เฉลย แบบฝึกหัด ท้าย บท ภาษาไทยเพื่ออาชีพ

ขอเฉลยเเบบฝึกหัดข้อกาหนังสือภาษาไทยเพื่ออาชีพ2000-1102 บท9-10หน่อยคะ

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่

ภาษาไทยเพื่ออาชีพ2000-1102

เฉลย แบบฝึกหัด ท้าย บท ภาษาไทยเพื่ออาชีพ

ดาลัด

29 ส.ค. 61 เวลา 21:29 น.

1

like

8,756

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

(ภTาhษaาiไfทorยเCพaอื่ rอeาeชrีพs)
รหัสวิชา ๒๐๐๐๐-๑๑๐๒

หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลุม่ วิชาภาษาไทย
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๒

ส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ

ฉนั ทนา ปรรณารม

ครศุ าสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม

ภาษาไทยเพ่ืออาชีพ
(Thai for Careers)

ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๔๙๕-๐๒๒-๑

จดั พมิ พแ์ ละจัดจำ�หนา่ ย โดย…
บริษัทวงั อักษร จำ�กดั
๖๙/๓ ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงวดั อรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ ๑๐๖๐๐
โทร. ๐-๒๔๗๒-๓๒๙๓-๕ โทรสาร ๐-๒๘๙๑-๐๗๔๒ Mobile : ๐๘-๘๕๘๕-๑๕๒๑
Facebook : สำ�นกั พมิ พ์วังอักษร e-Mail : [email protected]
http://www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn

พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ จำ�นวนที่พิมพ์ ๕,๐๐๐ เล่ม

สงวนลขิ สิทธิต์ ามพระราชบัญญัติลขิ สิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
โดยบริษทั วงั อักษร จ�ำ กัด ห้ามน�ำ ส่วนใดส่วนหน่ึงของหนังสือเลม่ นี้

ไปท�ำ ซ�ำ้ ดัดแปลงหรือเผยแพรต่ ่อสาธารณชนไม่วา่ รูปแบบใดๆ
นอกจากไดร้ ับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากทางบริษทั ฯ เท่านน้ั

ชอ่ื และเครือ่ งหมายการค้าอื่น ๆ ทีอ่ า้ งองิ ในหนังสือฉบับน้ี
เปน็ สิทธโิ ดยชอบดว้ ยกฎหมายของเจ้าของแต่ละราย

โดยบริษทั วงั อกั ษร จำ�กดั มไิ ดอ้ า้ งความเป็นเจ้าของแต่อยา่ งใด

ภาษาไทยเพอื่ อาชีพ
(Thai for Careers)
รหัสวชิ า ๒๐๐๐๐ - ๑๑๐๒

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า

เพื่อให้
๑. มีทักษะในการใช้ภาษาไทยเพือ่ สือ่ สารในงานอาชีพถูกต้องตามหลกั การใช้ภาษา
๒. สามารถน�ำ ทักษะทางภาษาไทยไปใช้พฒั นาตนเองและงานอาชีพ
๓. เห็นคุณค่าและความส�ำ คญั ของการใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ

สมรรถนะรายวิชา

๑. วิเคราะห์ สงั เคราะห์และประเมินค่าสารในงานอาชีพจากการฟงั การดู การอ่านตาม
หลักการ
๒. พูดสื่อสารในงานอาชีพตามหลักการ
๓. เขียนเอกสารในงานอาชีพตามหลกั การ

คำ�อธิบายรายวชิ า

ปฏิบัติเกี่ยวกับการฟังคำ�สั่งหรือข้อแนะนำ�การปฏิบัติงาน การฟังและดูสารในงานอาชีพ
จากสอ่ื บคุ คล สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน การอา่ นคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน
คู่มือการใช้อุปกรณ์หรือรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ การนำ�เสนอผลงาน การสาธิตขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานหรือกระบวนการผลิตชิ้นงาน การสัมภาษณ์งาน การพูดติดต่อสื่อสารงาน การเขียน
รายงานการปฏิบัติงาน การเขียนโครงการและแผนธุรกิจ และการเขียนโฆษณาประชาสัมพันธ์
ในงานอาชีพ

ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะรายวชิ า

วชิ า ภาษาไทยเพ่ืออาชีพ รหัสวิชา ๒๐๐๐๐ - ๑๑๐๒
ท - ป - น ๐ - ๒ - ๑ จ�ำ นวน ๒ คาบ/สปั ดาห์ รวม ๓๖ คาบ

สมรรถนะรายวิชา

หนว่ ยที่
ฟังและดูสารใน ีช ิวตประจำ� ัวนและงานอา ีชพ
ูพดใน ีช ิวตประ ำจ�วันและในงานอา ีชพ
อ่านสารใน ีช ิวตประจำ� ัวนและในงานอา ีชพ
เ ีขยนเชิง ิวชาการ
เขียนเชิงกิจ ุธระ
เ ีขยนเ ิชง ุธร ิกจ

๑. การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ  
๒. การฟัง การดู เพ่อื อาชีพ
๓. การฟังคำ�สง่ั และขอ้ แนะน�ำ ในการปฏิบัติงาน 
๔. การอา่ นสารทางอาชพี
๕. การพูดในงานอาชพี  
๖. การพูดเสนอความเหน็ ในทป่ี ระชมุ ชน
๗. การสมั ภาษณ์งาน 
๘. การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน
๙. การเขียนโครงการในงานอาชพี 

๑๐. การเขียนแผนธรุ กิจ 

 

คำ�น�ำ

วชิ าภาษาไทยเพอ่ื อาชพี รหสั วชิ า ๒๐๐๐๐-๑๑๐๒ จดั อยใู่ นหมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
ตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวง
ศึกษาธิการ โดยผู้เขียนได้บริหารสาระการเรียนรู้แบ่งเป็น ๑๐ บทเรียน ได้จัดแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการสอน
ที่มุ่งเน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบูรณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา
สมรรถนะรายวชิ า ค�ำ อธบิ ายรายวชิ า ในแตล่ ะบทเรยี น มงุ่ ใหค้ วามส�ำ คญั สว่ นทเ่ี ปน็ ความรู้ ทฤษฎี หลกั การ กระบวนการ
ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบัติ และคำ�ถามเพื่อการทบทวน เพื่อฝึกทักษะประสบการณ์ เร่งพัฒนาบทบาทของผู้เรียนเป็น
ผู้จัดการแสวงหาความรู้ (Explorer) เปน็ ผสู้ อนตนเองได้ สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ และบทบาทของผ้สู อนเปลี่ยนจากผใู้ ห้
ความรู้มาเป็นผู้จัดการชี้แนะ (Teacher Roles) จัดสิ่งแวดล้อมเอื้ออำ�นวยต่อความสนใจเรียนรู้ และเป็นผู้ร่วมเรียนรู้
(Co-investigator) จดั หอ้ งเรยี นเปน็ สถานทท่ี �ำ งานรว่ มกนั (Learning Context) จดั กลมุ่ เรยี นรใู้ หร้ จู้ กั ท�ำ งานรว่ มกนั
(Grouping) ฝกึ การยอมรับความคิดเหน็ รว่ มกนั สามารถนำ�ความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการทำ�งานได้ โดยจะตอ้ งมีความ
เชื่อม่นั ความซื่อสตั ย์ (Trust) และเหน่อื ส่ิงอื่นใด เปน็ คนดีท้ังกาย วาจา ใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี รรยาบรรณ
ตอ่ วชิ าชพี
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (Vocational Qualification System) สอดคล้องตาม
มาตรฐานอาชพี (Occupational Standard) สรา้ งภูมิคุม้ กัน เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ กำ�ลัง
แรงงาน การพฒั นามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวิเคราะห์หนา้ ทีก่ ารงาน
(Functional Analysis) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลส�ำ เร็จในภาคธุรกจิ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชพี เปน็ การเตรียมความพรอ้ มของผู้
เรียนเข้าสสู่ นามการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
หากหนังสือเล่มนี้เป็นประโยชน์สำ�หรับนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจ ผู้เขียนขอมอบด้วยความระลึกถึง
พระคุณของบิดา มารดา ครู อาจารย์ผู้สอนทุกท่านที่ประสาทวิชาความรู้ให้กับผู้เขียนไว้ ณ โอกาสนี้

ฉนั ทนา ปรรณารม

สารบญั

บทที่ ๑ การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ ๑

การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารเพ่ืองานอาชีพ ๓
การเลอื กใชส้ �ำ นวนภาษาใหเ้ หมาะสมกบั งานอาชพี ๓
การใช้ภาษาไทยใหม้ ีประสิทธิภาพในการส่อื สารทางธรุ กิจ ๔
มารยาทในการสื่อสาร ๖
ลกั ษณะค�ำ สุภาพ ๗
การใช้ค�ำ ในสถานการณต์ ่าง ๆ ๙
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ ๑๖

บทที่ ๒ การฟงั การดู เพือ่ อาชีพ ๑๗
๑๘
ความหมายและความสำ�คญั ของการฟงั การดู ๑๘
ความส�ำ คญั ของการฟัง ๑๙
ประโยชนข์ องการฟงั ในงานอาชพี ๒๐
ลกั ษณะการฟังท่มี ปี ระสิทธิภาพ ๒๑
ประเภทของสารท่ีฟงั ๒๑
มารยาทของการฟัง ๒๒
การพัฒนาประสิทธภิ าพในการฟงั ๒๓
หลักการดู และความสำ�คัญของการดู ๓๑
การรบั สารในงานอาชพี จากการฟัง และดูจากส่ือประเภทตา่ ง ๆ ๓๕
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ
๓๖
บทที่ ๓ การฟังค�ำ ส่ังและขอ้ แนะน�ำ ในการปฏิบัติงาน

การฟงั คำ�สั่งและข้อแนะนำ�ในการปฏิบตั งิ าน

องคป์ ระกอบของการสั่งงาน ๓๗
ประเภทการสง่ั งาน ๓๘
หลกั การฟังคำ�สงั่ หรอื คำ�แนะน�ำ เพ่อื นำ�ไปปฏบิ ัตงิ าน ๓๘
ลักษณะผู้ปฏบิ ัติงานตามค�ำ สั่งท่ีดี ๓๙
การเตรียมตวั ในการปฏิบัติงานตามค�ำ ส่ัง ๔๐
เทคนิคการบรหิ ารเวลาการปฏิบตั งิ านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๔๑
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ ๔๕
๕๐
บทที่ ๔ การอา่ นสารทางอาชีพ ๕๑
๕๓
ความหมายของสารทางอาชีพ ๕๓
รูปแบบสารทเ่ี ก่ียวข้องกับงานอาชพี ๕๔
หลักการอ่านสารในทางอาชีพ ๖๑
การอ่านสารทางอาชพี ประเภทต่าง ๆ ๖๖
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ ๖๗
๖๙
บทที่ ๕ การพูดในงานอาชีพ ๘๘
ความหมายและความสำ�คัญของการพูดในงานอาชีพ
ประเภทของการพูดในงานอาชพี ๙๔
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทกั ษะ ๙๕
๑๐๒
บทที่ ๖ การพดู เสนอความเห็นในทีป่ ระชุม ๑๐๖
๑๐๗
การพูดในทปี่ ระชมุ ๑๑๐
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๑๖

บทที่ ๗ การสมั ภาษณง์ าน

การสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์งาน
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ

บทที่ ๘ การเขียนรายงานการปฏิบตั ิงาน ๑๒๒
๑๒๓
การเขียนรายงานการปฏบิ ตั งิ าน ๑๒๓
ประโยชน์ของการเขียนรายงานการปฏบิ ัตงิ าน ๑๒๔
วธิ ีเขียนรายงานการปฏบิ ตั ิงาน ๑๒๕
ลกั ษณะของการเขียนรายงานปฏบิ ตั ิงาน ๑๓๗
แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทกั ษะ ๑๔๐
๑๔๑
บทที่ ๙ การเขียนโครงการในงานอาชีพ ๑๔๒
๑๔๒
ความหมายของการโครงการ ๑๔๕
ความสำ�คญั ของโครงการ ๑๔๖
ประเภทของการโครงการ ๑๔๗
หลกั การเขียนโครงการ ๑๕๑
ส่วนประกอบของโครงการ ๑๕๒
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ ๑๕๒
๑๕๓
บทที่ ๑๐ การเขียนแผนธรุ กิจ ๑๕๓
๑๕๓
ความหมายของแผนธรุ กจิ ๑๕๘
ความสำ�คัญของของแผนธรุ กิจ
วัตถปุ ระสงค์การจดั ทำ�แผนธรุ กิจ ๑๖๒
องคป์ ระกอบของแผนธรุ กิจ
ขน้ั ตอนการเขียนแผนธุรกิจ
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ

บรรณานุกรม

๑บทที่

การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ

แนวคิด
การใช้ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารในงานอาชีพได้อย่าง
มีประสิทธิภาพผู้ใช้ภาษาต้องมีความรู้ในการเลือกใช้ภาษาให้
ถูกประเภท  ถูกระดับภาษา  รวมท้ังการใช้ถ้อยค�ำ  ส�ำนวนใน
การส่ือสารได้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาส สถานการณ์ และฐานะ
ของบุคคล  เพื่อสร้างความประทับใจแก่ผ้รู ับสาร

สาระการเรยี นรู้
๑. หลักการใช้ภาษาไทยท่ีถกู ต้องเพื่อการสอื่ สารในงานอาชีพ
๒. ระดบั ภาษาทใ่ี ช้เพอ่ื การสื่อสารในงานอาชพี
๓. มารยาทในการสอ่ื สาร

สมรรถนะประจ�ำบท
มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับหลกั การใชภ้ าษาไทย

เพ่ือการสื่อสารในงานอาชีพ  และสามารถน�ำไปใช้ได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับโอกาส  และฐานะของบคุ คล

วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objectives)
๑. สามารถเลือกใชค้ ำ� ต่าง ๆ ได้อย่างถูกตอ้ งตามกาลเทศะ โอกาส และบคุ คลได้
๒. มีทักษะการใช้ภาษาในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสมกบั งานอาชีพ
๓. สามารถเลือกใช้ค�ำ ส�ำนวน เพื่อการสอ่ื สารในงานอาชพี ได้ถูกต้อง เหมาะสม

 2E บทท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ

๑ การใช้ภาษาไทย
ในงานอาชีพ

การใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารเพือ่ งานอาชพี

ภาษาเป็น “เครือ่ งมือ” สำ� คญั ชน้ิ หน่ึงในการประกอบอาชีพ เพราะทุกสาขาอาชีพตอ้ งใชภ้ าษา
เพ่ือการตดิ ต่อสอื่ สารกับบุคคลตลอดเวลา ดังน้นั “ภาษา” จึงมีความส�ำคัญทง้ั ในด้านการด�ำเนนิ ชีวิต
ประจำ� วันและเพ่อื งานอาชพี เพอื่ ให้ “การสอ่ื สาร” เกดิ ประสิทธิผลจะต้องพจิ ารณารายละเอยี ด ดงั นี้
๑. การใช้ค�ำให้ตรงกับความหมายตามหลักการใช้ภาษาไทย  ควรเขียนให้ถูกต้องท้ังด้าน
การเขียนสะกดคำ� การออกเสยี ง และสือ่ ความชัดเจน ไม่ควรใหเ้ ขา้ ใจวา่ เป็นนยั ประหวดั ดงั น้นั การให้
บรบิ ทอย่างชัดเจน จะทำ� ใหค้ ำ� น้ันตรงกับความหมายทผี่ ้ใู ชต้ อ้ งการ
๒. การใช้ค�ำให้ตรงตามความนิยมของผู้ใช้ภาษาเดียวกัน  เพราะค�ำท่ีมีความหมายเดียวกัน
อาจใชแ้ ทนกนั ไดห้ รอื อาจแทนกนั ไมไ่ ด้ แลว้ แตค่ วามนยิ มของผใู้ ชภ้ าษานนั้  ๆ  จงึ ควรมคี วามระมดั ระวงั
ในการใช้ค�ำแต่ละคร้งั
๓. การใชค้ �ำให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล  ควรเลือกใชค้ ำ� สุภาพในทช่ี ุมชน ค�ำนงึ ถึง
ฐานะของแตล่ ะบุคคล โดยเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมตามระดับภาษา
๔. การใช้ค�ำซ้�ำซากหรือหลากค�ำ  ควรเลือกใช้ค�ำให้แปลกออกไป  แต่ค�ำ ๆ  นั้นต้องมี
ความหมายใกลเ้ คยี งหรอื คล้ายกัน เชน่ พอใจ ชอบ เพลิดเพลิน มคี วามสขุ เป็นต้น
๕. การใชค้ �ำใหเ้ กิดภาพ คอื การใชค้ ำ� ท่ีทำ� ใหผ้ ้รู ับสารเหน็ ภาพจากการฟงั การอา่ นเหมอื นกบั
ไดส้ ัมผัสดว้ ยตนเอง เช่น ด�ำป๋ี จดื ชืด ฯลฯ

 บทท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชพี E3

การเลอื กใชส้ �ำ นวนภาษาให้เหมาะสมกบั งานอาชพี

“ธรุ กจิ  : Business”  หมายถงึ   กจิ กรรมตา่ ง ๆ   ทนี่ ำ� ไปสเู่ ปา้ หมายในการเสนอสนิ คา้ หรอื บรกิ าร
ให้แก่ผูบ้ รโิ ภค
“ภาษาธุรกิจ”  จึงหมายถึง  ถ้อยค�ำที่ใช้ในการส่ือสารทั้งการพูด  การเขียนหรือสัญลักษณ์
ต่าง ๆ ทีใ่ ชใ้ นการดำ� เนินการทางด้านการค้าขาย  โดยมีเปา้ หมายสำ� คญั คือ “ผลกำ� ไร”
การสื่อสารด้วยค�ำพูดท่ีใช้ในชีวิตประจ�ำวันของคนไทยต้องค�ำนึงถึง  “ระดับของภาษา”
เนื่องจากสังคมไทยให้ความเคารพกันตามระบบอาวุโส  และยกย่องกันตามต�ำแหน่ง  หน้าที่  เพ่ือ
ใหเ้ หมาะสมกับโอกาส เวลา บุคคล และสถานท่ี ผใู้ ชจ้ ึงควรมีความรทู้ างภาษาเปน็ อย่างดี ทำ� ให้เกดิ
ความม่ันใจ ท�ำใหก้ ารตดิ ตอ่ กจิ ธรุ ะ ธุรกิจต่าง ๆ ประสบผลสำ� เรจ็ ตามมา

ระดบั ภาษาทใ่ี ช้ในการส่อื สารทางธุรกจิ

๑. ภาษาทางการ : มคี วามถกู ตอ้ งตามระเบยี บแบบแผน ตามหลกั ไวยากรณ์ โดยคำ� นงึ ถงึ ผรู้ บั สาร
เป็นส�ำคัญ เช่น ผูม้ ีต�ำแหนง่ งานในระดับสูง ประชาชนส่วนใหญ่ ลกู คา้ ส�ำคญั
๒. ภาษากง่ึ แบบแผน : ภาษาท่ีใชพ้ ดู หรอื เขยี นในโอกาสทั่วไป ตอ้ งมคี วามสภุ าพ ถกู ต้องตาม
หลักการใช้ภาษา  อาจมีค�ำย่อ  หรือภาษาต่างประเทศปะปนได้บ้างแต่ต้องเป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป  ผู้รับสาร
อาจเป็นบคุ คลทไี่ มค่ นุ้ เคย หรอื กลุ่มบุคคลทม่ี ีจ�ำนวนไมม่ าก
๓. ภาษาปาก  (ภาษาพูด)  :  เป็นการสื่อสารกับบุคคลใกล้ชิด  กลุ่มลูกค้าที่คุ้นเคย  มีความ
เป็นกนั เอง  จงึ ไม่ต้องคำ� นึงถงึ หลกั การใช ้ แต่ตอ้ งชดั เจน  ตรงประเดน็

การใชภ้ าษาไทยใหม้ ปี ระสิทธิภาพในการสอ่ื สารทางธุรกิจ
ในวงการธรุ กจิ นนั้ ตอ้ งการงานทร่ี วดเรว็   ประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ย  และไดผ้ ลตามจดุ มงุ่ หมาย

ท่ีตั้งเป้าไว้  ดังน้ัน  การใช้ภาษาได้ถูกต้องในการติดต่อสื่อสารไม่ว่าจะด้วยค�ำพูดหรือข้อเขียนต่าง ๆ
จึงเปน็ สิ่งส�ำคญั อย่างมาก
ขอ้ เสนอแนะในการใช้ภาษาส่ือสารตา่ ง ๆ มดี ังนี้
๑. สำ� นวนภาษาท่ีใชต้ ดิ ต่อธุรกจิ ตอ้ งชัดเจน เหมาะสม ส้นั ไดใ้ จความสมบรู ณ์
๒. การพิมพ์จดหมายติดต่องาน  เอกสารต่าง ๆ  นอกจากการวางรูปแบบถูกต้อง  สะอาด
เรยี บรอ้ ย สวยงามแลว้ ควรระวังการใชภ้ าษาใหถ้ กู ต้อง เหมาะสม เพ่ือปอ้ งกันการเข้าใจผดิ ท่ีจะท�ำให้
เสยี เวลา เสยี ค่าใช้จา่ ย ฯลฯ อันจะน�ำผลเสยี มาสู่บรษิ ัทห้างร้าน หรือหนว่ ยงานนัน้  ๆ

 4E บทท่ี ๑ การใช้ภาษาไทยในงานอาชพี

๓. การสนทนาตา่ ง ๆ  ทง้ั สนทนาแบบบคุ คลตอ่ บคุ คล  หรอื สนทนาทางโทรศพั ท ์ ตอ้ งระมดั ระวงั
การใช้ภาษาไทยใหถ้ ูกตอ้ ง อนั จะเปน็ ผลดแี กธ่ ุรกิจการงาน ภาพลกั ษณ์ของตน หนว่ ยงาน องคก์ ร
นกั ธุรกจิ ท่ีดี ต้องมคี วามรดู้ า้ นการฟงั การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทยได้เปน็ อยา่ งดี
และสามารถนำ� ภาษาไทยไปใชป้ ระกอบธรุ กิจการงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
การใชภ้ าษาไทยใหม้ ปี ระสิทธภิ าพในการส่ือสารธรุ กจิ ผ้ทู ่ีประกอบธรุ กจิ ตา่ ง ๆ  ควรจะศึกษา
การใชภ้ าษาไทยใหแ้ ตกฉานในทุก ๆ ด้าน ดังนี้
การฟัง สามารถฟังเรือ่ งต่าง ๆ  และจบั ใจความสำ� คญั ของเร่ืองท่ีฟังได้เป็นอย่างดี
การพูด รูห้ ลักการพดู มวี าทศิลปใ์ นการพดู มีจติ วิทยาในการสนทนากบั คู่สนทนาเปน็ อยา่ งดี
ตลอดจนมีปฏิภาณไหวพรบิ ในการเจรจาเร่ืองธุรกจิ การงาน
การอ่าน สามารถอ่านได้ถกู ต้องอย่างมีจงั หวะ เวน้ วรรคตอนใหถ้ ูกตอ้ ง เขา้ ใจความหมาย
ของค�ำ ประโยค ข้อความจากเร่อื งที่อา่ น ท้งั การใช้ค�ำบรรยายงา่ ย ๆ การใช้สำ� นวนท่ีลกึ ซึ้ง และสามารถ
สรุปความเข้าใจออกเป็นข้อเขยี นหรือค�ำพดู ได้
การเขยี น มคี วามรเู้ ก่ียวกบั การเขียน สระ พยญั ชนะ สะกดค�ำ การันต์ และการใช้ค�ำ วลี
ประโยคต่าง ๆ ฯลฯ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
สรุป  การพูดหรือเขียนข้อความในการส่ือสารต่าง ๆ  เพ่ือธุรกิจ  ผู้พูดหรือผู้เขียนต้องรู้จักเลือก
ถ้อยค�ำหรือข้อความที่จะน�ำมาพูด  เขียน ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล  จะท�ำให้ผู้รับสารเกิด
ความประทับใจ สามารถทำ� ให้ธุรกจิ ต่าง ๆ  ท่ีตดิ ตอ่ สำ� เรจ็ ได้ตามเป้าหมายทวี่ างไว้ ฉะน้ันการพถิ ีพถิ ัน
ในการใชถ้ ้อยค�ำนบั ว่าจำ� เปน็ มากในการสือ่ สารตา่ ง ๆ

มารยาทในการสื่อสาร

ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับการส่ือสารท่ีกล่าวมาข้างต้น  เป็นส่ิงส�ำคัญท่ีผู้เรียนซ่ึงอยู่ในฐานะ
“ผู้สง่ สาร – ผู้รบั สาร” ตอ้ งเรียนรู้ และฝึกฝนอย่เู สมอ เพราะจะทำ� ใหก้ ารส่อื สารแต่ละคร้ังประสบ
ความส�ำเรจ็
คุณธรรม และมารยาท เป็นส่งิ ท่ี “ผสู้ ่งสาร – ผรู้ ับสาร” ต้องตระหนัก และใหค้ วามส�ำคัญใน
ขณะสอ่ื สารดว้ ยเชน่ กนั

 บทท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ E5

• คณุ ธรรมในการสอ่ื สาร : ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง “วจสี จุ รติ ” อันไดแ้ ก่ ไม่พูดเทจ็
ไม่พูดเพ้อเจ้อ ไมพ่ ดู หยาบ ไม่พดู สอ่ เสยี ด
ดังนนั้ คุณธรรมในการสอ่ื สาร หมายถงึ การรักษาความสตั ย์ ความสภุ าพอ่อนโยน พูดใน
สิง่ ท่ีกอ่ ให้เกดิ ประโยชนท์ งั้ ตนเองและผูอ้ ่นื   ถอื เป็นจติ สำ� นกึ ของทกุ คน และในสังคมปจั จบุ นั
• มารยาทในการสื่อสาร : เปน็ สง่ิ ทตี่ ้องเรยี นรู้ และฝึกฝน ประกอบด้วย
๑. สง่ สารที่มีประโยชนท์ ้ังตอ่ ตนเองและผู้อื่นโดยค�ำนึงถงึ หลักคณุ ธรรมในการสอื่ สาร
๒. เนือ้ หา  ถอ้ ยค�ำ ส�ำนวน มคี วามสภุ าพ ออ่ นน้อมทัง้ กาย วาจา  ใจ
๓. ค�ำนงึ ถึงกาลเทศะ  ความเหมาะสม ขนบธรรมเนียม ประเพณี
๔. มบี คุ ลิกภาพท่ีด ี ใช้ส�ำนวนภาษาสภุ าพ  อ่อนโยน  เหมาะสมกับบุคคล

ตวั อยา่ ง การใชภ้ าษาเหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล

ตัวอยา่ งท่ี 1
“คณุ วิภาเป็นผู้ท่ีมีมนษุ ยสัมพันธด์ ี มีความร้คู วามสามารถชว่ ยสร้างความเจริญแกห่ น่วยงานน้ี
มาไมน่ อ้ ย จนเป็นท่รี กั ของพวกเราทุกคน เราเสยี ดายท่ีคุณวภิ าจะไมไ่ ดร้ ว่ มงานกับเราอกี ”
– ข้อความข้างต้นเป็นการใชภ้ าษาระดับ “กงึ่ ทางการ” เน่ืองจากประกอบดว้ ย

ภาษาทางการ และ ภาษาไม่เป็นทางการ (ภาษาสนทนา)
• ภาษาพดู : มาไม่นอ้ ย – เป็นอยา่ งมาก
: พวกเราทกุ คน / เราเสยี ดาย............เราอกี – (พจิ ารณาจากการใชส้ รรพนาม)
ตัวอย่างท่ี 2
“การแถลงข่าวจัดเป็นหัวใจส�ำคัญ (เป็นส่ิงส�ำคัญ) ของหน่วยงานรัฐและเอกชน (รัฐบาลและ
ภาคเอกชน) เพราะเป็นการประชาสัมพันธ์ให้คนท่ัวไปได้รับรู้ถึงความเคล่ือนไหวของหน่วยงาน
(บุคคลภายนอก และบุคคลท่มี ีความสนใจ / รบั ทราบ) โดยอาศยั นักข่าวใหแ้ พร่ข่าวสมู่ วลชนตอ่ ไป”
/ (ผูส้ ่ือข่าว)

 6E บทที่ ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชพี

ตัวอย่างระดบั ของภาษา

ค�ำพูดท่วั ไป (ภาษาปาก) คำ� พดู กง่ึ แบบแผน คำ� พดู แบบแผน

แม ่ คุณแม่ มารดา
พ่อ
กิน คณุ พอ่ บิดา
คนไม่สบาย
หนู ฉัน (แทนตวั ผู้พูด) รบั ประทาน รับประทาน
ผม
มที อ้ ง คนไข้ คนไข,้ ผู้ปว่ ย
ตาย สิน้ สนิ้ ไปแล้ว
หมอ ฉัน, ดฉิ นั ข้าพเจา้
ออกลูก
โกหก กระผม ขา้ พเจา้
ผวั
เมยี มคี รรภ์ ตง้ั ครรภ์
กินเหล้า
ตาย, เสียชวี ิต, ส้ินชีวติ ถงึ แกก่ รรม

คณุ หมอ นายแพทย,์ แพทยห์ ญิง

คลอดลกู คลอดบุตร

พูดปด พดู เท็จ

สามี สามี

ภรรยา ภรรยา

ด่ืมเหล้า ดมื่ สุรา

ลักษณะค�ำ สุภาพ

คำ� สุภาพ  หมายถึง  คำ� ที่ใชไ้ ดเ้ หมาะแก่ฐานะของบคุ คลและเหมาะกบั ลกั ษณะการเขียน  เช่น
กิน ค�ำสุภาพ รับประทาน
เรยี ก ค�ำสภุ าพ เชิญ  เรยี นเชญิ
พ่อแม ่ ค�ำสุภาพ บดิ า  มารดา
ลกู ค�ำสุภาพ บตุ ร ธดิ า
บอกให้ร ู้ ค�ำสภุ าพ เรียนใหท้ ราบ
แต่งตวั เชย ค�ำสภุ าพ แตง่ กายไม่ทันสมยั
ฯลฯ

 บทที่ ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ E7

ค�ำที่ควรจะพิจารณาน�ำมาใช้ให้เหมาะสมกับบุคคล  ต�ำแหน่งโอกาส  และสถานท่ี  คือ  ขอ
ช่วย  กรณุ า  โปรด  ขอความกรณุ า  เช่น
ขอนำ�้ สกั แกว้ นะคะ
ชว่ ยหยบิ แก้วให้ฉนั หนอ่ ยค่ะ
กรณุ าเดินเบา ๆ หนอ่ ยนะคะ
โปรดอยา่ เดนิ ลัดสนามหญ้า
ขอความกรุณายนื ขนึ้ ดว้ ยคะ่

การใช้ค�ำ ในสถานการณ์ต่าง ๆ

คำ� ทมี่ ีความหมายเหมือนกัน แตใ่ ชใ้ นสถานการณต์ ่างกนั ไดแ้ ก่
๑. ค�ำทใ่ี ชใ้ นภาษาพดู – ค�ำทใ่ี ช้ในภาษาเขยี น เช่น
ภาษาพดู ภาษาเขียน
ทาน รบั ประทาน
ร ู้ ทรงทราบ (สมเดจ็ พระสงั ฆราช)
ปว่ ย ประชวน (สมเด็จพระสังฆราช)
บวช ทรงผนวช (พระมหากษตั ริย)์
ทำ� คลอด ถวายสตู ิกรรม (สมเด็จฯพระราชิน)ี
๒. ค�ำท่ีใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ฐานะของบคุ คล เช่น
สำ� หรับบุคคลท่วั ไป ส�ำหรับบุคคลตามฐานะ
กิน ฉัน เสวย
นอน จำ� วดั บรรทม
ตาย สนิ้ พระชนม์ (พระสังฆราช)
ถ่ายอุจจาระ ไปถาน (พระ)
ให ้ ถวาย (พระ)
พูด ตรสั ด�ำรสั รบั สงั่ (พระสังฆราช)

 8E บทที่ ๑ การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ

๓. ค�ำท่ใี ช้ภาษาแบบแผน - ใช้ภาษาไมเ่ ปน็ แบบแผน เชน่
ภาษาแบบแผน ภาษาไม่เปน็ แบบแผน
เรยี น บอก
บริโภค กนิ
หนังสือรบั รอง ใบรบั รอง
ดวงตราไปรษณยี ากร แสตมป์
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯ

ฯลฯ

 บทที่ ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ E9

แบบทดสอบ
และกิจกรรมการฝึกทักษะ
บทท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในงานอาชพี

กิจกรรมที่ ๑ เลอื กค�ำตอบที่ถกู ตอ้ ง

๑. บุคคลในข้อใด มคี วามสำ� คญั ตอ่ ภาษาไทยมากทสี่ ุด
ก. พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราช ข. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั
ค. สมเดจ็ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ง. พระยาศรสี ุนทรโวหาร (ภ)ู่

๒. ขอ้ ใดให้ความหมายของ “ภาษา” ได้ถูกต้องท่สี ุด
ก. ภาษา คอื สง่ิ ทีแ่ สดงภูมปิ ญั ญาของมนษุ ย์
ข. ภาษา คือ ส่งิ ที่มนษุ ยแ์ ละสัตว์ใช้ในการส่อื สาร
ค. ภาษา คือ เคร่อื งมอื ส�ำคัญที่มนุษยใ์ ชใ้ นการติดต่อส่ือสารระหวา่ งกนั ในสงั คม
ง. ภาษา คือ เคร่อื งมือทแี่ สดงอัตลักษณ์ ความสามารถของมนษุ ย์

๓. มนุษยม์ ีการตดิ ต่อสอื่ สารกนั เพือ่ วัตถุประสงคใ์ ด
ก. แสดงความต้องการของตนใหผ้ ้อู ื่นทราบ
ข. ต้องการแสดงใหผ้ ูค้ นรอบข้างมีสมั พันธภาพท่ดี ตี ่อกัน
ค. ต้องการแสดงความต้องการและความนึกคิดของตนให้ผ้อู ่นื ทราบ
ง. เพราะมนุษย์เปน็ สตั วส์ ังคมจึงตอ้ งมีการตดิ ตอ่ ส่ือสารกนั

๔. ข้อใดเปน็ การสอ่ื สารทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
ก. การใชอ้ ปุ กรณก์ ารสือ่ สารทเ่ี หมาะสมกับยคุ สมยั
ข. การใชถ้ อ้ ยค�ำ สำ� นวนภาษาทีช่ ัดเจน กะทัดรดั ไม่เยิ่นเยอ้
ค. ผสู้ ง่ สาร กับ ผู้รับสารเกิดความเข้าใจตรงกนั บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทต่ี อ้ งการ
ง. ผูส้ ง่ สารตอ้ งมคี วามรสู้ ามารถเลือกใชถ้ อ้ ยคำ� ที่ไพเราะ ทันสมยั

 10E บทที่ ๑ การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ

๕. หากผู้เรียนต้องการแนะน�ำอุปกรณ์ส�ำนักงานชิ้นใหม่ให้แก่ลูกค้าบริษัทแห่งหนึ่ง  ควรใช้ภาษา
ระดบั ใด
ก. ระดับทางการ ข. ระดับกึ่งแบบแผน
ค. ระดบั ภาษาราชการ ง. ระดับภาษากนั เอง

๖. ข้อใดเปน็ การสอ่ื สารต่างจากขอ้ อ่นื
ก. ผู้ฟงั บรรยายปรบมือใหแ้ กผ่ ู้บรรยายเสียงดังกึกก้อง
ข. คุณตนู ถา่ ยทอดประสบการณ์จากการเจอเรอื่ งเหลือเชอ่ื ไดอ้ ยา่ งสนกุ และน่ากลัว
ค. เมอื่ ครั้งยังเด็กฉนั ชอบฟงั คณุ แมอ่ า่ นนทิ านใหฟ้ งั ก่อนนอนทกุ คืน
ง. การอ่านนิทานธรรมะให้เด็ก ๆ  ฟัง  นอกจากความสนุกสนานยังเป็นการปลูกฝังจริยธรรม
ให้เดก็ ด้วย

๗. ข้อใดส่ือความหมายได้ชัดเจนทีส่ ุด
ก. น�้ำหอมคณุ ผชู้ าย มดั ใจสาวไดภ้ ายใน 3 นาที
ข. เธอดูแลผมได้ดเี ธอก็นา่ จะดูแลตัวเองได้ดเี ช่นกัน
ค. ไฟไหม้ น้�ำรอ้ นลวก ผลติ ภัณฑ์สมุนไพรว่านหางจระเข้ช่วยคลายอาการแสบรอ้ นและปอ้ งกนั
การตดิ เช้ืออย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ง. โรคอว้ นเปน็ สาเหตขุ องโรคภยั หลายชนดิ ไมอ่ ยากมปี ญั หาสขุ ภาพ ตอ้ งออกกำ� ลงั ดว้ ยการเดนิ เรว็

๘. ขอ้ ใดใช้ภาษากำ� กวม
ก. หา้ มน�ำผลไม้กลนิ่ ฉุนรุนแรงขน้ึ เครอ่ื งได้
ข. ผลผลติ ทางการเกษตรตกต�่ำ ท้ังข้าว ออ้ ย มันสำ� ปะหลงั ยางพารา
ค. ปัจจบุ นั เศรษฐกิจการส่งออกทง้ั ภาครัฐและเอกชนล้วนอยใู่ นภาวะตกตำ่� ทงั้ สน้ิ
ง. ความหวังของเกษตรกรปัจจุบนั ล้วนแล้วแต่มีความคาดหวงั ตอ่ รัฐบาลชุดน้ีนอ้ ยมาก

 บทท่ี ๑ การใช้ภาษาไทยในงานอาชพี E11

๙. ข้อความต่อไปน้ีข้อใดใช้เทคนิคการโน้มน้าวใจไดด้ ที ส่ี ดุ
ก. ผลติ ภัณฑ์ตัวใหมข่ องเราเป็นทนี่ ยิ มกันท่ัวโลก ลูกค้าท่านใดสนใจสามารถทดลองใช้งานฟร!ี
ข. สนิ คา้ ของเราทกุ ช้ินลด ๑๐ – ๖๐ % พร้อมสะสมคะแนนเพือ่ แลกรบั ของสมนาคณุ ฟร!ี
ค. ๑ ล้านชน้ิ ขายหมดภายใน ๑ วัน เรากลบั มาอกี ครั้งแต่จำ� กดั จ�ำนวนนะ รบี ซอื้ เลย!
ง. สนิ ค้าอนั ดบั ๑ ทค่ี นกว่า ๑ ลา้ นคนเลอื กใช้ และกวา่ ๙๙% ของลูกคา้ พงึ พอใจ

๑๐. ข้อใดใช้ส�ำนวนไทยเหมาะสมทสี่ ุด
ก. บอรด์ กรรมการบรหิ ารบรษิ ัท ยุทธโอชา จำ� กัด ยังไมค่ ลอดเพราะเกดิ ศึก “จบั ปลาสองมือ”
ข. บอร์ดกรรมการบริหารบริษัท ยุทธโอชา จำ� กัด ยังไมค่ ลอดเพราะเกดิ ศกึ “ชงิ เก้าอ้ดี นตรี”
ค. บอร์ดกรรมการบรหิ ารบริษัท ยทุ ธโอชา จำ� กัด ยังไมค่ ลอดเพราะเกดิ ศึก “เลอื่ ยขาเก้าอ”ี้
ง. บอรด์ กรรมการบรหิ ารบรษิ ทั ยทุ ธโอชา จำ� กดั ยงั ไมค่ ลอดเพราะเกดิ ศกึ “รกั พเี่ สยี ดายนอ้ ง”

๑๑. ข้อใดเปน็ การสอื่ สารท่สี มั ฤทธผิ ล
ก. ผ้สู ่งสาร และผ้รู ับสารตดิ ต่อกนั ทางโทรศพั ท์
ข. ผสู้ ่งสาร และผู้รับสารมคี วามเขา้ ใจตรงกนั
ค. ผู้สง่ สารพอใจในการส่งสารของตนเพราะตรงกับความตั้งใจ
ง. ผ้รู ับสารสามารถตอบสนองในส่งิ ที่ผสู้ ง่ สารตอ้ งการดว้ ยความเขา้ ใจ และพอใจ

๑๒. ข้อความต่อไปนีส้ ว่ นใดเปน็ ภาษาทางการ
(๑)  สหภาพเมียนมาร์เป็นประเทศที่ใคร ๆ  ก็รู้กันดีว่ามีงูขนาดใหญ่และงูพิษมากมายที่สุด/
(๒)  งูขนาดใหญ่จะจัดการกับเหย่ือด้วยการรัดแน่นจนหายใจไม่ออก  ส่วนงูพิษจะกัดและ
ปล่อยพิษเข้าไปในตัวเหย่ือ/  (๓)  พิษงูจะวิ่งตรงเข้าสู่กระแสเลือด  ถ้าไปหาหมอไม่ทันก็อาจ
ถึงตายได้/ (๔) ในปี ค.ศ. ๒๐๑๑ มีชาวเมียนมาร์ถูกงูพิษกัด ๗,๘๐๐ คน และในจ�ำนวนนี้มี
ผู้เสียชีวติ ร้อยละ ๔/ (๕) เมียนมาร์จึงตดิ อนั ดับ ๒ ใน ๓ ประเทศท่มี สี ถิติคนตายเพราะถกู งกู ดั มากมาย
ทีส่ ดุ ในโลก
ก. สว่ นท่ี ๑ ข. ส่วนท่ี ๒
ค. สว่ นท่ี ๓ ง. สว่ นท่ี ๔

 12E บทท่ี ๑ การใช้ภาษาไทยในงานอาชพี

๑๓. ส�ำนวนใดบอกเจตนาแนะให้ทำ� ค. ไก่เห็นตนี งู งเู หน็ นมไก่
ก. ขชี่ า้ งจับตั๊กแตน
ข. งมเข็มในมหาสมทุ ร ง. เข้าเมอื งตาหล่ิว ตอ้ งหลวิ่ ตาตาม
๑๔. ข้อใด ใชส้ �ำนวนไม่ถกู ตอ้ ง
ก. หัวหน้าเพิ่งออกจากโรงพยาบาล  เมอื่ เช้าเกดิ ผีซ�ำ้ ด�้ำพลอยเดนิ สะดุดแผ่นหินหนา้ สำ� นกั งาน
หกลม้ เข่าแตก
ข. พนกั งานแผนกนช้ี ำ� นาญงานทกุ คน คณุ ไมต่ อ้ งใหเ้ ขา้ มาอบรมหรอก เขาจะหาวา่ คณุ สอนจระเข้
ใหว้ า่ ยนำ�้
ค. เมอื่ ไหร่งานจะเสร็จ  มัวแตพ่ ายเรอื คนละทีอยู่น่นั แหละ  สามคั คกี นั หนอ่ ยนะ
ง. ชว่ งนดี้ าราสาวคนนน้ั เปน็ ทน่ี ยิ ม  ทง้ั งานละคร  งานถา่ ยโฆษณาสนิ คา้ กร็ บั หมด เรยี กวา่ นำ้� ขนึ้
ให้รีบตกั

๑๕. ข้อใดมกี ารโนม้ น้าวใจ
ก. มหาวิทยาลยั มโี ครงการพฒั นางานบริการวิชาการสชู่ มุ ชนและสงั คม
ข. พพิ ิธภณั ฑท์ อ้ งถิ่นจดั แสดงผา้ ไหมทอมอื ลายโบราณท่ีหาดไู ด้ยากในยคุ ปจั จุบัน
ค. นทิ านพ้นื บ้านกลา่ วถึงคนฉลาดแกมโกงปรากฏในวรรณกรรมท้องถ่นิ ทุกภาคของไทย
ง. สำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาตดิ �ำเนนิ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไขห้ วัดใหญ่ประจำ� ป ี
๒๕๕๗

๑๖. ข้อใดใช้ภาษากำ� กวม
ก. โรงไฟฟ้าน้ีใช้เชอ้ื เพลิงจ�ำนวนมากแต่มีประสิทธิภาพในการผลติ ตำ�่
ข. ประเทศอนิ เดยี ถอื เปน็ ประเทศทม่ี คี วามหลากหลายทางภาษาอย่างย่งิ
ค. นกั วชิ าการเรียกรอ้ งใหห้ ยดุ บรโิ ภคปลานกแกว้ ซ่ึงมจี ำ� นวนลดลงอยา่ งเห็นได้ชดั
ง. ผสู้ ่อื ข่าวต่างประเทศรายงานจำ� นวนผู้เสยี ชวี ติ เพราะอุบัตเิ หตเุ คร่อื งบินตกทีเ่ พมิ่ ขนึ้

๑๗. “พรุ่งนีเ้ ตรียมขอ้ มลู สินคา้ ตัวใหม่ใหผ้ มหน่อยนะ” ประโยคนีเ้ ป็นสือ่ สารระหวา่ ง
ก. พนกั งานขาย – ลูกคา้ ข. หัวหน้าฝ่ายขาย – หัวหนา้ ฝ่ายบรกิ าร
ค. หวั หนา้ ฝ่ายขาย – ผ้ชู ว่ ย ง. ลูกค้ารายใหม่ – พนักงานขาย