไม่เพิกเฉย

ทอดธุระในหลักธรรมคำสอน ไม่เพิ่มเติมเสริมส่งในสิ่งที่ขัดหรือแย้ง

หรือนอกเหนือจากพระธรรมวินัย คงยึดม่ัน และแน่วแน่ในแนวทางแห่ง

พุทโธวาท

การที่จะกำหนดรู้ให้ถ่องแท้ตามหลักแห่งพุทโธวาท ย่อมขึ้นอยู่กับ
การศึกษาของแต่ละบุคคล ดังนั้น การศึกษาจึงถือได้ว่าเป็นเร่ืองสำคัญ

เปน็ กระบวนการทจ่ี ะสรา้ งองคค์ วามรใู้ หเ้ กดิ ขน้ึ แกบ่ คุ คล พระสาวกในพระพทุ ธ-
ศาสนาจึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาในหลักธรรมคำสอนให้กระจ่างชัด
ท้ังนี้ เพ่ือรักษาตนเองและเพื่อส่ังสอนผู้อ่ืน ซ่ึงถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่

เพ่ือความมั่นคงและเพอื่ ความเจริญรุง่ เรอื งแหง่ พระศาสนา

การศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ ผู้ศึกษาควรสร้างความ
ภาคภูมิใจให้เกิดแก่ตนว่า หน้าที่อันสำคัญเพื่อการธำรงม่ันแห่งพระศาสนาเรา

4
ได้ทำแล้ว ภาษาอนั ศักดิส์ ทิ ธิข์ องพระพทุ ธเจา้ ทท่ี รงใช้รกั ษาและถา่ ยทอดหลกั
ธรรมคำสอนที่ทรงตรัสร ู้ เราได้มีโอกาสศึกษา รับร้ ู และพยายามทำความ
เข้าใจเพื่อให้ทรงคุณค่าอยู่ตลอดไป เราได้ศึกษาแล้ว แม้ว่าการศึกษาน้ัน

จำต้องอาศัยความวิริยะอุตสาหะเป็นกำลัง อาศัยสติปัญญาเป็นปัจจัย อาศัย
กาลเวลาเป็นสง่ิ เก้ือหนุน กต็ ามกระนน้ั ผศู้ กึ ษาควรดใี จเถดิ ว่า หนา้ ท่ีอนั สำคญั
ส่วนหนึ่งของบุคคลผู้ได้เกิดมาเป็นมนุษย์คือการรักษาและสืบทอดความด

ของอัครบุคคลของโลกให้คงอยู่คู่โลกตลอดไป เราได้มีโอกาสเกี่ยวข้องแล้ว

การรักษาความดีให้คงอยู่คู่โลกเพ่ือจรรโลงโลกให้งดงาม เป็นส่ิงที่วิญญูชน

ทัง้ หลายไม่พงึ ละเลย และหน้าทีส่ ว่ นนี้ เราได้สบื สานแลว้

การศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ ์ เป็นรูปแบบแห่งการศึกษา

ทไ่ี ดร้ บั การเอาใจใสแ่ ละพฒั นามาเปน็ ลำดบั มรี ปู แบบ มรี ะบบ มกี ระบวนการ
จัดการและวดั ผลทเ่ี ขม้ ขน้ รดั กุมและตรวจสอบไดท้ กุ ข้ันตอน ซงึ่ นับเปน็ ผลึก
แห่งความคิดท่ีได้รับการส่ังสมอบรมเป็นลำดับมา ด้วยวิธีการเช่นนี ้ เท่ากับ
เป็นการประกาศถึงความพิถีพิถันในการคัดเลือกบุคคลเข้ามาสู่ระบบของ

คณะสงฆ ์ ทั้งน้ ี ต้องเข้าใจให้ถูกต้องว่า คณะสงฆ์ มิได้ต้องการเพียงบุคคล

ผู้มีความรู้ที่อยู่ในข้ันท่ีเรียกว่า เพียงรู้ เพื่อทำหน้าที่ประกาศพระศาสนา

แต่ ต้องการบุคคลที่ได้ชื่อว่า รู้ดี มารับใช้พระศาสนา ดังนั้น หลักเกณฑ

แหง่ การคัดเลือกจึงต้องอยใู่ นขนั้ อุกฤษฎ

ด้วยความม่งุ หวังท่จี ะได้บุคลากรทีเ่ ทีย่ งตรงในดา้ นวชิ าการ หนักแน่น
ด้วยความตัง้ ใจ และเพียบพร้อมด้วยจริยสมบตั ิ เพ่ือเป็นท่เี คารพกราบไหว้ของ
ประชาชน ดังน้ัน คณะสงฆ์จึงได้วางหลักเกณฑ์แห่งการวัดผลทางการศึกษา
ไวอ้ ยา่ งรัดกมุ เข้มงวด และทา้ ทายความร้สู ึกของผใู้ ครต่ ่อการศกึ ษา

ในการสอบ ขอให้นักเรียนทุกรูปทำความสุจริตให้เกิดมีแก่ตน

เพราะพระศาสนาเป็นเร่ืองของความบริสุทธ์ ิ ถ้ามีความไม่บริสุทธิ์เกิดข้ึน

จะเป็นความเสียหายโดยประการทั้งปวง ฉะนั้น ต้องระวังรักษาให้จงดี

การเฝ้าระวงั รกั ษามิใหเ้ กิดความเสียหายโดยประการใด ๆ เทา่ กับเปน็ การรักษา
พระศาสนาไว้เป็นอยา่ งดวี ธิ ีหนึ่ง

5
ในส่วนของกรรมการผู้กำกับห้องสอบ ขอให้กรรมการทุกรูป

ได้เอาใจใส่เป็นภาระธุระจริง ๆ ขอได้ช่วยตรวจตรากวดขันนักเรียนให้ปฏิบัติ
ตามกฎระเบยี บของสนามหลวงอยา่ งเคร่งครัด เพอื่ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
แหง่ การสอบ

ในการสอบบาลีสนามหลวงในปีน้ี นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ

เป็นล้นพ้นท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ผู้ทรง
พระคุณอันประเสริฐ ทรงพระกรุณาโปรดฯ พระราชทานถวายภัตตาหารเพล
และส่ิงของพระราชทานแด่พระภิกษุสามเณรผู้เข้าสอบ ในการสอบบาลี
สนามหลวง ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ น ้ี นบั เปน็ มง่ิ ขวญั อยา่ งสำคญั ตอ่ พระภกิ ษสุ ามเณร

ผูเ้ ข้าสอบ และเปน็ การจรรโลงการศาสนศึกษาให้วฒั นาสถาพรโดยยงิ่ ขึน้ ไป

ณ โอกาสบัดน้ี ขอให้เราทั้งหลายสำรวมกาย วาจา ใจ ให้เป็นหน่ึง
ถวายพระพรชัยมงคลแด่พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอจงทรง

พระเจริญย่ิงยืนนาน มีพระเกษมสำราญตลอดไป เป็นร่มแก้วฉัตรเกล้า

เป็นรม่ โพธิ์ฉัตรชยั ของพสกนกิ รชาวไทย ตลอดจิรัฐิติกาล เทอญ ฯ

ขอถวายพระพร

(พระพรหมโมล)ี

แมก่ องบาลสี นามหลวง

ข้อสอบและเฉลย

ประโยค ๑-๒ ถงึ ประโยค ป.ธ.๙

พ.ศ. ๒๕๖๔

7

ประโยค ๑-๒

แปล มคธเป็นไทย

สอบ วนั ท่ี ๘ มีนาคม ๒๕๖๔

แปล โดยพยัญชนะ

๑. อตีเต "อลฺลกปฺปรฏฺเ อลฺลกปฺปราชา นาม เวฏฺทีปกรฏฺเ

เวฏฺทีปกราชา นามาติ อิเม เทฺว ทหรกาลโต ปฏฺาย สหายกา

หตุ ฺวา เอกาจริยกุเล สิปฺป ํ อุคฺคณหฺ ิตฺวา อตฺตโน อตฺตโน ปติ นู ํ อจฺจเยน
ฉตตฺ ํ อสุ สฺ าเปตวฺ า ทสทสโยชนิเก รฏเฺ  ราชาโน อเหสุํ ฯ เต กาเลน
กาลํ สมาคนฺตฺวา เอกโต ติฏฺนฺตา นิสีทนฺตา นิปชฺชนฺตา มหาชน ํ

ชายมานฺจ มยี มานจฺ ทิสฺวา "ปรโลกํ คจฉฺ นตฺ ํ อนุคจฺฉนโฺ ต นาม
นตฺถิ, อนฺตมโส อตฺตโน สรีรํปิ, สพฺพ ํ ปหาย คนฺตพฺพํ, กินฺโน

ฆราวาเสน, ปพพฺ ชสิ ฺสามาติ มนเฺ ตตวฺ า รชชฺ านิ ปตุ ฺตทารสสฺ นยิ ยฺ าเทตฺวา
อิสิปพพฺ ชชฺ ํ ปพฺพชิตวฺ า หิมวนฺตปฺปเทเส วสนตฺ า มนฺตยึส ุ "มยํ รชชฺ ํ
ปหาย ปพฺพชติ า, น ชวี ิต ํุ อสกโฺ กนตฺ า, เต มย ํ เอกฏฺาเน วสนตฺ า

อปพฺพชติ สทสิ าเยว โหม; ตสฺมา วิสํ ุ วสสิ ฺสาม: ตวฺ ํ เอตสมฺ ึ ปพฺพเต

วส, อห ํ อมิ สมฺ ึ ปพพฺ เต วสสิ ฺสามิ; อนฺวฑฒฺ มาส ํ ปน อุโปสถทิวเส

เอกโต ภวสิ สฺ ามาติ ฯ อถ เนส ํ เอตทโหสิ "เอวํปิ โน คณสงฺคณกิ า ว
ภวิสฺสต,ิ ตฺว ํ ตว ปพพฺ เต อคฺคึ ชาเลยฺยาสิ, อหํ มม ปพฺพเต อคฺค ึ

ชาเลสฺสาม;ิ ตาย สฺ าย อตฺถิภาว ํ ชานิสฺสามาติ ฯ เต ตถา กรสึ ุ ฯ

8
แปล โดยอรรถ

๒. ตสฺมึ สมเย โกสมฺพิย ํ ปรนฺตโป นาม ราชา อโหสิ ฯ

โส เอกทวิ ส ํ คพภฺ นิ ิยา เทวิยา สทธฺ ึ พาลาตป ํ ตปฺปมาโน อากาสตเล
นิสีทิ ฯ เทว ี รโ ปารุปนํ สตสหสสฺ คฺฆนิกํ รตตฺ กมฺพลํ ปารุปิตวฺ า
นสิ ินฺนา รฺ า สทฺธึ สมุลลฺ ปมานา รฺโ องฺคุลิโต สตสหสสฺ คฆฺ นกิ ํ
ราชมทุ ทฺ กิ ํ นหี รติ วฺ า อตตฺ โน องคฺ ลุ ยิ ํ ปลิ นธฺ ิ ฯ ตสมฺ ึ สมเย หตถฺ ลิ งิ คฺ สกโุ ณ
อากาเสนาคจฉฺ นฺโต เทว ึ ทสิ วฺ า `มสํ เปสตี ิ สฺ าย ปกฺเข วสิ สฺ ชฺเชตวฺ า
โอตริ ฯ ราชา ตสฺส โอตรณสทฺเทน ภีโต อุฏฺาย อนฺโตนิเวสนํ

ปาวิสิ ฯ เทว ี ครุคพฺภตาย เจว ภีรุกชาติกตาย จ เวเคน คนฺตํุ

นาสกขฺ ิ ฯ อถ นํ โส สกโุ ณ อชฌฺ ปุ ปฺ ตโฺ ต นขปชฺ เร นิสที าเปตฺวา

อากาสํ ปกฺขนทฺ ิ ฯ เต กิร สกุณา ปจฺ นนฺ ํ หตฺถีนํ พล ํ ธาเรนฺต,ิ

ตสมฺ า อากาเสน เนตวฺ า ยถารุจิตฏฺ าเน นสิ ีทติ วฺ า มสํ ํ ขาทนตฺ ,ิ สาปิ
เตน นยี มานา มรณภยภีตา จนิ เฺ ตสิ "สจาหํ วริ วิสฺสาม,ิ มนสุ สฺ สทฺโท
นาม ติรจฉฺ านคตาน ํ อุพเฺ พชนโิ ย, ต ํ สตุ ฺวา ม ํ ฉฑฺเฑสฺสต,ิ เอว ํ สนเฺ ต,
สห คพเฺ ภน ชีวิตกขฺ ยํ ปาปุณิสสฺ าม;ิ ยสมฺ ึ ปน าเน นสิ ีทิตวฺ า มํ

ขาทติ ํุ อารภิสสฺ ต,ิ ตตฺร นํ สทฺทํ กตฺวา ปลาเปสฺสามตี ิ ฯ สา อตตฺ โน
ปณฺฑติ ตาย อธิวาเสส ิ ฯ

ใหเ้ วลา ๔ ชั่วโมง กับ ๑๕ นาที.

9
เฉลย ประโยค ๑-๒

แปล มคธเปน็ ไทย

แปล โดยพยัญชนะ

๑. ในกาลอันเป็นไปล่วงแล้ว อ.พระราชา ท. สอง เหล่านี ้

คือ ช่ือ อ.พระราชาพระนามว่าอัลลกัปปะ ในแว่นแคว้นชื่อว่าอัลลกัปปะ

ชื่อ อ.พระราชาพระนามว่าเวฏฐทีปกะ ในแว่นแคว้นชื่อว่าเวฏฐทีปกะ

เป็นพระสหายกัน เป็น จำเดิม แต่กาล แห่งพระองค์ ทรงเป็นหนุ่ม ทรงเรียน
แล้ว ซ่ึงศิลปะ ในตระกูลแห่งอาจารย์เดียวกัน ทรงยังบุคคล ให้ยกข้ึนแล้ว

ซึ่งฉัตร เป็นพระราชา ในแว่นแคว้น อันประกอบแล้วด้วยโยชน์สิบ ๆ

ได้เป็นแล้ว โดยกาลเป็นท่ีล่วงไปแห่งพระบิดา ท. ของพระองค์ ๆ ฯ

อ.พระราชา ท. เหล่านั้น เสด็จมาพร้อมกนั แล้ว ตลอดกาล ตามกาล ทรงยืนอยู่
ทรงนัง่ อยู่ บรรทมอยู่ โดยความเปน็ อนั เดียวกัน ทรงเหน็ แล้ว ซ่ึงมหาชน ผู้เกิด
อย่ดู ้วย ผตู้ ายอยดู่ ว้ ย ทรงปรึกษากันแลว้ วา่ ชอ่ื อ.บคุ คล ผู้ไปตามอยู่ ซงึ่ บคุ คล
ผู้ไปอยู่ สู่โลกอื่น ย่อมไม่มี แม้ อ.สรีระ ของตน โดยกำหนดมีในที่สุด ชื่อว่า
ไปตามอยู่ ซงึ่ บคุ คล ผไู้ ปอยู่ สโู่ ลกอนื่ ยอ่ มไมม่ ี อนั บคุ คล พงึ ละ ซง่ึ วตั ถุ ทงั้ ปวง ไป
อ.ประโยชน์ อะไร ของเรา ท. ด้วยการอยู่ครองซง่ึ เรอื น อ.เรา ท. จักบวช ดังนี้
ทรงมอบให้แล้ว ซึ่งความเป็นแห่งพระราชา ท. แก่พระโอรสและพระมเหสี
ผนวชแล้ว ผนวชเปน็ ฤาษี อยู่อยู่ ในประเทศชือ่ ว่าหิมวันตะ ปรกึ ษากนั แล้วว่า
อ.เรา ท. ละแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งพระราชา บวชแล้ว อ.เรา ท. ไม่อาจอย ู่

เพ่ืออันเป็นอยู่ บวชแล้ว หามิได้ อ.เรา ท. เหล่านั้น อยู่ ๆ ในที่เดียวกัน เป็นผู้
เช่นกับด้วยบคุ คลผไู้ ม่บวชแล้วนน่ั เทยี ว ยอ่ มเปน็ เพราะเหตนุ ้ัน อ.เรา ท. จักอยู่
แยกกัน อ.ทา่ น จงอยู่ ทภ่ี ูเขา นั่น อ.เรา จักอยู่ ทภี่ เู ขา นี้ แต่ว่า อ.เรา ท. จักเปน็
โดยความเป็นอันเดียวกัน ในวันแห่งอุโบสถ ตลอดเดือนด้วยทั้งกึ่งโดยลำดับ
ดังน้ี ฯ ครั้งนั้น อ.ความคิด น่ันว่า แม้คร้ันเมื่อความเป็น อย่างน้ี มีอยู่

อ.ความคลุกคลีด้วยหมู่เทียว จักมี แก่เรา ท. อ.ท่าน ยังไฟ พึงให้โพลง ที่ภูเขา

10

ของท่าน อ.เรา ยังไฟ จักให้โพลง ที่ภูเขา ของเรา อ.เรา ท. จักรู้ ซ่ึงความท ่ี

แห่งเรา ท. มอี ยู่ ด้วยสญั ญา น้ัน ดงั นี้ ไดม้ แี ลว้ แก่ฤาษี ท. เหล่าน้นั ฯ อ.ฤาษี ท.
เหล่านน้ั กระทำแลว้ เหมอื นอย่างนัน้ ฯ

แปล โดยอรรถ

๒. ในสมัยนั้น ในกรุงโกสัมพี ได้มีพระราชาทรงพระนามว่าพระเจ้า
ปรันตปะ ฯ วันหนึ่ง พระองค์ประทับน่ังผิงแดดออ่ นอยู่ท่กี ลางแจง้ กับพระเทวี
ผู้ทรงครรภ์ ฯ พระเทวีทรงห่มผ้ากัมพลแดงอันมีราคาแสนหนึ่ง ซึ่งเป็นผ้าห่ม
ของพระราชา ทรงน่ังปราศรัยกับพระราชา ถอดพระธำมรงค์อันมีราคาแสน
หนึ่งจากพระองคุลีของพระราชา มาสวมใส่ที่น้ิวของพระองค์ ฯ ในสมัยนั้น
นกหสั ดีลิงค์ บินมาทางอากาศ เห็นพระมเหสจี ึงชลอปีกบินโผลง โดยหมายว่า
ช้ินเนื้อ ฯ พระราชาทรงตกพระทัยด้วยเสียงโผลงของนกน้ัน จึงทรงลุกข้ึน
เสด็จเข้าไปภายในพระราชนิเวศน์ ฯ พระเทวีไม่อาจเสด็จไปโดยเร็วได้ เพราะ
ทรงครรภ์แก่ และเพราะเป็นผู้มีชาติแห่งคนขลาด ฯ ครั้งน้ัน นกนั้นจึงโผลง

ยงั พระนางให้นั่งอยู่ท่ีกรงเลบ็ บินไปสอู่ ากาศแล้ว ฯ ไดย้ นิ ว่า พวกนกเหล่านนั้
ทรงกำลงั เท่าช้าง ๕ เชอื ก เพราะฉะนัน้ จึงนำ(เหย่อื )ไปทางอากาศ จับ ณ ที่อนั
พอใจแล้ว ย่อมจิกกินเนื้อ ฯ แม ้ พระนาง อันนกนั้นนำไปอยู่ ทรงหวาดต่อ

มรณภัย จึงทรงดำริว่า ถ้าว่าเราจักร้อง ธรรมดาเสียงคน เป็นที่หวาดเสียวของ
พวกสตั ว์ดริ จั ฉาน มันไดย้ นิ เสยี งน้ันแลว้ กจ็ กั ทงิ้ เราเสีย เมือ่ เปน็ อยา่ งน้ี เราก็จัก
ถึงความส้ินชีพพร้อมกับเด็กในครรภ์ แต่มันจับในที่ใดแล้วเร่ิมจะกินเรา ในท่ี
น้ันเราจกั ร้องขนึ้ แลว้ ไล่มันให้หนไี ป ฯ พระนางทรงยบั ย้งั ไว้ได้ ก็เพราะความ
ทพ่ี ระองคเ์ ป็นบัณฑติ ฯ

พระราชปรยิ ตั สิ ุธี ปิยาจาโร วัดธรรมามูล จ.ชยั นาท แปล

สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

11

ประโยค ๑-๒

ปญั หา บาลีไวยากรณ์

สอบ วันที่ ๙ มนี าคม ๒๕๖๔

๑. จงเติมคำท่ถี กู ตอ้ งลงในชอ่ งวา่ งต่อไปน
้ี
ก. วจวี ิภาค แบ่งคำพดู ออกเปน็ ......สว่ น คือ........................ฯ

ข. กรณ์ทที่ ำอกั ขระ ม.ี .......คือ..............................................ฯ

๒. จงเติมคำทีถ่ กู ตอ้ งลงในช่องวา่ งต่อไปน้ี

ก. อภินนทฺ ํุ + อิต ิ สนธิเปน็ .................................................ฯ

ข. อคคฺ ิ + อาคาร ํ สนธิเป็น.................................................ฯ

ค. เอตทโวจ ตัดบทเป็น..............................................ฯ

ฆ. สาธูต ิ ตดั บทเป็น..............................................ฯ

ง. สญั โญโค แบ่งเปน็ ๒ คอื ................................................ฯ

๓. จงตอบคำถามต่อไปน้ี

ก. นามศพั ท์น้ัน แบ่งเป็นกีอ่ ยา่ ง ฯ อะไรบ้าง ฯ

ข. วภิ ตั ตินามน้นั มีก่ีตัว ฯ แบง่ เป็นอยา่ งไร ฯ อะไรบา้ ง ฯ

ค. ปกติสงั ขยา ตั้งแตไ่ หนถึงไหน เป็นเอกวจนะ อิตถลี งิ คอ์ ย่างเดยี ว ฯ

ฆ. วเิ สสนสพั พนามแบ่งเป็นเทา่ ไหร่ ฯ อะไรบ้าง ฯ

ง. นิบาตนัน้ สำหรับใชอ้ ยา่ งไร ฯ

๔. วาจก คืออะไร ฯ แบ่งเป็นกี่อย่าง ฯ อะไรบ้าง ฯ และกุลบุตร

จะกำหนดวาจกได้แมน่ ยำตอ้ งอาศยั อะไรเปน็ เครอ่ื งกำหนด ฯ

๕. กิริยากิตก ์ คอื คุตโฺ ต, ปคฺคยฺห แปลว่าอย่างไร ฯ สำเร็จรปู มาจากอะไร ฯ

จงเขียนคำแปลรูปวิเคราะห์ต่อไปน้ี พร้อมทั้งบอกรูป สาธนะ และปัจจัย

มาดว้ ย

12

ก. เนตพพฺ นตฺ ิ เนยยฺ ํ ฯ

ข. สรติ เอตายาติ สติ ฯ

ค. กชุ ฺฌติ สเี ลนาติ โกธโน ฯ

๖. อะไร ชือ่ วา่ ทวันทวสมาส ฯ และทวนั ทวสมาสนน้ั มีเท่าไร ฯ อะไรบ้าง ฯ

สมจฺเฉรํ (จิตฺตํ), พนฺธนมุตฺโต (สตฺโต) เป็นสมาสอะไร จงเขียน

รูปวิเคราะห์ มาดูดว้ ย ฯ

๗. ในราคาทิตัทธติ และปูรณตัทธติ มีปัจจัยอย่างละเทา่ ไร ฯ อะไรบ้าง ฯ

มาคโธ, เตชสี ลงปัจจัยอะไร ในตทั ธติ ไหน จงเขยี นรูปวิเคราะห์ มาดูดว้ ย ฯ

ใหเ้ วลา ๓ ชว่ั โมง.

13

เฉลย ประโยค ๑-๒

ปัญหา บาลไี วยากรณ

๑. ไดเ้ ติมคำท่ีถกู ตอ้ งลงในชอ่ งวา่ ง ดงั ตอ่ ไปน
้ี
ก. วจีวิภาค แบ่งคำพูดออกเป็น ๖ ส่วน คือ นาม ๑ อัพยยศัพท์ ๑

สมาส ๑ ตัทธิต ๑ อาขยาต ๑ กติ ก์ ๑ ฯ

ข. กรณ์ท่ีทำอักขระ มี ๔ คือ ชิวฺหามชฺฌํ ท่ามกลางลิ้น ๑ ชิวฺโหปคฺค ํ

ถดั ปลายล้ินเขา้ มา ๑ ชิวหฺ คฺคํ ปลายล้นิ ๑ สกฏฺ านํ ฐานของตน ๑ ฯ

๒. ได้เตมิ คำทีถ่ กู ต้องลงในชอ่ งว่าง ดงั ต่อไปน
ี้
ก. อภนิ นฺทุ + อิติ สนธเิ ปน็ อภินนทฺ ุนฺติ ฯ

ข. อคคฺ ิ + อาคารํ สนธเิ ป็น อคฺยาคารํ ฯ

ค. เอตทโวจ ตัดบทเปน็ เอตํ - อโวจ ฯ

ฆ. สาธตู ิ ตดั บทเป็น สาธุ - อิติ ฯ

ง. สญฺโโค แบ่งเป็น ๒ คือ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือนกันอย่าง ๑

ซ้อนพยัญชนะท่มี รี ูปไมเ่ หมือนกนั อย่าง ๑ ฯ

๓. ได้ตอบคำถามต่อไปน
ี้
ก. นามศัพท์นั้น แบง่ เปน็ ๓ คือ นามนาม ๑ คณุ นาม ๑ สัพพนาม ๑ ฯ

ข. วภิ ตั ตินามน้ัน มี ๑๔ ตวั แบ่งเป็นเอกวจนะ ๗ พหวุ จนะ ๗ ดังนี

เอกวจนะ พหวุ จนะ

ปฐมา ที่ ๑ ส ิ โย

ทุตยิ า ท่ี ๒ อํ โย

ตตยิ า ท่ี ๓ นา หิ

จตุตถฺ ี ที่ ๔ ส นํ

ปญฺจมี ท่ี ๕ สมฺ า หิ

ฉฏฺ ี ท่ี ๖ ส น

สตตฺ มี ที่ ๗ สฺม ึ สุ

14

ค. ปกตสิ ังขยา ต้ังแต่ เอกูนวีสต ิ ถึง อฏฺนวตุ ิ เปน็ เอกวจนะ อติ ถีลงิ ค

อย่างเดียว ฯ

ฆ. วเิ สสนสพั พนาม แบง่ เปน็ ๒ คอื อนิยม ๑ นิยม ๑ ฯ

ง. นิบาตนั้น สำหรับใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง

บอกอาลปนะ กาล ท่ี ปริเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความได้ยินเล่าลือ

ความปรกิ ปั ความถาม ความรับ ความเตอื น เปน็ ต้น ฯ

๔. วาจก คือ กิริยาศัพท์ท่ีประกอบด้วยวิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ

คอื กลา่ วบททเ่ี ปน็ ประธานของกริ ิยา ฯ แบง่ เป็น ๕ อย่าง คือ กตั ตวุ าจก ๑

กัมมวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตุกัตตุวาจก ๑ เหตุกัมมวาจก ๑ ฯ และ

กุลบตุ รจะกำหนดวาจกได้แมน่ ยำตอ้ งอาศัยปัจจัยเปน็ เครอื่ งกำหนด ฯ

๕. กริ ยิ ากติ ก์ คอื คตุ ฺโต แปลวา่ อนั เขาคุม้ ครองแล้ว สำเรจ็ รปู มาจาก คปุ ฺ ธาต ุ

ในความคุ้มครอง ต ปัจจัย ธาตุ มี ปฺ เป็นท่ีสุด เอาที่สุดธาตุเป็น ต ส ิ

ปฐมาวภิ ัตติ ปงุ ลิงค์ ฯ

ปคฺคยฺห แปลว่า ประคองแล้ว สำเร็จรูปมาจาก ป บทหน้า คหฺ ธาต ุ

ในความประคอง ตูนาทิ ปัจจัย คือ ตูน ตฺวา ตฺวาน ธาตุมี หฺ เป็นที่สุด

อยูห่ นา้ แปลง ย กับท่สี ดุ ธาตุ เปน็ ยฺห ฯ

ได้เขียนคำแปลรูปวิเคราะห์ต่อไปนี้ พร้อมท้ังบอกรูป สาธนะ

และปจั จยั มาดงั น้ี

ก. (ส่ิงใด) อันเขาพึงนำไป เหตุนั้น สิ่งน้ัน ช่ือว่าอันเขาพึงนำไป ฯ

เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ ณฺย ปจั จัย ฯ

ข. (ชน) ย่อมระลกึ (ด้วยธรรมชาติ) นน่ั เหตุน้ัน (ธรรมชาตนิ นั่ ) ชื่อว่า

เป็นเหตุระลึก (แห่งชน) ฯ เปน็ กตั ตรุ ูป กรณสาธนะ ติ ปจั จัย ฯ

ค. (ผ้ใู ด) ย่อมโกรธ โดยปกติ เหตนุ ัน้ (ผนู้ ้นั ) ชอ่ื วา่ ผโู้ กรธโดยปกติ ฯ

เปน็ กตั ตรุ ปู กัตตสุ าธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสลี ะ ย ุ ปัจจยั ฯ

15

๖. นามนามตั้งแต่ ๒ ศัพท์ข้ึนไป ท่านย่อเข้าเป็นบทเดียวกัน ชื่อ ทวันทว-

สมาส ฯ และทวนั ทวสมาส มี ๒ อยา่ ง คือ สมาหาโร ๑ อสมาหาโร ๑ ฯ

สมจฺเฉรํ (จิตฺตํ) เป็น สหบุพพบท พหุพพิหิสมาส วิเคราะห์ว่า

สห มจฺเฉเรน ยํ วตตฺ ตตี ิ สมจเฺ ฉรํ (จิตฺต)ํ ฯ

พนธฺ นมตุ ฺโต (สตฺโต) เป็น ปญั จมีตัปปุรสิ สมาส วิเคราะห์ว่า พนธฺ นา

มุตโฺ ต พนธฺ นมุตโฺ ต (สตโฺ ต) ฯ

๗. ในราคาทติ ทั ธติ มปี ัจจัย ๑ ตวั คอื ณ ฯ ในปูรณตัทธติ มปี จั จยั ๕ ตัว คอื

ตยิ ถ  ม อี ฯ

มาคโธ ลง ณ ปัจจัย ในราคาทิตัทธิต วิเคราะหว์ ่า มคเธ ชาโต มาคโธ,

มคเธ วสตีต ิ มาคโธ, มคเธ อิสสฺ โร มาคโธ ฯ

เตชสี ลง สี ปจั จัย ในตทัสสตั ถิตัทธติ วิเคราะห์วา่ เตโช อสสฺ อตถฺ ตี ิ

เตชสี ฯ

พระศรสี ุทธเิ วที ถิรมโน วัดอรุณราชวราราม เฉลย

สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

16

ประโยค ป.ธ. ๓

แปล มคธเป็นไทย

สอบ วันท่ี ๘ มนี าคม ๒๕๖๔

แปล โดยพยัญชนะ

๑. มาสสฺส อฏฺ ทิวเส ปาโตว อฏุ ฺาย อุทกมาลเก อุทกํ

อุปฏฺาเปตฺวา ธมฺมสฺสวนคฺค ํ สมฺมชฺชิตฺวา ทีปํ ชาเลตฺวา มธุรสฺสเรน
ธมฺมสสฺ วนํ โฆเสต ิ ฯ ภกิ ฺขู ตสฺส ถาม ํ ตวฺ า ปทภาณ ํ ภณ สามเณราต ิ
อชฺเฌสนตฺ ิ ฯ โส มยหฺ ํ หทย ํ วาโต วา รุชชฺ ต ิ กาโส วา พาธตตี ิ

กจฺ ิ ปจฺจาหารํ อกตฺวา ธมฺมาสนํ อภิรูหติ ฺวา อากาสคงคฺ ํ โอตาเรนฺโต
วิย ปทภาณํ วตฺวา โอตรนฺโต มยหฺ ํ มาตาปิตูน ํ อมิ สมฺ ึ ภเฺ  ปตตฺ ึ
ทมฺมีต ิ วทต ิ ฯ ตสฺส มนุสฺสา มาตาปิตูนํ ปตฺติยา ทินฺนภาวํ น

ชานนฺต ิ ฯ อนนฺตรตฺตภาเว ปนสสฺ มาตา ยกฺขินี หุตวฺ า นพิ ฺพตตฺ ิ ฯ

สา เทวตาห ิ สทฺธึ อาคนตฺ วฺ า ธมฺม ํ สตุ วฺ า สามเณเรน ทนิ ฺน ํ ปตตฺ ึ

อนโุ มทาม ิ ตาตาต ิ วทติ ฯ สีลสมปฺ นนฺ า จ นาม ภิกขฺ ู สเทวกสสฺ

โลกสฺส ปิยา โหนฺต ิ ตสฺมา สามเณเร เทวตา สลชฺชา สคารวา

มหาพฺรหฺมาน ํ วยิ อคฺคกิ ฺขนธฺ ํ วิย จ ตํ มฺ นฺต ิ ฯ สามเณเร คารเวน
ตฺจ ยกฺขนิ ึ ครํ ุ กตวฺ า ปสฺสนฺติ ธมฺมสสฺ วนยกฺขสมาคมาทีสุ สานมุ าตาติ

ยกขฺ นิ ยิ า อคฺคาสน ํ อคฺโคทก ํ อคฺคปิณฺฑํ เทนตฺ ิ ฯ มเหสกฺขาปิ ยกฺขา ต ํ
ทสิ วฺ า มคคฺ า โอกกฺ มนตฺ ิ อาสนา วฏุ ฺหนฺติ ฯ

17
แปล โดยอรรถ

๒. โส อุกกฺ ณฺิตภาว ํ อาโรเจส ิ ฯ สทฺธา อุปาสิกา นานปปฺ กาเรน
ฆราวาเส อาทนี วํ ทสเฺ สตวฺ า ปตุ ตฺ ํ โอวทมานาป ิ สฺ าเปตุ ํ อสกโฺ กนฺต ี
อปฺเปวนาม อตฺตโน ธมมฺ ตายป ิ สลฺลกฺเขยฺยาติ อนุยฺโยเชตวฺ า ตฏิ ฺ ตาต
ยาว เต ยาคภุ ตฺตํ สมฺปาเทม ิ ยาคุํ ปิวิตวฺ า กตภตตฺ กิจจฺ สสฺ เต มนาปาน ิ
วตฺถานิ นีหริตฺวา ทสฺสามีต ิ วตฺวา อาสน ํ ปฺาเปตฺวา อทาส ิ ฯ

นิสีท ิ สามเณโร ฯ อุปาสิกา มุหุตฺเตเนว ยาคุขชฺชกํ สมฺปาเทตฺวา

อทาส ิ ฯ อถ สา ภตฺต ํ สมฺปาเทสฺสามีติ อวิทูเร นิสินฺนา ตณฺฑุเล

โธวต ิ ฯ ตสมฺ ึ สมเย สา ยกขฺ นิ ี กห ํ น ุ โข สามเณโร กจจฺ ิ ภกิ ขฺ าหาร ํ
ลภต ิ โนต ิ อาวชฺชมานา ตสฺส วิพฺภมิตุกามตาย นิสินฺนภาวํ ตฺวา

มา เหว โข เม เทวตาน ํ อนตฺ เร ลชชฺ ํ อปุ ปฺ าเทยยฺ คจฉฺ ามสิ สฺ วพิ ภฺ มเน
อนฺตรายํ กริสฺสามีต ิ อาคนตฺ วฺ า ตสสฺ สรเี ร อธมิ ุจจฺ ติ วฺ า คีวํ ปรวิ ตฺเตตวฺ า
ภมู ยิ ํ ปาเตส ิ ฯ โส อกขฺ หี ิ ปรวิ ตเฺ ตห ิ เขเฬน ปคฆฺ รนเฺ ตน ภมู ยิ ํ วปิ ผฺ นทฺ ิ ฯ

อุปาสิกา ปตุ ตฺ สฺส ตํ วปิ ปฺ การํ ทสิ วฺ า เวเคนาคนตฺ ฺวา ปุตฺต ํ อาลงิ คฺ ิตฺวา
อุรูส ุ นิปชฺชาเปส ิ ฯ สกลคามวาสโิ น อาคนตฺ วฺ า พลิกมมฺ าทนี ิ กรสึ ุ ฯ

ให้เวลา ๔ ช่ัวโมง กบั ๑๕ นาที.

18

เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓

แปล มคธเปน็ ไทย

แปล โดยพยัญชนะ

๑. อ.สามเณร น้ัน ลุกข้ึนแล้ว ในเวลาเช้าเทียว เข้าไปตั้งไว้แล้ว

ซ่ึงน้ำ ในโรงแห่งน้ำ กวาดแล้ว ซึ่งโรงเป็นท่ีฟังซึ่งธรรม ยังประทีป ให้โพลง
แล้ว ย่อมประกาศ ซึ่งอันฟังซ่ึงธรรม ด้วยเสียง อันไพเราะ ตลอดวัน ท. ๘

แห่งเดือน ฯ อ.ภิกษุ ท. รู้แล้ว ซึ่งเร่ียวแรง ของสามเณร นั้น ย่อมเช้ือเชิญ

ว่า แน่ะสามเณร อ.เธอ จงกล่าว กลา่ วด้วยบท ดังน้ี ฯ อ.สามเณร นัน้ ไม่กระทำ
แล้ว ซ่ึงความผัดเพ้ียน อะไรๆ ด้วยอันคิดว่า อ.ลม ย่อมเสียดแทง ซ่ึงหัวใจ

ของเรา หรอื , หรอื วา่ อ.โรคไอ ยอ่ มเบยี ดเบยี น ดงั น้ี ขน้ึ เฉพาะแลว้ สธู่ รรมาสน์
กล่าวแล้ว กล่าวด้วยบท ราวกะ อ.เทวดาผู้วิเศษ ยังน้ำในอากาศ ให้ข้ามลงอยู่
เม่ือข้ามลง ย่อมกล่าว ว่า อ.เรา ย่อมให้ ซ่ึงส่วนบุญ ในเพราะอันกล่าวนี้

แก่มารดาและบิดา ท. ของเรา ดังน้ี ฯ อ.มนุษย์ ท. ย่อมไม่รู้ ซึ่งความที ่

แห่งส่วนบุญ เป็นส่วนอันสามเณร น้ัน ให้แล้ว แก่มารดาและบิดา ท. ฯ ก ็

อ.มารดา ของสามเณร น้นั เปน็ นางยักษิณี เปน็ บงั เกดิ แล้ว ในอัตตภาพอนั ไมม่ ี
ระหว่าง ฯ อ.นางยักษิณี นั้น มาแล้ว กับ ด้วยเทวดา ท. ฟังแล้ว ซึ่งธรรม

ยอ่ มกลา่ วรบั ซง่ึ สว่ นบญุ อนั อนั สามเณร ใหแ้ ลว้ วา่ แนะ่ พอ่ อ.ฉนั อนโุ มทนาอยู่
ดงั น้ี ฯ ก็ อ.ภกิ ษุ ท. ชอ่ื ผถู้ งึ พรอ้ มแลว้ ดว้ ยศลี เปน็ ผเู้ ปน็ ทร่ี กั ของโลก อนั เปน็ ไป
กับดว้ ยเทวโลก ยอ่ มเป็น; เพราะฉะนัน้ อ.เทวดา ท. เป็นผู้เป็นไปกบั ดว้ ยความ
ละอาย เปน็ ผเู้ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเคารพ ในสามเณร เปน็ ยอ่ มสำคญั ซงึ่ สามเณร นนั้
ผู้ราวกะว่า มหาพรหม ด้วย ผู้ราวกะว่า กองแห่งไฟ ด้วย ฯ อนึ่ง อ.เทวดา ท.
ยอ่ มเหน็ ซง่ึ นางยกั ษณิ นี น้ั กระทำ ใหเ้ ปน็ ทเ่ี คารพ เพราะความเคารพ ในสามเณร,
ย่อมให้ ซ่ึงอาสนะ อันเลิศ ซึ่งน้ำอันเลิศ ซ่ึงก้อนข้าวอันเลิศ แก่นางยักษิณี

ในสมยั ท. มีสมัยเปน็ ที่ฟังซึ่งธรรมและสมยั เป็นที่มาพร้อมกันแห่งยกั ษเ์ ป็นตน้

19
ด้วยความสำคัญ ว่า อ.นางยักษิณี น้ี เป็นมารดาของสามเณรช่ือว่าสานุ

ย่อมเป็น ดังน้ี ฯ อ.ยักษ์ ท. แม้ผู้มีศักดิ์ใหญ่ เห็นแล้ว ซ่ึงนางยักษิณี นั้น

ยอ่ มกา้ วลง จากหนทาง, ยอ่ มลกุ ข้ึน จากที่นง่ั ฯ

แปล โดยอรรถ

๒. สามเณรนั้นบอกความที่ตนเบื่อหน่ายแล้ว ฯ อุบาสิกาผู้มีศรัทธา

แม้แสดงโทษในการครองเรือนโดยประการต่าง ๆ ตกั เตอื นบตุ รอยู่ กไ็ มอ่ าจให้
เธอยินยอมได้ (แต่)ก็ไม่ส่งไปเสีย ด้วยคิดว่า "ถึงอย่างไร เธอพึงกำหนดได ้

แม้ตามธรรมดาของตน กล่าวเพียงว่า "พ่อ โปรดรออยู่จนกว่าฉันจะจัดยาคู
และภัตรเพื่อพ่อเสร็จ, ฉันจักนําผ้า ที่ถูกใจมาถวาย แก่พ่อผู้ดื่มยาค ู

ทำภัตกิจแล้ว แล้วได้ปูลาดอาสนะถวาย ฯ สามเณรน่ังลงแล้ว ฯ อุบาสิกา
จัดแจงยาคูและของเค้ียวเสร็จ โดยครู่เดียวเท่าน้ัน ได้ถวายแล้ว ฯ ลำดับนั้น
อุบาสิกาคิดว่า เราจักจัดแจงภัตร นั่งลงในที่ไม่ไกล ซาวข้าวสารอยู่ ฯ สมัยน้ัน
นางยักษิณีนั้นใคร่ครวญอยู่ว่า สามเณรอยู่ท่ีไหนหนอ แล เธอได้ภิกษาหาร
หรือยังไม่ได้ ทราบว่าเธอน่ังอยู่แล้ว ด้วยความเป็นผู้ใคร่จะสึก จึงคิดว่า

ก็เธอ อย่าพึงทำให้เราขายหน้าเทวดาทั้งหลายเลย เราจะไปทำการขัดขวาง

การสึกของเธอ ดังน้ีแล้ว จึงมาสิงในร่างของสามเณรนั้น บิดคอให้ล้มลง

บนพ้นื ดนิ ฯ เธอ ตาเหลือก ๒ ข้าง น้ำลายไหล ดิ้นบนพื้นดนิ แล้ว ฯ อุบาสิกา
เห็นอาการแปลกนั้นของบุตร รีบมาอุ้มบุตรแล้วให้นอนบนตัก ฯ ชาวบ้าน
ทัง้ ส้ิน มาทำพลกี รรมเป็นตน้ ฯ

พระเทพปริยัตมิ นุ ี วรี ปญโฺ  วัดหงสร์ ตั นาราม แปล

สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

20
ประโยค ป.ธ. ๓

สัมพนั ธไ์ ทย

สอบ วนั ที่ ๙ มนี าคม ๒๕๖๔

อนนฺ ภาโร ตํ (ปจฺเจกพุทฺธํ) ตุจฺฉปตฺตหตฺถ ํ ทิสฺวา อปิ ภนฺเต
ภิกขฺ ํ ลภติ ฺถาติ ปจุ ฉฺ ิตวฺ า ลภสิ สฺ าม ิ มหาปุ ฺ าติ วุตเฺ ต เตนหิ ภนเฺ ต

โถก ํ อาคเมถาติ ตณิ กาชํ ฉฑฺเฑตวฺ า เวเคน เคห ํ คนฺตฺวา ภทฺเท มยฺห ํ

ปติ ภาคภตฺตํ อตถฺ ิ นตถฺ ีติ ภรยิ ํ ปจุ ฺฉิตฺวา อตถฺ ิ สามีติ วุตเฺ ต เวเคน
ปจฺจาคนฺตฺวา ปจฺเจกพุทฺธสฺส ปตฺตํ อาทาย มยฺห ํ ทาตุกามตาย สต ิ

เทยฺยธมโฺ ม น โหติ เทยยฺ ธมฺเม สติ ปฏิคฺคาหกํ น ลภาม ิ อชฺช ปน
เม ปฏิคฺคาหโก จ ทิฏโฺ  เทยฺยธมโฺ ม จ อตฺถ ิ ลาภา วต เมต ิ เคหํ
คนฺตวฺ า ปตฺเต ภตตฺ ํ อากิราเปตฺวา ปจจฺ าหรติ ฺวา ปจฺเจกพุทฺธสฺส หตเฺ ถ
ปตฏิ ฺ าเปตฺวา

อมิ นิ า ปน ทาเนน มา เม ทาลทิ ทฺ ยิ ํ อหุ

นตถฺ ตี ิ วจนํ นาม มา อโหส ิ ภวาภเว ฯ

ภนเฺ ต เอวรปู า ทุชชฺ ีวติ า มุจฺเจยฺย ํ นตฺถตี ิ ปทเมว น สุเณยฺยนตฺ ิ ปตฺถนํ
เปส ิ ฯ ปจฺเจกพุทฺโธ เอว ํ โหตุ มหาปุฺาต ิ อนุโมทน ํ กตฺวา

ปกกฺ ามิ ฯ สุมนเสฏฺิโนป ิ ฉตฺเต อธิวตถฺ า เทวตา

อโห ทานํ ปรมทาน ํ อุปริฏฺเ สุปปฺ ติฏฺ ิตนฺต

วตวฺ า ตกิ ขฺ ตฺต ํุ สาธกุ ารํ อทาสิ ฯ

ให้เวลา ๔ ชั่วโมง กบั ๑๕ นาที.

21

เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓

สมั พนั ธ์ไทย

อนฺนภาโร สยกตฺตา ใน เปสิ ๆ อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก ตํ ก็ดี

ตุจฺฉปตฺตหตฺถํ ก็ด ี วิเสสน ของ ปจฺเจกพุทฺธํ ๆ อวุตฺตกมฺม ใน ทิสฺวา ๆ

ปพุ ฺพกาลกิริยา ใน ปจุ ฺฉติ ฺวา

“ภนฺเต อาลปน ตมุ เฺ ห สยกตตฺ า ใน ลภติ ฺถ ๆ อาขยฺ าตบท กตฺตวุ าจก
อปิ ศัพท ์ ปุจฺฉนตฺถ ภิกฺขํ อวุตฺตกมฺม ใน ลภิตฺถ อิติ ศัพท์ อาการ ใน

ปจุ ฉฺ ิตวฺ า ๆ ปพุ พฺ กาลกิรยิ า ใน วตวฺ า

“มหาปุฺ อาลปน อห ํ สยกตฺตา ใน ลภิสฺสามิ ๆ อาขฺยาตบท

กตฺตุวาจก อิติ ศัพท ์ สรูป ใน วจเน ๆ ลกฺขณ ใน วุตฺเต ปจฺเจกพุทฺเธน

อนภิหิตกตตฺ า ใน วตุ เฺ ต ๆ ลกขฺ ณกิรยิ า

“ภนฺเต อาลปน เตนหิ ศัพท ์ วิภตฺติปฏิรูปก ตุมฺเห เหตุกตฺตา ใน

อาคเมถ กาล ํ การิตกมฺม ใน อาคเมถ ๆ อาขฺยาตบท เหตุกตฺตุวาจก

(หรือสัมพันธ์ว่า ตุมฺเห สยกตฺตา ใน อาคเมถ ๆ อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก๑)

โถก ํ กริ ยิ าวเิ สสน๒ ใน อาคเมถ อติ ิ ศพั ท ์ อาการ ใน วตวฺ า ๆ ปพุ พฺ กาลกริ ยิ า
ใน ฉฑฺเฑตฺวา ติณกาชํ อวุตฺตกมฺม ใน ฉฑฺเฑตฺวา ๆ ปุพฺพกาลกิริยา ใน
คนฺตวฺ า เวเคน ตตยิ าวิเสสน ใน คนตฺ ฺวา เคหํ สมปฺ าปุณิยกมฺม ใน คนตฺ ฺวา ๆ
ปพุ พฺ กาลกริ ิยา ใน ปุจฺฉติ ฺวา

“ภทฺเท อาลปน ปิตภาคภตฺตํ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขฺยาตบท

กตตฺ ุวาจก มยหฺ ํ สมปฺ ทาน ใน ปิต- (กึ ศพั ท์ ปจุ ฺฉนตถฺ ), ปิตภาคภตฺต ํ
สยกตตฺ า ใน นตถฺ ิ ๆ อาขยฺ าตบท กตตฺ วุ าจก (มยฺหํ สมปฺ ทาน ใน ปติ -)
อุทาหุ ศัพท ์ ปุจฺฉนตฺถ อิติ ศัพท์ อาการ ใน ปุจฺฉิตฺวา ภริยํ อวุตฺตกมฺม

ใน ปจุ ฉฺ ติ วฺ า ๆ ปุพฺพกาลกริ ยิ า ใน ปจจฺ าคนตฺ วฺ า

๑ คำวา่ “อาคเมถ” มาจาก อา + คมฺ + เณ + ถ ฯ ในสัททนีติปกรณ ์ ธาตุมาลา อธบิ ายว่า คมฺ (คมุ)
ธาตนุ ้ี ในภูวาทคิ ณะ ใชเ้ ปน็ เหตุกัตตวุ าจก หากมี อา เปน็ บทหน้า เม่อื ใชเ้ ป็น จุราทคิ ณะ มีอรรถว่า
“อีสมธวิ าสน = อดกลนั้ เล็กนอ้ ย (รอคอย)” เป็นกัตตวุ าจก เช่น “อาคเมต,ิ อาคมยติ (ยอ่ มรอคอย)”.

๒ “โถกํ” อาจารยบ์ างท่าน สมั พันธเ์ ปน็ “การิตกมฺม ใน อาคเมถ” ตามนยั แรกบ้าง หรือ สัมพันธว์ ่า
“อจฺจนฺตสโํ ยค ใน อาคเมถ” ตามนัยหลังบ้าง.

22
“สาม ิ อาลปน ปิตภาคภตฺตํ (หรือ ภตฺตํ) สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ

อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก (ตุมฺหากํ สมฺปทาน ใน ปิต-) อิติ ศัพท์ สรูป

ใน วจเน ๆ ลกฺขณ ใน วุตฺเต ภรยิ าย อนภิหิตกตฺตา ใน วุตฺเต ๆ ลกฺขณกริ ิยา
เวเคน ตติยาวิเสสน ใน ปจฺจาคนฺตฺวา ๆ ปุพฺพกาลกิริยา ใน อาทาย
ปจฺเจกพุทฺธสฺส สามีสมฺพนฺธ ใน ปตฺตํ ๆ อวุตฺตกมฺม ใน อาทาย ๆ

ปุพพฺ กาลกิรยิ า ใน คนฺตวฺ า

“เทยฺยธมฺโม สยกตฺตา ใน โหติ น ศัพท์ ปฏิเสธ ใน โหติ ๆ

อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก มยฺห ํ ภาวาทิสมพนฺธ ใน ทาตุกามตาย ๆ ลกฺขณ

ใน สติ ๆ ลกขฺ ณกริ ยิ า, อห ํ สยกตตฺ า ใน ลภาม ิ น ศพั ท ์ ปฏเิ สธ ใน ลภามิ ๆ
อาขยฺ าตบท กตตฺ ุวาจก เทยยฺ ธมเฺ ม ลกฺขณ ใน สติ ๆ ลกฺขณกิริยา ปฏคิ าหก ํ
อวุตตฺ กมฺม ใน ลภามิ,

ปน ศัพท ์ วิเสสโชตก ปฏิคาหโก วุตฺตกมฺม ใน ทิฏฺโ เม

อนภิหิตกตฺตา ใน ทฏิ โฺ  ๆ กติ บท กมฺมวาจก อชชฺ กาลสตตฺ มี ใน ทฏิ โฺ 
และ อตฺถิ จ สองศัพท ์ วากฺยสมุจจฺ ยตฺถ เขา้ กับ เม ปฏิคาหโก ทิฏฺโ และ
เทยฺยธมฺโม อตฺถิ เทยฺยธมโฺ ม สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยฺ าตบท กตฺตุวาจก,

ลาภา สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก วต ศัพท์ อจฺฉริยตฺถ

(หรือ วจนาลงกฺ าร) เม สมปฺ ทาน ใน อตถฺ ิ (หรือสมั พนั ธว์ ่า ลาภา ลงิ คฺ ตฺถ
วต ศัพท ์ อจฺฉริยตฺถ (หรือ วจนาลงฺการ) เม สามีสมฺพนฺธ ใน ลาภา) อิติ
ศัพท ์ สรูป ใน จินฺตเนน ๆ กรณ ใน คนฺตฺวา เคหํ สมฺปาปุณิยกมฺม ใน

คนตฺ ฺวา ๆ ปพุ ฺพกาลกริ ยิ า ใน อากิราเปตวฺ า ปตฺเต อาธาร ใน อากิราเปตวฺ า
ภตฺต ํ อวุตตฺ กมมฺ ๓ ใน อากริ าเปตวฺ า ๆ ปพุ พฺ กาลกริ ิยา ใน ปจจฺ าหรติ ฺวา ๆ

ปุพฺพกาลกิรยิ า ใน ปตฏิ ฺาเปตฺวา ปจเฺ จกพทุ ฺธสฺส สามสี มพฺ นฺธ ใน หตเฺ ถ ๆ
อาธาร ใน ปตฏิ ฺ าเปตฺวา ๆ ปุพฺพกาลกิริยา ใน เปส

ปน ศพั ท์ วากยฺ ารมภฺ ทาลิทฺทยิ ํ สยกตฺตา ใน

อหุ มา ศัพท ์ ปฏิเสธ ใน อหุ ๆ อาขฺยาตบท

กตฺตุวาจก อิมินา วิเสสน ของ ทาเนน ๆ

กรณ (หรือ เหต)ุ ใน อหุ เม สมฺปทาน ใน อหุ,

* อาจารย์บางท่าน สมั พันธว์ า่ “ภตฺตํ การิตกมฺม ใน อากริ าเปตวฺ า” บ้าง.

23
วจนํ สยกตตฺ า ใน อโหสิ มา ศพั ท์ ปฏิเสธ

ใน อโหสิ ๆ อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก นตฺถ ิ สรูป

ใน อิติ ๆ ศัพท ์ สรูป ใน วจน ํ นาม ศัพท ์

สฺาโชตก เข้ากับ วจน ํ ภวาภเว วิสยาธาร

ใน อโหสิ,

ภนฺเต อาลปน อหํ สยกตฺตา ใน มุจฺเจยฺยํ ๆ อาขฺยาตบท

กตฺตุวาจก เอวรูปา วิเสสน ของ ทุชฺชีวิตา ๆ อปาทาน ใน มุจฺเจยฺยํ, อหํ
สยกตฺตา ใน สุเณยยฺ ํ น ศัพท ์ ปฏิเสธ ใน สุเณยยฺ ํ ๆ อาขยฺ าตบท กตตฺ ุวาจก
นตฺถิ สรูป ใน อิติ ๆ ศพั ท ์ สรูป ใน ปทํ ๆ อวุตฺตกมมฺ ใน สุเณยยฺ ํ เอว
ศพั ท ์ อวธารณ เขา้ กบั ปทํ อติ ิ ศพั ท์ สรูป ใน ปตฺถนํ ๆ อวตุ ตฺ กมมฺ ใน

เปสิ ฯ

ปจฺเจกพุทฺโธ สยกตฺตา ใน ปกฺกามิ ๆ อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก

“มหาปุฺ อาลปน เอวํ วเิ สสน ของ ปตถฺ ติ ผลํ (หรอื ปตฺถติ ปปฺ ตฺถนา๔) ๆ
สยกตตฺ า ใน โหตุ ๆ อาขยฺ าตบท กตฺตวุ าจก อิติ ศัพท์ สรูป ใน อนุโมทนํ ๆ
อวุตฺตกมมฺ ใน กตฺวา ๆ ปพุ พฺ กาลกริ ิยา ใน ปกฺกามิ ฯ

เทวตา สยกตตฺ า ใน อทาสิ ๆ อาขฺยาตบท กตฺตวุ าจก สุมนเสฏฺ โิ น
สามีสมฺพนฺธ ใน ฉตฺเต ปิ ศัพท์ อเปกฺขตฺถ เข้ากับ สุมนเสฏฺิโน ฉตฺเต
อาธาร ใน อธิวตฺถา ๆ วเิ สสน ของ เทวตา

อโห ศัพท์ อจฺฉริยตฺถ ทานํ วุตฺตกมฺม ใน

สุปฺปติฏฺิต ํ อนฺนภาเรน อนภิหิตกตฺตา ใน

สุปฺปติฏฺิตํ ๆ กิตบท กมฺมวาจก ปรมทานํ

วเิ สสน ของ ทาน ํ อปุ รฏิ เฺ  อาธาร ใน สปุ ปฺ ตฏิ ฺ ติ

อิติ ศัพท ์ อาการ ใน วตฺวา ๆ ปุพฺพกาลกิริยา ใน อทาสิ ติกฺขตฺตุ

กริ ยิ าวเิ สสน๕ ใน อทาสิ สาธุการ ํ อวตุ ฺตกมฺม ใน อทาสิ ฯ

พระราชวิสุทธเิ วท ี มโนกโร วัดปากนำ้ สมั พนั ธ

สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

๔ อาจารย์บางทา่ นโยค “ปิตปฏฺ นา” บ้าง.

๕ อาจารยบ์ างทา่ น สัมพนั ธว์ า่ “อจฺจนฺตสํโยค” บา้ ง.

24
ประโยค ป.ธ. ๓

บรุ พภาค

สอบ วนั ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔

จงแก้ตัวอกั ษร ยอ่ หน้า และจัดวรรคตอน ใหถ้ ูกต้องตามสมยั นิยม ฯ

ท่ีพศ๐๐๐๒/๑๐๕๐๕ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ อำเภอพุทธมนฑณ
จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ ๗ธันวาคม๒๕๖๓ เร่ืองขออาราธะณามอบ

ประกาสณียะบัดประโยค๑-๒ นมัดสกานพระวิสุทธิวงศาจารย์ เจ้าคณะใหญ

หนเหนอื สง่ิ ทส่ี ง่ มาดว้ ย ๑.สำเนามตมิ หาเถรสมาคม มตทิ ่ี ๒๓๗/๒๕๖๒ จำนวน

๑ ฉบับ ๒. สำเนาหนังสือขอรับพระบันชาสมเด็จพระสังฆราช จำนวน ๑

ฉบบั ดว้ ยสมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก
ทรงมีพระบันชาเห็นชอบให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดพิธีซงตั้ง
เปรยี ญธรรม ๓ ประโยค ประจำปี ๒๕๖๓ โดยในเขตปกครองคณะสงฆห์ นกลาง
มอบถวายสมเด็จพระวันรัต ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนเจ้าคนะใหญ่คนะธรรมยุต

ไปปฏิบัติหน้าท่ีแทน ส่วนในเขตปกครองคนะสงฆ์หนเหนือ หนตะวันออก

และหนใต้ มอบถวายเจ้าคนะใหญ่ หนน้ันๆ ปฏิบัติหน้าที่แทน สำนักงานพระ

พทุ รศาสนาแหง่ ชาติ ขอนมดั สการวา่ ในการจดั พธิ ซี งตง้ั เปรยี ญธรรม๓ประโยค
ดงั กลา่ วนนั้ จะมพี ธิ มี อบประกาสณยี ะบดั ประโยค ๑-๒ ตอ่ จากพธิ ซี งตง้ั เปรยี ญ
ธรรม ทงั้ นเี้ พอ่ื เปน็ ขวณั กำลงั ใจ และสรา้ งแลงจงู ใจแกพ่ ระภกิ ษสุ ามเณรผสู้ อบ
ไดป้ ระโยค๑-๒ จงึ ขออาราธะณาพระคณุ เจา้ ไดโ้ ปดเมตตามอบประกาสณยี ะบดั
ประโยค ๑-๒ ตอ่ จากพธิ ซี งตงั้ เปรยี ญธรรม๓ประโยคในเขตปกครองคณะสงฆ์
หนเหนือจำนวน๑๙๘รูป ณวัดจองคำ อำเภองาว จังหวัดลัมปาง ในวันท่ี๒๒
ธนั วาคม๒๕๖๓ รายระเอยี ดตามเอกสานทสี่ ง่ ถวายมาพรอ้ มนี้ จงึ นมดั สกานมา
เพ่ือโปดภิจารณา และขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งมาณโอกาศนี้ ขอนมัดสกาน
ดว้ ยความเคารบอยา่ งยง่ิ นายสทิ ธา มลู หงษ(์ นายสทิ ธา มลู หงษ)์ ผตู้ รวดราชกาน
ปฏิบัติราชกานแทนผู้อำนวยกานสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กองพุทธ
ศาสนศกึ ษา โทร./โทรสาน ๐๒๔๔๑๗๙๕๑

ใหเ้ วลา ๑ ช่ัวโมง กบั ๑๕ นาท.ี

25

เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓

บุรพ
ภาค

ท่ี พศ ๐๐๐๒/๑๐๕๐๕ สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาต

อำเภอพุทธมณฑล

จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐

๗ ธันวาคม ๒๕๖๓

เรอ่ื ง ขออาราธนามอบประกาศนยี บัตรประโยค ๑ - ๒

นมสั การ พระวิสุทธวิ งศาจารย ์ เจ้าคณะใหญห่ นเหนือ

ส่งิ ท่ีส่งมาด้วย ๑. สำเนามติมหาเถรสมาคม มตทิ ่ี ๒๓๗/๒๕๖๒ จำนวน ๑ ฉบบั

๒. สำเนาหนงั สอื ขอรบั พระบญั ชาสมเดจ็ พระสงั ฆราช จำนวน ๑ ฉบบั

ดว้ ย สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก
ทรงมีพระบัญชาเห็นชอบให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติจัดพิธีทรงต้ัง

เปรียญธรรม ๓ ประโยค ประจำปี ๒๕๖๓ โดยในเขตปกครองคณะสงฆ์หนกลาง
มอบถวายสมเดจ็ พระวนั รัต ผู้ปฏิบัติหน้าทแ่ี ทนเจา้ คณะใหญค่ ณะธรรมยุตไปปฏิบัติ
หน้าท่ีแทน ส่วนในเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ หนตะวันออก และหนใต้

มอบถวายเจา้ คณะใหญ่หนนน้ั ๆ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ทน

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ขอนมัสการว่า ในการจัดพิธีทรงตั้ง
เปรียญธรรม ๓ ประโยค ดังกล่าวน้ัน จะมีพิธีมอบประกาศนียบัตรประโยค ๑ - ๒
ต่อจากพิธีทรงต้ังเปรียญธรรม ท้ังน้ี เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ และสร้างแรงจูงใจแก

พระภกิ ษสุ ามเณรผสู้ อบไดป้ ระโยค ๑ - ๒ จงึ ขออาราธนาพระคณุ เจา้ ไดโ้ ปรดเมตตา
มอบประกาศนียบัตรประโยค ๑ - ๒ ต่อจากพิธีทรงต้ังเปรียญธรรม ๓ ประโยค

26

ในเขตปกครองคณะสงฆห์ นเหนอื จำนวน ๑๙๘ รปู ณ วดั จองคำ อำเภองาว จงั หวดั
ลำปาง ในวนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓ รายละเอยี ดตามเอกสารทส่ี ่งถวายมาพรอ้ มนี้

จึงนมัสการมาเพื่อโปรดพิจารณา และขอขอบพระคุณเป็นอย่างย่ิงมา

ณ โอกาสน
้ี
ขอนมสั การดว้ ยความเคารพอย่างยงิ่

นายสิทธา มลู หงษ ์

(นายสิทธา มลู หงษ์)

ผู้ตรวจราชการ ปฏิบัตริ าชการแทน

ผอู้ ำนวยการสำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาต

กองพุทธศาสนศึกษา
โทร./โทรสาร ๐ ๒๔๔๑ ๗๙๕๑

27

ประโยค ป.ธ. ๓

ปญั หา บาลีไวยากรณ

สอบ วนั ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔

๑. ฐานกรณ์ คืออะไร ฯ มีเท่าไร ฯ อะไรบ้าง ฯ ง  ณ น ม เกิดท่ีฐานไหน

เรียกชอื่ วา่ อยา่ งไร ฯ

๒. สนธิ กับ สมาส ต่างกันอย่างไร ฯ จงตอบพร้อมท้ังยกตัวอย่างมาประกอบ

ดว้ ย ฯ ภวตฺวนฺตราโย, ทูรมาคโต, สาหํ เป็นสนธิอะไร ฯ ตัดและต่อ

อยา่ งไร ฯ

๓. จงตอบคาํ ถามตอ่ ไปน
ี้
ก. ปฐมาวภิ ัตติ แบ่งเป็นเทา่ ไร ฯ อะไรบา้ ง ฯ

ข. มโนคณะ ได้แก่ศพั ทอ์ ะไรบา้ ง ฯ

ค. ปรู ณสังขยา เปน็ นามศัพท์ชนดิ ไหน ฯ

ฆ. มย,ํ อิเม เปน็ สพั พนามชนิดไหน ฯ

ง. อัพยยศัพท์ แบง่ เปน็ เทา่ ไร ฯ อะไรบา้ ง ฯ

๔. อ อาคม และ อิ อาคม ในอาขยาต ลงในวิภัตติหมวดไหนได้บ้าง ฯ

จงแก้คำทเ่ี หน็ ว่าผิด ใหถ้ ูกตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ ในประโยคต่อไปน้ี ฯ

ก. เอกสฺมึป ิ วเย ปุตโฺ ต วา ธีตา วา อปุ ฺปชฺเชยยฺ ุํ ฯ

ข. สา อนาถา วจิ รนตฺ า มหาทุกฺขํ ปาปณุ นตฺ ิ ฯ

ค. ตโยปิ สกิ ขฺ า กถติ าเยว โหติ ฯ

๕. ปัจจัยแห่งกิริยากิตก์ หมวดไหน บอกให้รู้ความอะไร ฯสนฺติมคฺคนิโยชโก

(สงฺโฆ), วิมุตฺติ, สุวโจ (เถโร) ลงปัจจัยอะไร เป็นรูป และสาธนะอะไร

จงตง้ั วิเคราะหม์ าดู ฯ

๖. อะไรช่ือว่ากัมมธารยสมาส ฯ เฉพาะวิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส

กับทวันทวสมาส ต่างกันอย่างไร ฯ ภิกฺขุสงฺฆปริวุโต (ภควา) เป็นสมาส

อะไรบา้ ง จงต้งั วเิ คราะหม์ าตามลำดบั ฯ

๗. สมุหตัทธิต เป็นนามหรือคุณ ฯ ต่างจากราคาทิตัทธิตอย่างไรบ้าง ฯ

เวสารชฺชํ, พลวตี (ชิฆจฺฉา), เจตสิกํ (กมฺมํ) ลงปัจจัยอะไร ในตัทธิตไหน

จงตง้ั วเิ คราะหม์ าดู ฯ

ใหเ้ วลา ๓ ช่วั โมง.

28

เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓

ปญั หา บาลีไวยากรณ์

๑. ฐาน คือ ทตี่ ั้งท่เี กิดของอักขระ มี ๖ คอื กณฺโ คอ ๑ ตาลุ เพดาน ๑ มุทฺธา

ศีรษะก็ว่า ปุ่มเหงือกก็ว่า ๑ ทนฺโต ฟัน ๑ โอฏฺโ ริมฝีปาก ๑ นาสิกา

จมกู ๑ ฯ

กรณ์ คอื ที่ทำอักขระ มี ๔ คือ ชวิ ฺหามชฺฌํ ทา่ มกลางลิน้ ๑ ชิวโฺ หปคคฺ ํ

ถดั ปลายลน้ิ เข้ามา ๑ ชวิ ฺหคคฺ ํ ปลายลน้ิ ๑ สกฏฺ านํ ฐานของตน ๑ ฯ

ง เกดิ ในคอ เรยี กวา่ กัณฐชะ

 เกดิ ท่ีเพดาน เรียกว่า ตาลชุ ะ

ณ เกดิ ในศีรษะหรอื ปุม่ เหงอื ก เรยี กว่า มทุ ธชะ

น เกดิ ทีฟ่ นั เรยี กวา่ ทนั ตชะ

ม เกิดทรี่ มิ ฝีปาก เรยี กว่า โอฏฐชะ

อนงึ่ พยญั ชนะทีส่ ดุ วรรคทงั้ ๕ นี้ เกิดได้ ๒ ฐาน คอื เกดิ ตามฐานเดิม

ของตนและจมกู จงึ เรียกว่า สกฏฺ านนาสกิ ฏฺ านชา ฯ

๒. สนธกิ บั สมาสตา่ งกนั อยา่ งน้ี สนธิ คอื วธิ ตี อ่ ศพั ทแ์ ละอกั ขระใหเ้ นอื่ งกนั ดว้ ย

อักขระ เพื่อจะย่นอักขระให้น้อยลง เป็นอุปการะในการแต่งฉันท์

และทำคำพูดให้สละสลวย ดังเช่น เอตทโวจ ถ้าจะแปลต้องแยกศัพท์

ออกจากกัน เปน็ เอตํ อโวจ ฯ

ส่วนสมาสนั้น ย่อนามศัพท์ต้ังแต่ ๒ ศัพท์ข้ึนไปเข้าเป็นบทเดียวกัน

ดังเช่น รญฺโ ปุตฺโต เป็น ราชปุตฺโต ถ้าจะแปลไม่ต้องแยกศัพท์ออกจาก

กันเหมอื นสนธิ ฯ

ภวตวฺ นตฺ ราโย เปน็ อาเทสสระสนธิ ตดั เปน็ ภวตุ + อนตฺ ราโย สระอยหู่ ลงั

อาเทส อุ ที่ ตุ เป็น ว เป็น ภวตฺว ลบ อ สระหน้า ที่ ว แล้วต่อเป็น

ภวตฺวนฺตราโย ฯ

29

ทูรมาคโต เป็นอาเทสนิคคหิตสนธิ ตัดเป็น ทูรํ + อาคโต ถ้านิคคหิต

อยหู่ น้า สระอย่หู ลัง อาเทสนคิ คหติ เปน็ ม ตอ่ เป็น ทรู มาคโต ฯ

สาหํ เป็นโลปสระสนธิ ตัดเป็น สา + อหํ สระหน้าเป็นทีฆะ และ

สระหลังเปน็ รสั สะ ลบสระหน้าแล้วทฆี ะสระหลงั เปน็ อา ตอ่ เปน็ สาหํ ฯ

๓. ไดต้ อบคำถามดังตอ่ ไปน
ี้
ก. ปฐมาวิภัตติ แบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ เป็น ลิงฺคตฺโถ หรือ กตฺตา

ท่เี ป็นตวั ประธานอย่าง ๑ เปน็ อาลปนํ คำสำหรับร้องเรยี กอยา่ ง ๑ ฯ

ข. มโนคณะ ได้แก่ศัพทเ์ หลา่ น้ี คอื มน ใจ, อย เหล็ก, อรุ อก, เจต ใจ,

ตป ความร้อน, ตม มืด, เตช เดช, ปย น้ำนม, ยส ยศ, วจ วาจา, วย วัย,

สริ หัว ฯ

ค. ปรู ณสงั ขยา เปน็ นามศพั ท์ชนิดคณุ นาม ฯ

ฆ. มย ํ เป็นสัพพนามชนิดปุริสสัพพนาม อิเม เป็นสัพพนามชนิด

วเิ สสนสัพพนาม ฯ

ง. อพั ยยศัพท์ แบง่ เปน็ ๓ คือ อปุ สคั ๑ นิบาต ๑ ปจั จยั ๑ ฯ

๔. อ อาคม และ อิ อาคม ในอาขยาต ลงในหมวดวิภัตติดังน้ี คอื

อ อาคม ลงในวิภัตติหมวด หยิ ตั ตนี อัชชตั ตนี กาลาตปิ ัตติ

ส่วน อิ อาคม ลงในวภิ ัตตหิ มวด อชั ชตั ตนี ภวิสสนั ติ และกาลาติปตั ติ ฯ

ไดแ้ กค้ ำท่เี หน็ วา่ ผดิ ใหถ้ ูกต้องตามหลกั ไวยากรณ์ในประโยคตอ่ ไปน้

ก. เอกสฺมปึ ิ วเย ปุตฺโต วา ธีตา วา อปุ ฺปชเฺ ชยฺย ฯ หรือ

เอกสฺมปึ ิ วเย ปุตฺโต จ ธตี า จ อุปปฺ ชฺเชยฺยุํ ฯ

ข. สา อนาถา วจิ รนตฺ ี มหาทกุ ฺขํ ปาปุณาติ ฯ หรอื

ตา อนาถา วิจรนตฺ ิโย มหาทกุ ฺข ํ ปาปณุ นฺติ ฯ

ค. ตสิ โฺ สป ิ สกิ ขฺ า กถิตาเยว โหนฺติ ฯ

30

๕. ปจั จัยแหง่ กริ ยิ ากติ ก์ แต่ละหมวดบอกใหร้ ูค้ วามดงั ตอ่ ไปนี้

อนตฺ ปจั จยั ในหมวดกติ ปัจจัย และ มาน ปัจจัย ในหมวดกิตกจิ จปจั จยั

บอกให้รคู้ วามเปน็ ปจั จุบันกาล แปลวา่ อย,ู่ เมื่อ

อนีย,ตพพฺ ปัจจยั ในหมวดกจิ จปัจจัย บอกให้รคู้ วามจำเป็น แปลว่า พึง

ตวนฺตุ, ตาวี ในหมวดกิตปัจจัย และ ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน ในหมวด

กติ กิจจปจั จยั บอกใหร้ คู้ วามเปน็ อดตี กาล แปลวา่ แล้ว ฯ

สนฺติมคฺคนิโยชโก (สงฺโฆ) ลง ณฺวุ ปัจจัย เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ

ตงั้ วิเคราะหว์ ่า สนฺตมิ คเฺ ค นิโยเชตีต ิ สนฺตมิ คคฺ นโิ ยชโก (สงฺโฆ)

วิมุตฺติ ลง ติ ปัจจัย เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ ต้ังวิเคราะห์ว่า วิมุจฺจน ํ

วิมตุ ฺติ ฯ

สุวโจ (เถโร) ลง ข ปัจจัย เป็นกัมมรูป กัมมสาธนะ ตั้งวิเคราะห์ว่า

สเุ ขน วจิยเตติ สวุ โจ (เถโร) ฯ หรือ ตัง้ วิเคราะหว์ ่า สุเขน วตตฺ พโฺ พติ สุวโจ

(เถโร) ฯ

๖. นามศพั ท์ ๒ บท มีวิภัตตแิ ละวจนะเป็นอย่างเดยี วกนั บทหน่ึงเป็นประธาน

คือ เป็นนามนาม บทหน่ึงเป็นวิเสสนะคือเป็นคุณนาม หรือเป็นคุณนาม

ท้ังสองบท มีบทอื่นเป็นประธาน ที่ท่านย่อเข้าเป็นบทเดียวกัน ชื่อว่า

กัมมธารยสมาส ฯ

เฉพาะวิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส กับทวันทวสมาส ต่างกันดังน ี้

คือ วิเสสโนภยบท กมั มธารยสมาส มีบทท้ัง ๒ เปน็ วิเสสนะ มีบทอน่ื เป็น

ประธาน ส่วนทวันทวสมาส มีนามนามต้ังแต่ ๒ บทข้ึนไป ที่ท่านย่อเข้า

เปน็ บทเดียวกัน ฯ

ภิกฺขุสงฺฆปริวุโต เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส

เป็นภายใน ตง้ั วเิ คราะห์ตามลำดบั ดงั นี

ฉ.ตปั . ภิกขฺ นู ํ สงโฺ ฆ ภิกฺขุสงโฺ ฆ ฯ

ต.ตัป. ภกิ ฺขุสงเฺ ฆน ปรวิ โุ ต ภิกขฺ ุสงฺฆปริวุโต (ภควา) ฯ

31

๗. สมุหตัทธิต เป็นนาม ฯ ต่างจากราคาทิตัทธิตดังนี้ คือ สมุหตัทธิต

เปน็ นามนามอย่างเดยี ว ลงปจั จยั ๓ ตัว คอื กณฺ ณ ตา แทน สมหุ ศัพท

เท่านั้น ฯ ต่างจากราคาทิตัทธิตดังนี้ คือ ราคาทิตัทธิตเป็นคุณนาม

อยา่ งเดยี ว ลง ณ ปจั จยั ใช้แทนศัพท์ท่ัวไปมี รตฺต ศัพท์เปน็ ต้น ฯ

เวสารชฺชํ ลง ณฺย ปัจจัย ในภาวตัทธิต ตั้งวิเคราะห์ว่า วิสารทสฺส

ภาโว เวสารชชฺ ํ ฯ

พลวตี (ชิคจฺฉา) ลง วนฺตุ ปัจจัย ในตทัสสัตถิตัทธิต ตั้งวิเคราะห์ว่า

พล ํ อสฺสา อตฺถีต ิ พลวต ี (ชิคจฉฺ า) ฯ

เจตสิกํ (กมฺมํ) ลง ณิก ปัจจัย ในตรตยาทิตัทธิต ตั้งวิเคราะห์ว่า

เจตสา วตตฺ ตตี ิ เจตสิกํ (กมฺมํ) ฯ หรือ เจตสา กต ํ เจตสิก ํ (กมมฺ ํ) ฯ

พระธรรมเจดีย์ เขมจารี วัดทองนพคณุ เฉลย

สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

32
ประโยค ป.ธ. ๔

แปล ไทยเป็นมคธ

สอบ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๔

๑. พระอานนท์เถระ ทูลแจ้งข่าวสาส์นท่ีคนสำคัญทั้งหลายมีอนาถ
บิณฑิกเศรษฐีเป็นต้นส่งมาแล้วกราบทูลว่า พระเจ้าข้า อริยสาวก ๕ โกฎ ิ

มีอนาถบิณฑิกเศรษฐีเป็นหัวหน้า หวัง(รอคอย)การเสด็จมาของพระองค์อยู่ ฯ
พระบรมศาสดาตรัสว่า เธอจงรับบาตรและจีวร ดังนี้แล้วให้พระเถระถือบาตร
และจีวรแล้วเสด็จออกไป ฯ ช้างตัวประเสริฐได้ไปยืนขวางทางแล้ว ฯ

ภิกษุท้ังหลายเห็นช้างน้ันแล้ว ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า พระเจ้าข้า ช้างทำ
อะไร ฯ พระบรมศาสดาตรัสว่า ช้างหวังจะถวายภิกษาแก่พวกเธอ ก็แลช้างนี้
เป็นผู้มีอุปการคุณแก่เราเป็นเวลานาน การจะให้จิตใจของช้างน้ันถูกกระทบ
กระเทือน ไม่ควร พากันกลับไปก่อนเถิด ภิกษุทั้งหลาย ฯ พระบรมศาสดา

ทรงพาภกิ ษทุ ั้งหลายเสด็จกลบั แลว้ ฯ ฝ่ายช้างเข้าไปยงั ไพรสณฑ์แลว้ รวบรวม
ผลไม้ต่าง ๆ มีผลขนุนและกล้วยเป็นต้นทำให้เป็นกองไว้แล้ว วันรุ่งข้ึน

ได้ถวายแกภ่ กิ ษุทงั้ หลายแลว้ ฯ ภกิ ษุ ๕๐๐ รูปไม่สามารถจะฉนั ผลไม้ทุกอย่าง
ให้หมดส้ินได้ ฯ ในเวลาเสร็จภัตกิจ พระบรมศาสดาทรงถือบาตรและจีวร
เสด็จออกไปแล้ว ฯ ช้างตัวประเสริฐ เดินไประหว่าง ๆ ภิกษุท้ังหลาย

ได้ยืนขวางเบื้องพระพักตร์พระบรมศาสดา ฯ ภิกษุทั้งหลายเห็นกิริยานั้นแล้ว
จึงทูลถามพระผู้มพี ระภาคว่า พระเจ้าขา้ ช้างทำอะไร ฯ พระบรมศาสดาตรัสว่า

ภิกษทุ ้งั หลาย ช้างนี้ สง่ พวกเธอแล้วชวนใหเ้ รากลับ ฯ ภิกษุท้งั หลาย. อย่างนน้ั
หรือพระเจ้าข้า ฯ พระบรมศาสดา. ใช่ ภิกษุทั้งหลาย ฯ ลำดับนั้น พระบรม-
ศาสดา ตรัสกะช้างนั้นว่า ปาริเลยยกะ การไป(ครั้ง)นี้ เป็นการไปไม่กลับ

ของเรา ฌานก็ดี วิปัสสนาก็ดี มรรคและผลก็ดี ย่อมไม่มีแก่เจ้า โดยอัตภาพนี้
เจ้าจงหยุดเถิด ฯ ช้างตัวประเสริฐได้ฟังพระดำรัสน้ันแล้ว ได้สอดงวงเข้าไป

ในปาก ร้องไห้อยู่ ได้เดินตามไปข้างหลังๆ แล้ว ฯ ก็ช้างตัวประเสริฐนั้น

เมอื่ ทลู เชญิ ใหเ้ สดจ็ กลบั ได้ กจ็ ะพงึ ปฏบิ ตั โิ ดยทำนองนน้ั นนั่ แลจนตลอดชวี ติ ฯ

33

๒. ฝ่ายพระบรมศาสดา เสด็จถึงเขตแดน (อุปจาร) บ้านนั้นแล้ว

รับส่ังว่า ปาริเลยยกะ จำเดิมแต่น้ีไปมิใช่พื้นท่ีของเจ้า ถ่ินท่ีอยู่ของมนุษย์

มีอันตรายเบียดเบียนรอบด้าน เจ้าจงหยุดเถิด ฯ ช้างนั้น ยืนร้องไห้อยู่ในท่ีนั้น
ครั้นเมื่อพระบรมศาสดาละคลองจักษุไปแล้ว มีหัวใจสลายแล้ว กระทำกาละ
บงั เกิดในท่ามกลางนางอัปสรพนั หนึง่ ในวิมานทอง (สูง) ๓๐ โยชนใ์ นดาวดงึ ส์
พิภพ เพราะความเลื่อมใสในพระบรมศาสดา ฯ ช่ือของเทพบุตรนั้นได้มีว่า

ปาริเลยยกเทพบุตร ฯ

เหล่าภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ฟังว่า ข่าวว่า พระบรมศาสดาเสด็จถึงเมือง
สาวัตถีแล้วไดไ้ ป ณ ทนี่ ้นั เพื่อจะขอขมาพระบรมศาสดา ฯ พระเจ้าโกศลทรง
สดับว่า นัยว่า พวกภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ผู้ก่อความร้าวฉานเหล่านั้น กำลังมา
จึงเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา ทูลว่า พระเจ้าข้า หม่อมฉันจักไม่(ยินยอม)ให้ภิกษุ
เหล่าน้ันเข้ามาสู่แว่นแคว้นของหม่อมฉัน ฯ พระบรมศาสดาตรัสตอบว่า

ดูกรมหาบพิตร ภิกษุเหล่านั้น เป็นผู้มีศีล เพียงแต่ไม่ถือเอาคำของอาตมา

เพราะวิวาทกันและกันอย่างเดียว บัดนี้ภิกษุเหล่าน้ันมาเพ่ือขอขมาอาตมา

ดูกรมหาบพิตร ขอภิกษุเหล่าน้ันจงมาเถิด ฯ

ให้เวลา ๔ ชวั่ โมง กบั ๑๕ นาที.

34
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๔

แปล ไทยเปน็ มคธ

๑. อานนฺทตฺเถโร อนาถปณิ ฑฺ กิ าทหี ิ เปสติ ํ สาสนํ อาโรเจตวฺ า

ภนฺเต อนาถปิณฺฑิกปมุขา ปฺจ อริยสาวกโกฏิโย ตุมฺหากํ อาคมนํ
ปจจฺ าสึสนตฺ ีต ิ อาห ฯ สตถฺ า เตนห ิ คณหฺ าห ิ ปตตฺ จวี รนตฺ ิ ปตตฺ จีวร ํ
คาหาเปตวฺ า นกิ ขฺ ม ิ ฯ นาโค คนฺตวฺ า มคเฺ ค ติริย ํ อฏฺาสิ ฯ ภกิ ขฺ ู ตํ
ทสิ วฺ า ภควนตฺ ํ ปุจฺฉึสุ ก ึ กโรติ ภนฺเตติ ฯ ตมุ ฺหากํ ภิกฺขเว ภกิ ขฺ ํ

ทาตํุ ปจฺจาสึสต ิ ทีฆรตตฺ ํ โข ปนาย ํ มยหฺ ํ อุปการโก นาสสฺ จิตตฺ ํ
โกเปต ุํ วฏฺฏต ิ นิวตฺตถ ภกิ ขฺ เวต ิ ฯ สตถฺ า ภกิ ขฺ ู คเหตวฺ า นิวตฺต ิ ฯ
หตฺถปี ิ วนสณฺฑํ ปวิสิตวฺ า ปนสกทลิผลาทีนิ นานาผลานิ สํหรติ ฺวา ราส ึ
กตฺวา ปุนทิวเส ภิกฺขูน ํ อทาส ิ ฯ ปฺจสตา ภิกฺขู สพฺพานิ เขเปตุ ํ

นาสกฺขึสุ ฯ ภตฺตกิจฺจปริโยสาเน สตฺถา ปตฺตจีวร ํ คเหตฺวา นิกฺขมิ ฯ

นาโค ภิกขฺ นู ํ อนฺตรนฺตเรน คนฺตวฺ า สตฺถุ ปรุ โต ตริ ยิ ํ อฏฺ าสิ ฯ ภิกขฺ ู
ตํ ทสิ วฺ า ภควนตฺ ํ ปุจฉฺ สึ ุ กึ กโรติ ภนฺเตต ิ ฯ อย ํ ภกิ ฺขเว ตมุ เฺ ห
เปเสตวฺ า ม ํ นวิ ตเฺ ตตตี ิ ฯ เอว ํ ภนเฺ ตต ิ ฯ อาม ภกิ ขฺ เวต ิ ฯ อถ น ํ

สตถฺ า ปารเิ ลยฺยก อิท ํ มม อนวิ ตตฺ คมนํ ตว อิมินา อตตฺ ภาเวน ฌานํ
วา วปิ สฺสน ํ วา มคฺคผล ํ วา นตถฺ ิ ติฏฺ ตวฺ นตฺ ิ อาห ฯ ตํ สตุ วฺ า

นาโค มุเข โสณฺฑํ ปกขฺ ปิ ติ ฺวา โรทนโฺ ต ปจฺฉโต ปจฉฺ โต อคมาส ิ ฯ
โส ห ิ สตถฺ ารํ นิวตฺเตตํ ุ ลภนฺโต เตเนว นิยาเมน ยาวชวี ํ ปฏิชคเฺ คยยฺ ฯ

๒. สตถฺ า ปน ต ํ คามปู จาร ํ ปตวฺ า ปารเิ ลยยฺ ก อโิ ต ปฏฺ าย

ตว อภมู ิ มนสุ สฺ าวาโส สปรปิ นโฺ ถ ตฏิ ฺ ตวฺ นตฺ ิ อาห ฯ โส โรทมาโน
ตตถฺ ตวฺ า สตถฺ ร ิ จกขฺ ปุ ถ ํ วชิ หนเฺ ต หทเยน ผลเิ ตน กาล ํ กตวฺ า สตถฺ ร ิ
ปสาเทน ตาวตึสภวเน ตึสโยชนิเก กนกวิมาเน อจฺฉราสหสฺสมชฺเฌ

นพิ พฺ ตฺต ิ ฯ ปารเิ ลยฺยกเทวปุตฺโตเตวฺ วสฺส นาม ํ อโหส ิ ฯ

35

โกสมพฺ กิ า ภกิ ขฺ ู สตถฺ า กริ สาวตถฺ ึ อาคโตต ิ สตุ วฺ า สตถฺ าร ํ

ขมาเปต ุํ ตตถฺ อคมสํ ุ ฯ โกสลราชา เต กริ โกสมพฺ กิ า ภณฑฺ นการกา

ภกิ ขฺ ู อาคจฉฺ นตฺ ตี ิ สตุ วฺ า สตถฺ าร ํ อปุ สงกฺ มติ วฺ า อห ํ ภนเฺ ต เตส ํ มม วชิ ติ ํ
ปวิสิต ุํ น ทสฺสามีต ิ อาห ฯ มหาราช สีลวนฺตา เต ภิกฺข ู เกวล ํ

อฺ มฺ ํ ววิ าเทน มม วจน ํ น คณหฺ สึ ุ อทิ าน ิ ม ํ ขมาเปต ํุ อาคจฉฺ นตฺ ิ
อาคจฉฺ นตฺ ุ มหาราชาต ิ ฯ

36
ประโยค ป.ธ. ๔

แปล มคธเปน็ ไทย

สอบ วนั ท่ี ๙ มนี าคม ๒๕๖๔

๑. ยเจ อาปตฺตาธิกรณ ํ อกุสลํ ตมฺปิ เทสิตํ วุฏฺิต ํ วา

อนนตฺ รายกร ํ ฯ ยถา หิ อรยิ ุปวาทกมมฺ ํ อกสุ ลปํ ิ สมาน ํ อจฺจยํ เทเสตวฺ า
ขมาปเนน ปโยคสมปฺ ตตฺ ปิ ปฺ ฏพิ าหติ ตตฺ า อวปิ ากธมมฺ ต ํ อาปนนฺ ํ อโหสกิ มมฺ ํ
โหติ เอวมิทํป ิ เทสิต ํ วุฏฺิต ํ วา ปโยคสมฺปตฺติปฺปติพาหิตตฺตา

อวิปากธมฺมตาย อโหสกิ มมฺ ภาเวน อนนตฺ รายกรํ ฯ เตเนว สาปตตฺ กิ สสฺ
ภิกฺขเว นิรยํ วทาม ิ ติรจฺฉานโยนึ วาติ สาปตฺติกสฺเสว อปายคามิตา

วตุ ตฺ าติ จุลฺลวคฺเค สมถกฺขนธฺ กฏีกา ฯ

ตตรฺ ที ํ วตถฺ ุ กสสฺ ปพทุ ธฺ สาสเน เอโก ทหรภกิ ขฺ ุ วสี ตวิ สสฺ สหสสฺ าน ิ
อรฺเ สมณธมฺม ํ กตฺวา เอกทิวส ํ คงฺคาย นทิยา นาวํ อภิรุยฺห

คจฺฉนฺโต เอรกคมุ เฺ พ เอรกปตฺต ํ คเหตวฺ า นาวาย เวคสา คจฉฺ นตฺ ยิ าป ิ

น มุ จฺ ิ ฯ เอรกปตตฺ ํ ฉชิ ชฺ ิ ฯ โส อปปฺ มตตฺ กเมตนตฺ ิ อาปตตฺ ึ อเทเสตวฺ า
มรณกาเล เอรกปตฺเตน ควี ายํ คหิโต วิย ต ํ เทเสตุกาโมปิ หุตฺวา อฺํ
ภิกฺขุํ อปสฺสนฺโต อปริสุทฺธํ เม สีลนฺติ วิปฺปฏิสารี ชาโต จวิตฺวา

เอกรุกฺขนาวปปฺ มาโณ นาคราชา อโหสิ ฯ เอรกปตฺโตตสิ ฺส นาม ํ ฯ โส
อทฺธาห ํ อิมินา อุปาเยน พุทฺธุปฺปาท ํ สุณิสฺสนฺต ิ จินฺเตตฺวา อตฺตโน
ธตี รํ คตี ํ อุคฺคณหฺ าเปตฺวา อนฺวฑฺฒมาสํ อโุ ปสถทิวเส คงคฺ าย อทุ กปฏิ ฺเ
มหนฺต ํ ผณ ํ กตวฺ า ตตฺถ ธีตร ํ เปตวฺ า คายาเปส ิ ฯ สา ตตถฺ นจฺจนฺต ี
คายิ ฯ สกลชมพฺ ุทปี วาสิโน นาคมาณวิก ํ คณฺหิตกุ ามา อตฺตโน อตฺตโน
ปฺาพเลน ปฏคิ ายึส ุ ฯ นาคราชา ตํ ปฏกิ ฺขปิ ิ ฯ ตสฺสา อนฺวฑฺฒมาส ํ
เอวํ คายนตฺ ิยา เอก ํ พุทฺธนฺตรํ วีติวตฺต ํ ฯ อถ สตฺถา โลเก อุปปฺ ชชฺ ิตฺวา
เอกทิวสํ ปจจฺ สู กาเล โลกํ โวโลเกนโฺ ต ต ํ ตวฺ า คนตฺ วฺ า พาราณสีสมเี ป
เอกสสฺ สริ สี รกุ ฺขสสฺ มเู ล นสิ ินฺโน ปฏคิ ายนตถฺ ํ คจฉฺ นตฺ ํ อุตฺตรํ นาม

37
มาณว ํ ทสิ วฺ า อโิ ต เอหีติ อาห ฯ โส สตถฺ ารํ อุปสงกฺ มิตฺวา สตฺถารา
ปุฏฺโ อตฺตโน ปฏิคีตํ กเถส ิ ฯ เนตํ อุตฺตร ปฏิคีตนฺต ิ ตํ ปฏิคีต ํ
อุคคฺ ณฺหาเปส ิ ฯ โส ต ํ อคุ คฺ ณหฺ นโฺ ตว โสตาปนฺโน หตุ ฺวา อคมาส ิ ฯ

๒. อถ นาคมาณวกิ า

กสึ อุ ธปิ ต ี ราชา ก ึ ส ุ ราชา รชสสฺ โิ ร

กถ ํ ส ุ วริ โช โหต ิ กถ ํ พาโลต ิ วจุ จฺ ต ิ ฯ

เกนสสฺ ุ วยุ หฺ ต ี พาโล กถ ํ นทุ ต ิ ปณฑฺ โิ ต

โยคกเฺ ขม ี กถ ํ โหต ิ ตมเฺ ม อกขฺ าห ิ ปจุ ฉฺ โิ ตต

คาถาทวฺ เยน คาย ิ ฯ

ตตถฺ กสึ ตู ิ กสิ สฺ อธปิ ต ิ ราชา นาม โหต ิ ฯ ก ึ สตู ิ กถ ํ ปน

ราชา รชสสฺ โิ ร นาม โหต ิ ฯ กถ ํ สตู ิ กถนนฺ ุ โส ราชา วริ โช นาม ฯ
กถนตฺ ิ เกน การเณน ปคุ คฺ โล พาโลต ิ วจุ จฺ ต ิ ฯ วยุ หฺ ตตี ิ เกน ธมเฺ มน วฬุ โฺ ห
โหต ิ ฯ นทุ ตตี ิ เกน กตร ํ วโิ นเทต ิ ฯ โยคกเฺ ขม ี นาม ปคุ คฺ โล เกน โหต ิ ฯ
อกขฺ าหตี ิ สมมฺ ขุ ภี ตู ํ สนธฺ าย วทต ิ ฯ

ให้เวลา ๔ ชวั่ โมง กับ ๑๕ นาที.

38
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๔

แปล มคธเป็นไทย

๑. ฏีกาสมถขันธกะ จุลวรรค ว่า หากอาปัตตาธิกรณ์ แม้ที่เป็นอกุศล
ภกิ ษผุ ตู้ อ้ งอาบตั แิ สดงแลว้ กด็ ี อยกู่ รรมแลว้ กด็ ี หาทำอนั ตรายไม่ ฯ เหมอื นอยา่ ง
อริยุปวาทกรรม แมเ้ ป็นอกศุ ล ยอ่ มช่อื ว่าเปน็ อโหสกิ รรม ทถี่ งึ ความเป็นกรรม
อนั หาวบิ ากมไิ ดเ้ ปน็ ธรรมดา เพราะวา่ กรรมนน้ั มปี ระโยคสมบตั ิ อนั การแสดง
โทษแลว้ ใหพ้ ระอรยิ เจา้ อดโทษหา้ มแลว้ ฉนั ใด อาปตั ตาธกิ รณ ์ แมน้ ี้ กฉ็ นั นน้ั
อนั ภกิ ษผุ ตู้ อ้ งอาบตั ิ แสดงแลว้ กด็ ี อยกู่ รรมแลว้ กด็ ี ชอื่ วา่ ไมท่ ำอนั ตราย เพราะ
อาปัตตาธิกรณ์นั้นเป็นอโหสิกรรม เหตุเป็นกรรมหาวิบากมิได้เป็นธรรมดา
เพราะว่ากรรมน้ัน มีประโยคสมบัติ อันการแสดงก็ดี อันการอยู่กรรมก็ดีห้าม
แลว้ ฯ เพราะเหตนุ น้ั แล พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ ตรสั ความทภ่ี กิ ษผุ มู้ อี าบตั เิ ทา่ นนั้
ตอ้ งไปอบาย วา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรากลา่ วนรกบา้ ง กำเนดิ สตั วด์ ริ จั ฉานบา้ ง เพอื่
ภกิ ษผุ มู้ อี าบตั ิ ฯ ในขอ้ นน้ั มเี รอ่ื งดงั ตอ่ ไปนี้ ฯ

ในศาสนาของพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ พระภิกษุหนุ่มรูปหนึ่ง
บำเพ็ญสมณธรรมในป่า ตลอดสองหม่ืนป ี วันหน่ึงขึ้นเรือไปในแม่น้ำคงคา

จบั ใบตะไครน้ ำ้ ทก่ี อตะไครน้ ำ้ ไวแ้ ลว้ แมเ้ มอ่ื เรอื แลน่ ไปโดยเรว็ กไ็ มป่ ลอ่ ย ฯ
ใบตะไคร้น้ำขาดไป ฯ เธอเข้าใจว่า โทษน้ันเพียงเล็กน้อย จึงไม่แสดงอาบัต ิ

เปน็ เหมอื นถกู ใบตะไครน้ ำ้ รดั ทค่ี อ ในเวลาใกลต้ าย แมป้ ระสงคจ์ ะแสดงอาบตั ิ
นน้ั กไ็ มเ่ หน็ ภกิ ษอุ นื่ เกดิ ความรอ้ นใจวา่ ศลี ของเราไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ ดงั น ี้ มรณภาพ
แล้วได้เป็นพญานาค ขนาดตัวเท่าเรือโกลนลำหนึ่ง ฯ พญานาคน้ันมีนามว่า

เอรกปตั ต์ ฯ พญานาคนน้ั คดิ วา่ เราจกั ไดฟ้ งั การอบุ ตั แิ หง่ พระพทุ ธเจา้ ดว้ ยอบุ าย
น้ี เป็นแน่ จึงให้ธิดาของตนเรียนเพลงขับแล้ว แผ่พังพานใหญ่เหนือหลังน้ำใน
แมน่ ำ้ คงคา ยกธดิ าขน้ึ ไวบ้ นพงั พานนน้ั แลว้ ใหข้ บั (เพลงขบั ) ในวนั อโุ บสถทกุ
กง่ึ เดอื น ฯ ธดิ านนั้ ฟอ้ นพลางรอ้ งเพลงขบั บนพงั พานนน้ั ฯ ชาวชมพทู วปี ทงั้ สนิ้
ตอ้ งการจะครองนาคมาณวกิ า จงึ รอ้ งแกต้ ามกำลงั ปญั ญาของตน ๆ ฯ พญานาค
ปฏเิ สธเพลงแก้ นนั้ ฯ เมอ่ื นาคมาณวกิ านน้ั ขบั อยอู่ ยา่ งนที้ กุ กง่ึ เดอื น พทุ ธนั ดร ๑
ล่วงไปแล้ว ฯ คร้ังนั้น พระบรมศาสดาทรงอุบัติแล้วในโลก เม่ือทรงตรวจด ู

39
(สัตว์)โลกในเวลาใกล้รุ่งวันหน่ึง ทรงทราบเหตุน้ันแล้ว เสด็จไปประทับนั่ง

ณ โคนไม้ซึกต้นหน่ึง ใกล้กรุงพาราณสี ทอดพระเนตรเห็นมาณพชื่ออุตตระ

ผกู้ ำลงั ไปเพอ่ื รอ้ งแก้ จงึ ตรสั วา่ เธอจงมาขา้ งนเ้ี ถดิ ฯ เขาเขา้ ไปเฝา้ พระบรมศาสดา
อันพระบรมศาสดาตรัสถาม จึงกราบทูลเพลงแก้ของตน ฯ พระบรมศาสดา

ตรัสว่า อุตตระ นั่นไม่ใช่เพลงแก้ ดังน้ีแล้ว ทรงให้เขาเรียนเพลงแก้ ฯ

เขาเมอื่ เรยี นเพลงแกน้ นั้ แล กเ็ ปน็ โสดาบนั ไดไ้ ปแลว้ ฯ

๒. คร้งั นน้ั นาคมาณวิกา ขับ (เพลง) ด้วย ๒ คาถาว่า

ผเู้ ปน็ ใหญแ่ หง่ อะไรเลา่ ชอื่ วา่ พระราชา, อยา่ งไรเลา่
พระราชาชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร, อย่างไรเล่า ชื่อว่า

มีธุลีไปปราศแล้ว, อย่างไร เรียกว่าคนพาล, คนพาล
อันอะไรเล่า พัดไป, บณั ฑิตบรรเทาไดอ้ ยา่ งไร, บุคคล
มีธรรมอันเกษมจากโยคะ อย่างไร, ท่านอันข้าพเจ้า
ถามแลว้ จงบอกความนน้ั แกข่ ้าพเจา้ ฯ

บรรดาบทเหลา่ นัน้ คำวา่ กสึ ุ ความวา่ ผ้เู ปน็ ใหญแ่ หง่ อะไร ชอ่ื วา่
เป็นพระราชา ฯ คำว่า กึ ส ุ ความว่า ก็อย่างไรเล่า พระราชา ชื่อว่ามีธุลีบน
พระเศยี ร ฯ คำวา่ กถํ สุ ความวา่ อย่างไรหนอ พระราชานนั้ ชอื่ วา่ มธี ลุ ีไป
ปราศแล้ว ฯ คำวา่ กถํ ความว่า ด้วยเหตไุ ร ทา่ นเรยี กบคุ คลว่าคนพาล ฯ

บทว่า วุยหฺ ติ ความว่า คนพาล เป็นผูอ้ นั ธรรมอะไรพดั ไป ฯ บทว่า
นุทติ ความวา่ บณั ฑติ บรรเทาสิง่ ไหน ด้วยธรรมอะไร ฯ บุคคล ช่อื วา่ มธี รรม
อันเกษมจากโยคะ เพราะธรรมอะไร ฯ ด้วยคำวา่ อกขฺ าหิ นาคมาณวิกากลา่ ว
หมายถงึ ผอู้ ยตู่ รงหนา้ ฯ

พระวสิ ุทธาธบิ ดี จติ ฺตคุตฺโต วดั สุทศั นเทพวราราม แปล

สนามหลวงแผนกบาล ี ตรวจแก.้

40
ประโยค ป.ธ. ๕

แปล ไทยเป็นมคธ

สอบ วนั ท ี่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๔

๑. เม่ือเศรษฐีทำกรรมน้ีและน้ีอยู่น่ันแล เด็กเติบใหญ่แล้ว ฯ เด็กนั้น

ได้มีช่ือว่า โฆสกะ ฯ เขาปรากฏแก่เศรษฐีประหนึ่งหนามแทงตา ฯ เศรษฐีไม่
อาจแม้จะมองดูเขาตรงๆได้ ฯ คร้ังนั้น เศรษฐีตรองหาอุบายจะฆ่าโฆสกะน้ัน
อยู่ จึงไปยังสำนกั ของนายชา่ งหมอ้ ผู้เป็นสหายตนแล้วถามวา่ ท่านจักหลอมเตา
เมื่อไร เม่ือช่างหม้อตอบว่า พรุ่งน้ี จึงบอกว่า ถ้าอย่างน้ัน ท่านจงถือเอาทรัพย์
หนึ่งพันนี้ไว้แล้วทำงานให้เราสักอย่างหน่ึง ฯ ช่างหม้อถามว่า งานอะไรครับ
นาย ฯ เศรษฐีตอบว่า เรามีลูกชายชาติช่ัวอยู่คนหน่ึง เราจะส่งมันมายังสำนัก
ของท่าน เม่ือเป็นอย่างน้ัน ท่านจงพามันให้เข้าไปยังห้อง เอามีดคมกริบตัด

(ห่ัน)ให้เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่ เอาใส่ตุ่มแล้วเผาในเตา ทรัพย์หนึ่งพันนี ้

เป็นเช่นกับรางวัลของท่าน เราจะทำสิ่งที่ควรทำแก่ท่านให้ยิ่งข้ึนไปอีก

ในภายหลัง ฯ ช่างหม้อรับคำว่า ได้จ้ะ ฯ วันรุ่งขึ้น เศรษฐีให้เรียกโฆสกะ

มาแล้ว บอกว่า พ่อ เม่ือวานนี้ เราสั่งงานช่างหม้ออย่างหน่ึงเอาไว้ มาเถิด

เจา้ ไปสำนักของเขาแล้วพดู อยา่ งนี้ว่า ได้ยินว่า ท่านจงยัง(ทำ)งานท่พี อผมสั่งไว้
เมอ่ื เยน็ วานนใ้ี หส้ ำเรจ็ เถดิ ดงั น้ี สง่ ไปแลว้ ฯ โฆสกะนนั้ รบั วา่ จะ้ ไดไ้ ปแลว้ ฯ
ฝ่ายลูกชายเศรษฐีอีกคนหนึ่ง กำลังเล่นขลุบ (ลูกคลี) กับพวกเด็กท้ังหลาย

เห็นโฆสกะน้ัน กำลังเดินไปอยู่ในที่น้ัน จึงเรียกโฆสกะนั้นแล้วถามว่า จะไป
ไหน พ่ี เม่ือโฆสกะนั้นตอบว่า เราถือเอาข่าวสาส์นของพ่อไปสำนักของนาย
ช่างหม้อ จึงพูดว่า ฉันจักไปในที่นั้นเอง เด็กพวกน้ีชนะฉันหลายคะแนนแล้ว

พ่ีจงชนะคืนเอาคะแนนให้ฉัน ฯ โฆสกะบอกว่า พ่ีกลัวพ่อ ฯ ลูกเศรษฐีพูดว่า
อย่ากลัวไปเลยพ่ี ฉันจักนำข่าวสารนั้นเอาไปเอง ฉันถูกเด็กหลายคนชนะแล้ว
พี่จงชนะคืน (เอา) คะแนน(ให้)แก่ฉัน จนกว่าฉันจะกลับมา ฯ ทราบกันดีว่า
โฆสกะเปน็ ผูฉ้ ลาดในการเล่นขลบุ เพราะฉะนน้ั ลกู ชายเศรษฐีนน้ั จงึ ได้หน่วง
เหนยี่ วโฆสกะน้นั ไวอ้ ยา่ งน้ี ฯ

41

๒. ฝ่ายโฆสกะน้ัน จึงพูดกะลูกชายเศรษฐีน้ันว่า ถ้ากระน้ัน เธอจงไป
บอกกะนายช่างหม้อว่า ทราบว่า งานอย่างหน่ึง พ่อผมส่ังไว้เม่ือวานนี้ ท่านจง
ทำการงานน้ันให้สำเร็จ ดังนี้แล้ว ส่งเขาไปแล้ว ฯ ลูกชายของเศรษฐีนั้นไปยัง
สำนกั ของนายชา่ งหมอ้ นน้ั ไดบ้ อกตามนน้ั ฯ ครง้ั นน้ั นายชา่ งหมอ้ ไดฆ้ า่ ลกู ชาย
เศรษฐีน้ัน ตามนิยามที่เศรษฐีบอกไว้ที่เดียว แล้วโยนไว้ในเตา ฯ ฝ่ายโฆสกะ
เล่นกีฬาตลอดทั้งวัน พอตกเย็นก็กลับบ้าน เมื่อเศรษฐีเห็นแล้วจึงถามว่า เจ้าไม่
ได้ไปหรือ พ่อ จึงช้ีแจงถึงเหตุที่ตนไม่ได้ไปและเหตุท่ีน้องชายไปแทน ฯ
เศรษฐีฟังคำน้ันแล้วจึงร้องลั่นว่า อย่าได้ฆ่าเลย เป็นผู้ปานประหนึ่งว่ามีโลหิต
เดือดพล่านทวั่ รา่ งกาย ประคองแขนคร่ำครวญอยูว่ ่า ชา่ งหมอ้ ผเู้ จริญ อย่าให้เรา
ฉบิ หายเลย อยา่ ใหเ้ ราฉบิ หายเลย ดงั น้ี ไดไ้ ปยงั สำนกั ของนายชา่ งหมอ้ นนั้ แลว้ ฯ

นายช่างหม้อนั้น เห็นเศรษฐีนั้นกำลังเดินมาอยู่โดยอาการอย่างน้ันจึงพูดว่า
นาย ท่านอยา่ เอด็ องึ ไป งานของท่านสำเร็จแลว้ ฯ เศรษฐนี ัน้ อนั ความโศกอย่าง
ใหญห่ ลวงประดจุ วา่ ภเู ขาทว่ มทบั แลว้ เสวยโทมนสั มปี ระมาณมใิ ชน่ อ้ ย เปรยี บ
ปานดังบคุ คลผมู้ ีใจคิดร้ายตอ่ บคุ คลผู้ไม่ประทษุ รา้ ย ฉะน้ัน ฯ

ให้เวลา ๔ ช่วั โมง กบั ๑๕ นาที.

42

เฉลย ประโยค ป.ธ. ๕

แปล ไทยเป็นมคธ

๑. เสฏฺิโน อิทฺจิทฺจ กโรนฺตสฺเสว ทารโก วฑฺฒิโต ฯ
โฆสโกเตวฺ วสสฺ นามํ อโหสิ ฯ โส เสฏฺ ิโน อกขฺ มิ ฺห ิ กณฺฏโก วยิ
ขายิ ฯ อุชุก ํ โอโลเกตุํปิ น วิสห ิ ฯ อถสฺส มรณุปายํ จินฺเตนฺโต
อตฺตโน สหายกกมุ ภฺ การสสฺ สนตฺ ิกํ คนตฺ วฺ า กทา อาวาป ํ อาลิมเฺ ปสสฺ สตี ิ
ปจุ ฺฉิตฺวา เสฺวติ วุตฺเต เตนห ิ อทิ ํ สหสสฺ ํ คเหตวฺ า มเมกํ กมมฺ ํ

กโรหตี ิ อาห ฯ ก ึ สามีต ิ ฯ เอโก เม อวชาตปตุ ฺโต อตฺถิ ตํ ตว
สนตฺ กิ ํ เปเสสสฺ าม ิ อถ น ํ คพภฺ ํ ปเวเสตวฺ า ตขิ ณิ าย วาสยิ า ขณฑฺ าขณฑฺ กิ ํ
ฉินฺทิตฺวา จาฏิย ํ ปกฺขิปิตฺวา อาวาเป ปเจยฺยาส ิ อิทนฺเต สหสฺส ํ

ลฺจการสทิสํ อุตฺตรึ ปุน เต กตฺตพฺพยุตฺตก ํ ปจฺฉา กริสฺสามีต ิ ฯ

กมุ ฺภกาโร สาธูต ิ สมฺปฏิจฉฺ ิ ฯ เสฏฺี ปุนทวิ เส โฆสกํ ปกโฺ กสาเปตวฺ า
ตาต หีโย มยา กมุ ภฺ กาโร เอก ํ กมฺม ํ อาณตฺโต เอหิ ตวฺ ํ ตสฺส
สนฺติกํ คนฺตฺวา เอว ํ วเทห ิ หีโย กิร เม ปิตรา อาณตฺตํ กมฺม ํ

นปิ ผฺ าเทหตี ิ ปหิณิ ฯ โส สาธตู ิ อคมาส ิ ฯ ตํ ตตถฺ คจฺฉนตฺ ํ อิตโร
เสฏฺ ิโน ปตุ โฺ ต ทารเกห ิ สทฺธึ คฬุ ํ กีฬนฺโต ทิสวฺ า ต ํ ปกโฺ กสิตฺวา
กุห ึ คจฺฉส ิ ภาติกาติ ปุจฺฉิตฺวา ปิต ุ สาสนํ คเหตฺวา กุมฺภการสฺส
สนฺติกนฺต ิ วตุ เฺ ต อห ํ ตตถฺ คมสิ ฺสามิ อเิ ม ทารกา มํ พหลุ กขฺ ํ ชนิ ึส ุ
ตํ เม ปฏชิ ินติ วฺ า เทหตี ิ อาห ฯ อหํ ปติ ุ ภายามีติ ฯ มา ภายิ ภาติก
อหนตฺ ํ สาสนํ หริสสฺ าม ิ พหูห ิ ชโิ ต ยาวาห ํ อาคจฉฺ ามิ ตาว เม ลกขฺ ํ
ปฏชิ ินาหตี ิ ฯ โฆสโก กริ คฬุ กฬี าย เฉโก เตน ตํ เอวํ นิพฺพนธฺ ิ ฯ

43
๒. โสป ิ น ํ เตนห ิ คนตฺ วฺ า กมุ ภฺ การ ํ วเทห ิ ปติ รา กริ เม หโี ย
เอกํ กมฺมํ อาณตตฺ ํ ตํ นปิ ฺผาเทหตี ิ วตวฺ า อุยโฺ ยเชสิ ฯ โส ตสสฺ สนฺตกิ ํ
คนตฺ ฺวา ตถา อวจ ฯ อถ น ํ กมุ ภฺ กาโร เสฏฺ ินา วตุ ตฺ นิยาเมเนว มาเรตฺ
วา อาวาเป ขิปิ ฯ โฆสโกป ิ ทวิ สภาค ํ กฬี ิตวฺ า สายณหฺ สมเย เคห ํ คนฺตฺ
วา เสฏฺนิ า ทิสฺวา กึ ตาต น คโตสตี ิ วตุ เฺ ต อตฺตโน อคตการณฺจ
กนฏิ ฺ สสฺ คตการณจฺ อาโรเจสิ ฯ เสฏฺ ี ต ํ สตุ วฺ า มา อวธตี ิ มหาวริ วํ
วริ วิตฺวา สกลสรีเร ปกฺกฏุ ฺิตโลหิโต วยิ หตุ วฺ า อมฺโภ กมุ ฺภการ มา มํ
นาสย ิ มา ม ํ นาสยตี ิ พาหา ปคคฺ ยหฺ กนทฺ นโฺ ต ตสสฺ สนตฺ กิ ํ อคมาสิ ฯ
กมุ ฺภกาโร ต ํ ตถา อาคจฉฺ นตฺ ํ ทิสฺวา สามิ มา สทฺทํ กร ิ กมมฺ นเฺ ต

นิปฺผนฺนนฺต ิ อาห ฯ โส ปพฺพเตน วิย มหนฺเตน โสเกน อวตฺถริโต

หตุ ฺวา อนปปฺ ก ํ โทมนสสฺ ํ ปฏิสเํ วเทส ิ ยถาตํ อปฺปทุฏฺสสฺ ปทุฏฺ มโน ฯ

44
ประโยค ป.ธ. ๕

แปล มคธเปน็ ไทย

สอบ วนั ที ่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๔

๑. เมถนุ ํ ธมมฺ นตฺ ิ ราคปรยิ ุฏฺาเนน สทสิ าน ํ อุภินนฺ ํ ธมมฺ นฺต ิ
กงฺขาวติ รณี ฯ ราคปรยิ ฏุ ฺ าเนน สทสิ ภาวาปตตฺ ยิ า มถิ นุ าน ํ อยนตฺ ิ เมถโุ นติ
ธมโฺ ม ว วจุ จฺ ตตี ิ อาห ราคปรยิ ฏุ ฺ าเนนาตอิ าท ึ ฯ ตตถฺ ราคปรยิ ฏุ ฺ าเนนาต ิ
ราคสฺส ปริยุฏฺาเนน ฯ เมถุนราคสฺส ปวตฺติยา ปริโยนทฺธจิตฺตตายาต ิ

อตโฺ ถ ฯ ธมโฺ มต ิ อชฌฺ าจาโรต ิ ตฏฏฺ กี า ฯ

มถิ นุ าน ํ วตุ ตฺ ากาเรน ทวฺ นทฺ วฺ ภตู าน ํ อยนตฺ ิ เมถโุ นต ิ จฬู หตถฺ ปิ โทปม-
สุตตฺ ฏีกา ฯ

รตตฺ ึ น ภุ ฺเชยยฺ วกิ าลโภชนนฺติ รตตฺ มิ ฺป ิ น ภุเฺ ชยยฺ ทวิ าปิ
กาลาตกิ กฺ นฺตโภชนํ น ภุเฺ ชยยฺ ฯ น จ คนธฺ นตฺ ิ เอตฺถ คนธฺ คคฺ หเณน
วิเลปนจุณฺณาทีนิปิ คหิตาเนวาต ิ เวทิตพฺพานิ ฯ มฺเจติ กปฺปิยมฺเจ ฯ
สนถฺ เตต ิ ตฏฏฺ กิ าทหี ิ กปปฺ ยิ ตถฺ รเณห ิ อตถฺ เต ฯ ฉมายมปฺ น โคณกาทสิ นถฺ ตายป ิ
วฏฏฺ ตตี ิ ธมฺมกิ สตุ ตฺ วณฺณนา ฯ

มฺเจ ฉมายํ ว สเยถ สนถฺ เตต ิ มุฏฺ ิหตฺถปาทเก กปฺปยิ มฺเจ
วา สุธาทิปรกิ มมฺ กตาย ภูมิยํ วา ตณิ ปณณฺ ปลาสาทนี ิ สนฺถรติ วฺ า กเต
สนถฺ เต วา สเยถาติ อตโฺ ถติ อโุ ปสถสตุ ฺตวณฺณนา ฯ

อฏฺงฺคิกนตฺ ิ ปฺจงคฺ กิ ํ วิย ตรุ ิย ํ อฏฺ งฺคาวินมิ ตุ ตฺ ํ ฯ ทุกขฺ นฺตคุนาต ิ
วฏฏฺ ทกุ ขฺ สฺส อนฺตคเตนาต ิ ธมมฺ กิ สุตฺตวณฺณนา ฯ

ตตฺถ กายทฺวารปฺปวตฺตา อสทฺธมฺมปฺปฏิเสวนฏฺานวีติกฺกมเจตนา
อพรฺ หมฺ จรยิ นฺติ ขทุ ทฺ กปาวณณฺ นา ฯ

อสทธฺ มมฺ เสวนาธปิ ปฺ าเยน กายทวฺ ารปปฺ วตตฺ า มคเฺ คน มคคฺ ปปฺ ฏปิ ตตฺ -ิ

สมฏุ ฺ าปิกา เจตนา อพรฺ หฺมจริย ํ ฯ ตสฺส เทวฺ สมฺภารา เสวติ กุ ามตาจติ ตฺ ํ
มคฺเคน มคฺคปฺปฏิปตฺตตี ิ พฺรหฺมชาลฏกี า ฯ

45

๒. ตสสฺ เทวฺ องคฺ าน ิ เสวนจติ ตฺ จฺ มคเฺ คน จ มคคฺ ปปฺ ฏปิ าทนนตฺ ิ
กงฺขาวิตรณ ี ฯ

อพรฺ หฺมจริยสฺส ปน จตฺตาร ิ องคฺ าน ิ ภวนฺต ิ อชฺฌาจรณียวตถฺ ุ จฺ
โหติ ตตฺถ จ เสวนจิตฺต ํ ปจฺจุปฏฺิต ํ โหติ เสวนปฺปจฺจยปฺปโยคฺจ

สมาปชชฺ ต ิ สาทิยนจฺ าติ ขุททฺ กปาวณฺณนา ฯ

อชฌฺ าจรณียวตถฺ ุ นาม ตึส มคคฺ า ฯ วตุ ตฺ ฺเหตํ กงขฺ าวิตรณยิ ํ
มนสุ สฺ ามนสุ สฺ ตริ จฉฺ านคตวเสน ห ิ ตสิ โฺ ส อติ ถฺ โิ ย ตาส ํ วจจฺ มคคฺ ปปฺ สสฺ าว-
มคคฺ มขุ มคคฺ วเสน ตโย ตโย กตวฺ า นว มคคฺ า ตถา อภุ โตพยฺ ชฺ นกาน ํ ฯ
ปุริสานมฺปน วจฺจมคฺคมุขมคฺควเสน เทฺว เทฺว กตฺวา ฉ มคฺคา ตถา
ปณฺฑกานนตฺ ิ เอวํ ตสึ มคคฺ าต ิ ฯ

เสสมิธ เจว ปมทุติยจตุตฺถปฺจเมสุ จ วตฺตพฺพํ เหฏฺา

อาคารยิ วนิ เย วุตตฺ นเยเนว เวทิตพพฺ ํ ฯ

กาโลต ิ ภิกฺขูน ํ โภชนกาโล อธิปเฺ ปโต ฯ โส จ สพฺพนฺตเิ มน
ปริจฺเฉเทน มชฌฺ นฺติโก ฯ เตเนวสฺส ปทภาชเน วกิ าโล นาม มชฺฌนฺตเิ ก
วตี วิ ตเฺ ต ยาว อรณุ คุ คฺ มนาต ิ วตุ ตฺ ํ ฯ ติ มชฌฺ นตฺ โิ กป ิ กาลสงคฺ ห ํ คจฉฺ ต ิ ฯ
ตโต ปฏฺ าย ปน ขาทติ ุ ํ วา ภุฺชิตํุ วา น สกกฺ า สหสา ปิวติ ํ ุ สกฺกา
ภเวยยฺ กุกกฺ ุจจฺ เกน ปน น กตตฺ พฺพนตฺ ิ วกิ าลโภชนสิกฺขาปทวณฺณนา ฯ

ให้เวลา ๔ ชั่วโมง กบั ๑๕ นาท.ี

46
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๕

แปล มคธเป็นไทย

๑. อรรถกถากังขาวติ รณวี า่ สองบทวา่ เมถุนํ ธมฺมํ ไดแ้ ก ่ ธรรมของ
คน ๒ คนผ้เู ช่นเดยี วกนั ดว้ ยความกลดั กลุ้มแห่งราคะ ฯ

ฎีกากังขาวิตรณีน้ันว่า ธรรมน้ีเป็นของคนคู่ทั้งหลาย เพราะถึงภาวะ
เชน่ เดยี วกนั ดว้ ยความกลดั กลมุ้ แหง่ ราคะ ฉะนนั้ ธรรมนน่ั เอง พระผมู้ พี ระภาคเจา้
จึงตรสั วา่ เมถนุ เหตนุ ้ัน พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวคำวา่ ราคปรยิ ุฏฺาเนน
เป็นต้น ฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ราคปริยุฏฺาเนน แปลว่า ด้วยความ
กลัดกลุ้มแห่งราคะ ฯ อธิบายว่า ด้วยความเป็นผู้มีจิตถูกความเป็นไปแห่ง
ความกำหนัดในเมถุนรวบรัดแล้ว ฯ อัชฌาจาร (การผิดประเวณี) ชื่อว่า

ธมฺโม ฯ

ฎีกาจูฬหัตถิปโทปมสูตรว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของคนคู่ทั้งหลาย คือ
สองต่อสอง โดยอาการทก่ี ล่าวแลว้ เหตนุ น้ั จงึ ช่อื ว่า เมถนุ ฯ

อรรถกถาธัมมกิ สตู รว่า บาทคาถาวา่ รตฺตึ น ภญุ ฺเชยยฺ วกิ าลโภชนํ
ความว่า ไม่พึงบริโภคทั้งในตอนกลางคืน ไม่พึงบริโภคโภชนะล่วงเวลาไป
แลว้ ทงั้ ในตอนกลางวนั ฯ แม้วัตถุมจี ุณเครอื่ งไลท้ าเปน็ ตน้ บณั ฑิตก็พงึ ทราบ
วา่ พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงระบไุ วแ้ ล้ว ด้วยคันธศพั ท ์ ในคำวา่ น จ คนธฺ ํ น้ี
เหมือนกนั ฯ บทวา่ มญเฺ จ ไดแ้ ก่ เตยี งทีส่ มควร ฯ บทว่า สนฺถเต ไดแ้ ก ่

ท่เี ขาปลู าดไว้ ด้วยเครื่องปูลาดอนั สมควร มเี ส่ือออ่ นเป็นตน้ ฯ ก ็ บนพืน้ ดิน
แมท้ ี่ปลู าดไวด้ ้วยผ้าขนสตั ว์เป็นต้น กค็ วร ฯ

อรรถกถาอุโบสถสูตรว่า บาทคาถาว่า มญฺเจ ฉมายํ ว สเยถ สนถฺ เต
ความว่า พึงนอนบนเตียงท่ีสมควร ซึ่งมีเท้าประมาณศอกกำ หรือบนพื้นท่ี
ฉาบไว้ด้วยปูนขาวเป็นต้น หรือบนท่ีนอนท่ีปูลาดด้วยหญ้า ใบไม ้ และฟาง
เปน็ ตน้ กระทำไว้ ฯ

47
อรรถกถาธัมมิกสูตรว่า บทว่า อฏฺงฺคิก ํ คือ ไม่พ้นไปจากองค ์ ๘
เหมือนดนตรีอันประกอบด้วยองค์ ๕ ฉะนั้น ฯ บทว่า ทุกฺขนฺตคุนา คือ

ผู้ถึงท่ีสุดแห่งวฏั ฏทกุ ขแ์ ลว้ ฯ

อรรถกถาขุททกปาฐะว่า บรรดาองค์เหลา่ นั้น เจตนาเปน็ เหตุกา้ วลว่ ง
ฐานะ ด้วยความประสงค์จะเสพอสัทธรรม ซึ่งเป็นไปทางกายทวาร ชื่อว่า
อพรหมจรรย์ ฯ

ฎีกาพรหมชาลสูตรว่า เจตนาที่ยังการจดมรรคด้วยมรรคให้ต้ังขึ้น
อนั เปน็ ไปทางกายทวาร ดว้ ยความประสงคจ์ ะเสพอสทั ธรรม ชอ่ื วา่ อพรหมจรรย ์ ฯ
อพรหมจรรย์นั้นมีองค์ ๒ คือ จิตที่ประกอบด้วยความเป็นผู้ประสงค์จะเสพ ๑
การจดมรรคดว้ ยมรรค ๑ ฯ

๒. อรรถกถากงั ขวาวติ รณีวา่ อพรหมจรรยน์ ั้นมีองค ์ ๒ คอื จติ คดิ
จะเสพ ๑ การยังมรรคให้จดดว้ ยมรรค ๑ ฯ

อรรถกถาขุททกปาฐะวา่ ก็ อพรหมจรรย์มอี งค์ ๔ คือ อชั ฌาจรณียวตั ถุ
(วัตถุที่จะพึงประพฤติล่วง คือมรรคท้ัง ๓) มีอยู่ ๑ จิตคิดจะเสพใน

อัชฌาจรณียวัตถุน้ันปรากฏชัด ๑ ความพยายามอันเป็นปัจจัยแห่งการเสพ
สำเร็จ ๑ มคี วามยนิ ดี ๑ ฯ

มรรค ๓๐ ชอ่ื วา่ อชั ฌาจรณยี วตั ถุ ฯ สมจรงิ ดงั คำทพ่ี ระอรรถกถาจารย์
กล่าวไว้ในอรรถกถากังขาวิตรณีวา่ ก็ ผู้หญิงม ี ๓ จำพวก คือ หญิงมนุษย์
อมนุษย ์ และสัตว์ดิรัจฉานเพศเมยี มรรคของผ้หู ญงิ เหลา่ นนั้ แบ่งเปน็ พวกละ
๓ คอื วัจจมรรค ปสั สาวมรรค และมขุ มรรค จึงเป็น ๙ ของจำพวกอภุ โต-
พยัญชนกก็อย่างน้ัน ฯ ส่วนของผู้ชายแบ่งเป็นพวกละ ๒ คือ วัจจมรรค

และมขุ มรรค จึงเปน็ ๖ ของพวกบัณเฑาะก์ ก็อย่างน้นั รวมเป็นมรรค ๓๐
ดว้ ยประการอยา่ งนี้ ฯ

คำท่ีเหลือที่ข้าพเจ้าจะพึงกล่าวในสิกขาบทน้ี และในสิกขาบทท่ ี ๑

ท ี่ ๒ ท ่ี ๔ และท ่ี ๕ บัณฑิตพึงทราบตามนัยอันข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้ว

ในอาคาริยวนิ ัยในหนหลังแล ฯ

48
อรรถกถาวิกาลโภชนสิกขาบทว่า ในบทว่า กาโล ท่านประสงค์เอา
กาลเปน็ ท่ีฉนั ของภกิ ษุท้ังหลาย ฯ ก็ กาลนัน้ โดยกำหนดอยา่ งตำ่ สุด คอื เวลา
เทีย่ งวัน ฯ เพราะเหตุนน้ั นั่นแล ในบทภาชนะแห่งสิกขาบทน้นั พระอุบาลจี ึง
กล่าวว่า เมอื่ เวลาเทีย่ งล่วงไป จนถงึ อรุณขน้ึ เวลานี ้ จัดเป็นวกิ าล ฯ แมเ้ วลา
เที่ยงตรง ก็ถึงการสงเคราะห์เข้าในกาล ฯ แต ่ นับต้ังแต่เที่ยงตรงน้ันไป

ภิกษไุ ม่สามารถจะขบเคีย้ วหรือฉนั ได้ พึงสามารถจะดม่ื โดยทนั ทไี ด ้ แตภ่ กิ ษุ
ผมู้ ีความรังเกียจไมค่ วรทำ ฯ

พระธรรมปริยตั ิโมลี อนิ ทฺ ปญโฺ  วัดบพติ รพมิ ุข แปล

สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

49
ประโยค ป.ธ. ๖

แปล ไทยเปน็ มคธ

สอบ วนั ที่ ๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

๑. ลำดับน้ัน มารดานายนันทิยะนั้นบอกนางสาวเรวดีว่า แม่คุณ

ทเี่ รอื นหลงั น้ี แมจ่ งฉาบทาสถานทส่ี ำหรบั นงั่ ของพระภกิ ษสุ งฆ์ ปลู าดอาสนะไว้
ตงั้ เชงิ รอง(บาตร)ไว้ เวลาพวกภกิ ษมุ า รบั บาตร นมิ นตใ์ หท้ า่ นนงั่ เอาทก่ี รองนำ้
กรองน้ำฉัน (ถวาย) เวลาท่านฉันเสร็จแล้วล้างบาตร ด้วยประการตามที่ฉันพูด
มาอย่างนี้ แม่จักเป็นหญิงท่ีโปรดปรานของลูกชายฉัน ฯ นางสาวเรวดีน้ัน

ได้กระทำตามนั้น ฯ ลำดับน้ัน พ่อแม่จึงบอกถึงเร่ืองราวนางสาวเรวดีน้ัน

แกล่ ูกชายว่า แมเ่ รวดีเป็นหญิงทอ่ี ดทนตอ่ โอวาท เม่อื นายนนั ทยิ ะนัน้ รับปากว่า
ดีแล้ว จึงกำหนดวันกระทำอาวาหมงคล ฯ ลำดับนั้น นายนันทิยะพูดกะนาง
เรวดีนั้นว่า ถ้าภิกษุสงฆ์ด้วย พ่อแม่ฉันด้วย เธอจักบำรุง ด้วยประการเช่นนี้

เธอจักไดอ้ ยทู่ ี่เรือนนี้ ขอเธอจงอยา่ ละเลยกแ็ ลว้ กนั ฯ

นางรับว่า ดีละ แล้วทำทีเป็นผู้มีศรัทธาบำรุงอยู่ ๒-๓ วัน ก็คลอดบุตร
๒ คน ฯ พ่อแม่แม้ของนายนันทิยะได้เสียชีวิตแล้ว ฯ ความเป็นใหญ่ทั้งหมด

ในเรือน ก็ตกอยู่แก่นางเรวดีนั้นคนเดียว ฯ จำเดิมแต่พ่อแม่เสียชีวิต แม้นาย
นันทิยะก็เป็นมหาทานบดีเตรียมตั้งทานสำหรับภิกษุสงฆ์ ฯ (และ) เร่ิมต้ัง

ค่าอาหารแม้สำหรับคนกำพร้าและคนเดินทางเป็นต้นไว้ ท่ีประตูเรือน ฯ

ในกาลต่อมา เขาฟังพระธรรมเทศนาของพระบรมศาสดา กำหนดอานิสงส์

ในการถวายอาวาสได้แล้ว ให้ทำศาลา ๔ มุข ประดับด้วยห้อง ๔ ห้องใน

มหาวิหาร ในป่าอิสิปตนะ แล้วให้ลาดเตียงและต่ังเป็นต้น เมื่อจะมอบถวาย
อาวาสนั้น ได้ถวายทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้วถวายน้ำ
ทักขิโณทกแด่พระตถาคต ฯ ปราสาททิพย์ สำเร็จโดยรัตนะ ๗ ประการ

พร้อมด้วยหมู่นารี มีประมาณ ๑๒ โยชน์ในทิศท้ังปวง เบื้องบนสูงประมาณ
๑๐๐ โยชน์ ผุดขึ้นในเทวโลกช้ันดาวดึงส์พร้อมด้วยทักขิโณทกประดิษฐาน

(ในพระหัตถ)์ ของพระบรมศาสดาทเี ดยี ว ฯ

50
๒. ฝ่ายหมู่นางอัปสรเห็นพระเถระน้ันแล้ว ลงจากปราสาทกล่าวว่า
ท่านผ้เู จริญ พวกดฉิ นั เกดิ ในทนี่ ี้ ด้วยหวงั วา่ จกั เป็นนางบำเรอของนายนนั ทิยะ
แต่เม่ือไม่พบเห็นนายนันทิยะนั้น เป็นผู้อึดอัดเหลือเกิน ด้วยว่า การละมนุษย์
สมบัติแล้วถือเอาทิพยสมบัติ ก็เช่นกับการทำลายถาดดินแล้วถือเอาถาดทองคำ
ฉะนั้น พระผู้เป็นเจ้าพึงบอกเขาเพ่ือประโยชน์แก่การมา ณ ที่น้ี ฯ พระเถระ

(กลับ) มาจากเทวโลกน้ันแล้วเข้าไปเฝ้าพระบรมศาสดา ทูลถามว่า พระเจ้าข้า
ทพิ ยสมบัตยิ อ่ มเกดิ แกบ่ ุคคลผูท้ ำความดที ยี่ ังอยู่มนุษยโลกนเี้ อง หรือหนอแล ฯ
พระบรมศาสดา.โมคคัลลานะ ทิพยสมบัติท่ีเกิดแล้วแก่นายนันทิยะในเทวโลก
อันเธอเห็นแล้วเอง มิใช่หรือ ไฉนจึงถามเราเล่า ฯ โมคคัลลานะ.ทิพยสมบัติ
เกิดได้อย่างนั้นหรือ พระเจ้าข้า ฯ ลำดับน้ัน พระบรมศาสดา ตรัสกะพระเถระ
น้นั ว่า โมคคลั ลานะ เธอพูดอะไรน่นั เหมือนอยา่ งวา่ ใคร ๆ ยนื อยูท่ ่ีประตเู รอื น
เห็นบุตรหรือพ่ีน้องผู้ไปอยู่ต่างถิ่นมานาน(กลับ)มาแต่ถ่ินที่จากไปอยู่ พึงมาสู่
เรือนโดยเร็ว บอกว่า คน ช่ือโน้น มาแล้ว เม่ือเป็นเช่นน้ัน พวกญาติของเขา

ก็ยินดีร่าเริงแล้วออกมาโดยขมีขมัน พึงยินดีย่ิงกะผู้น้ันว่า พ่อคุณ พ่อมาแล้ว
พ่อคณุ พ่อมาแลว้ ฉันใด เหลา่ เทวดา(ตา่ ง)ถือเอาเครอื่ งบรรณาการอนั เป็นทพิ ย์
๑๐ อย่าง ต้อนรับดว้ ยคดิ วา่ เราก่อน เราก่อน แลว้ ยอ่ มยนิ ดยี ่งิ กะสตรหี รือบรุ ษุ
ผ้ทู ำความดไี วใ้ นโลกน้ซี ึง่ ละโลกน้ีแลว้ ไปส่โู ลกหน้า ฉนั นน้ั เหมือนกัน ดังนี้ ฯ

ใหเ้ วลา ๔ ช่วั โมง กบั ๑๕ นาที.