ข้อสอบวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต

แผนการจัดการเรยี นรู้
แบบฐานสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั 20000-1301 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาทักษะชวี ิต
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ

ประเภทวชิ า ช่างอุตสาหกรรม,พาณิชยกรรม

จัดทาโดย
นางสาวสุนิษา ธิอามาตย์

แผนกวชิ าสามญั สัมพนั ธ์

วิทยาลยั การอาชพี ขุนหาญ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทึกการขออนุมัติการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรียนท่ี 1/2564

รหสั 20000-1301 วิชา วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ
หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม , พาณิชยกรรม

ขออนุมัติการใช้แผนการจดั การเรียนรู้
ลงช่ือ................................................ครผู ส๎ู อน
(นางสาวสุนิษา ธิอามาตย์)

ความเห็นหัวหน้าแผนกวชิ า
.............................................................. ............................................................................................................ .

ลงชอ่ื ................................................หวั หน๎าแผนกวิชาสามญั สมั พันธ์
(นายธนวนิ สายนาค)

ความเหน็ ของหัวหนา้ งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน
............................................................................................................................. .............................................

ลงช่อื ................................................หวั หน๎างานหลกั สูตรฯ
(นายธนวิน สายนาค)

ความเห็นของรองผ้อู านวยการฝ่ายวชิ าการ
 เห็นควรพิจารณาอนมุ ัติ ให๎ใช๎ประกอบการเรียนการสอนได๎

ลงชือ่ ................................................รองผู๎อํานวยการฝาุ ยวิชาการ
(นายชาตรี สารบี ุตร)

ความเหน็ ของผู้อานวยการ
 อนมุ ัติ
 ไมํอนุมตั ิ เพราะ..................................................................................................

ลงช่อื ................................................
(นายลาํ ปาง พันธ์เพชร)

ผอู๎ ํานวยการวทิ ยาลัยการอาชีพขุนหาญ

คานา

แผนการจัดการเรียนร๎ู มุํงเน๎นฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต รหัสวิชา 20000–1301 เลํมน้ีได๎จัดทําขึ้นเพ่ือใช๎เป็นคูํมือประกอบการ
สอน หรือเป็นแนวทางการสอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผ๎ูเรียนเป็นสําคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พทุ ธศกั ราช 2562 สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

การจัดทําได๎มีการพัฒนาเพ่อื ให๎เหมาะสมกับผ๎ูเรียน โดยแบํงเนื้อหาออกเป็น 10 หนํวย การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนยึดผ๎ูเรียนเป็นสําคัญ มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรมจริยธรรม
ไวใ๎ นหนํวยการเรยี นรูต๎ ามความเหมาะสม สอดคล๎องกับเน้ือหา มีแบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรียน พร๎อมเฉลย
มใี บกิจกรรมการทดลอง และสื่อการเรยี นการสอนตาํ ง ๆ เพอ่ื ใหเ๎ กิดประสทิ ธผิ ลแกํผูเ๎ รยี นมากย่งิ ขึ้น

ผู๎จัดทําหวังวําแผนการจัดการเรียนร๎ูเลํมนี้คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ตํอครู -อาจารย์และ
นักเรยี น หากมีขอ๎ เสนอแนะประการใด ผูจ๎ ดั ทาํ ยนิ ดีนอ๎ มรับไว๎เพ่อื ปรบั ปรงุ แก๎ไขในคร้งั ตํอไป

สนุ ิษา ธอิ ามาตย์

สารบญั หนา้

คาํ นาํ ............................................................................................................................. .. ง
สารบญั ............................................................................................................................ จ
หลักสูตรรายวชิ า ............................................................................................................... ฉ
หนวํ ยการเรียนรู๎ ................................................................................................................ ช
หนํวยการเรยี นรู๎ทส่ี อดคล๎องกับสมรรถนะรายวิชา ................................................................ ซ
โครงการจัดการเรยี นร๎ู ........................................................................................................ ฌ
สมรรถนะยํอยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ ............................................................................ ฝ
ตารางวเิ คราะห์หลักสูตรรายวิชา ........................................................................................ 1
แผนการจัดการเรียนร๎ูท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ..................................................... 8
แผนการจัดการเรยี นร๎ูท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์................................................................... 14
แผนการจัดการเรยี นรู๎ท่ี 3 หนํวยและการวัด ....................................................................... 18
แผนการจดั การเรยี นรู๎ท่ี 4 แรงและการเคล่อื นท่ี .................................................................. 24
แผนการจดั การเรยี นรู๎ที่ 5 โครงสร๎างอะตอมและตารางธาตุ ................................................ 32
แผนการจัดการเรยี นร๎ูที่ 6 สารและการเปล่ียนแปลง ........................................................... 37
แผนการจดั การเรียนร๎ูที่ 7 ปฏิกิรยิ าในชีวิตประจาํ วัน .......................................................... 42
แผนการจัดการเรียนร๎ูที่ 8 เทคโนโลยีชวี ภาพ....................................................................... 47
แผนการจัดการเรยี นรู๎ที่ 9 นาโนเทคโนโลยี ......................................................................... 51
แผนการจัดการเรียนร๎ูที่ 10 ระบบนิเวศ ................................................................................

หลักสูตรรายวิชา
ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ รหัสวชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวช.

จดุ ประสงค์รายวชิ า
1. รู๎และเข๎าใจเกี่ยวกับหนํวยและการวัด แรงและการเคล่ือนที่ นาโนเทคโนโลยี อะตอมและตารางธาตุ

สารและการเปลี่ยนแปลง
2. สามารถสาํ รวจตรวจสอบเกี่ยวกับการวัด การเคลื่อนที่ อะตอมและธาตุ สาร และทํากิจกรรมโครงงาน

วิทยาศาสตร์โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอื่ นําไปประยุกต์ใชใ๎ นวิชาชีพและชวี ิตประจําวนั
3. มเี จตคตแิ ละกิจนิสยั ทดี่ ีตอํ การศึกษาและสาํ รวจตรวจสอบด๎วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความร๎ูเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์

หนวํ ยและการวัด อะตอมและตารางธาตุ สารและการเปลี่ยนแปลง นาโนเทคโนโลยีและระบบนเิ วศ
2. คิดคํานวณเก่ียวกับหนํวยและการวัด แรงและการเคลอื่ นท่ีตามหลกั การ
3. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์โดยใชก๎ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. ปฏิบตั ิทดลองเกีย่ วกับสาร การเปลยี่ นแปลงและปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวันโดยใช๎กระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัตเิ กี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ หนํวยและการวัด

แรง การเคลื่อนท่ี นาโนเทคโนโลยี โครงสร๎างอะตอมและตารางธาตุ สารและการเปล่ียนแปลง ปฏิกิริยาเคมีใน
ชีวิตประจาํ วัน ความกา๎ วหนา๎ ทางเทคโนโลยีชวี ภาพและระบบนเิ วศ

หนว่ ยการเรยี นรู้
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ รหัสวชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย จานวน ท่มี า
ท่ี คาบ A B C D E F G

1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 ///

2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3 ///

3 หนํวยและการวัด 3 ///

4 แรงและการเคล่ือนท่ี 3 ///

5 โครงสรา๎ งอะตอมและตารางธาตุ 9 /// /

6 สารและการเปลย่ี นแปลง 9 /// /

7 ปฏกิ ิรยิ าเคมีในชีวติ ประจําวนั 9 /// /

8 เทคโนโลยีชวี ภาพ 6 ///

9 นาโนเทคโนโลยี 3 // /

10 ระบบนเิ วศ 3 //// /

วดั ผลและประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น 3

รวม 54

หมายเหตุ A = หลกั สตู รรายวชิ า B = หนงั สอื วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ
C = หนงั สือวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน D = หนังสือวิทยาศาสตร์สิง่ แวดล๎อม
E = หนงั สือเคมี เลํม 1 F = นาโนเทคโนโลยี นวัตกรรมจ๋ิวปฏวิ ัติโลก
G = หนงั สือชีววทิ ยา

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่สอดคลอ้ งกับสมรรถนะรายวิชา
ชอื่ วิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ รหสั วิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย จานวน ความสอดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา
ท่ี คาบ 1234
1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 /
2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3 //
3 หนวํ ยและการวัด 3 //
4 แรงและการเคล่ือนที่ 3
5 โครงสรา๎ งอะตอมและตารางธาตุ 9 /
6 สารและการเปลีย่ นแปลง 9 /
7 ปฏิกริ ิยาในชวี ติ ประจําวนั 9 //
8 เทคโนโลยชี ีวภาพ 6
9 นาโนเทคโนโลยี 3 /
10 ระบบนเิ วศ 3 /
/
/

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู๎เกยี่ วกับหลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ หนํวย

และการวัด อะตอมและตารางธาตุ สารและการเปลี่ยนแปลง นาโนเทคโนโลยแี ละระบบนเิ วศ
2. คดิ คํานวณเกี่ยวกับหนํวยและการวัด แรงและการเคลอ่ื นทตี่ ามหลักการ
3. ปฏิบัติกจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
4. ปฏิบตั ทิ ดลองเก่ียวกับสาร การเปล่ียนแปลงและปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวันโดยใช๎กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์

โครงการจัดการเรยี นรู้
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต รหัสวชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ชั้น ปวช.

สัปดาห์ หนว่ ย ทฤษฎี ปฏิบตั ิ จานวน
ที่ ท่ี คาบ
1 ใบกิจกรรมท่ี 1.1–1.8 3
2 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมที่ 2.1–2.7 3
3 ใบกิจกรรมท่ี 3.1–3.6 3
4 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 4.1–4.7 3
5 ใบกจิ กรรมที่ 5.1–5.3 3
6 3 หนํวยและการวัด ใบกิจกรรมท่ี 5.4–5.6 3
7 ใบกจิ กรรมท่ี 5.7–5.8 3
8 4 แรงและการเคลื่อนท่ี ใบกจิ กรรมท่ี 6.1–6.2 3
9 ใบกจิ กรรมท่ี 6.3–6.4 3
10 5 โครงสรา๎ งอะตอมและตารางธาตุ ใบกิจกรรมที่ 6.5–6.6 3
11 ใบกจิ กรรมท่ี 7.1 3
12 5 โครงสรา๎ งอะตอมและตารางธาตุ (ตํอ) ใบกิจกรรมท่ี 7.2 3
13 ใบกจิ กรรมที่ 7.3 3
14 5 โครงสรา๎ งอะตอมและตารางธาตุ (ตอํ ) ใบกิจกรรมท่ี 8.1–8.3 3
15 ใบกิจกรรมที่ 8.4–8.6 3
16 6 สารและการเปลี่ยนแปลง มอบหมายคน๎ คว๎าทํารายงาน 3
17 ใบกจิ กรรมท่ี 10.1–10.5 3
18 6 สารและการเปลยี่ นแปลง (ตํอ) 3
54
6 สารและการเปลีย่ นแปลง (ตอํ )

7 ปฏิกิรยิ าในชวี ิตประจําวนั

7 ปฏิกริ ยิ าในชีวิตประจําวัน (ตํอ)

7 ปฏกิ ริ ยิ าในชีวิตประจาํ วนั (ตํอ)

8 เทคโนโลยชี ีวภาพ

8 เทคโนโลยชี วี ภาพ (ตอํ )

9 นาโนเทคโนโลยี

10 ระบบนเิ วศ

วัดผลและประเมินผลปลายภาคเรยี น

รวม

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช.

ชอื่ เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ
หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1.1 วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์
1.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แสดงความรแ๎ู ละปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั กระบวนการทาง
1.3 จิตวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
1.4 โครงงานวทิ ยาศาสตร์
จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
ดา้ นความร้แู ละทักษะ

1. ระบขุ ้ันตอนของวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์
2. ระบขุ อ๎ มลู ทเ่ี ปน็ ผลมาจากการสงั เกต
3. เลอื กเคร่ืองมือวัดได๎เหมาะสมกบั ปริมาณทต่ี ๎องการวัด
4. หาคําเฉลย่ี จากข๎อมูลที่กาํ หนดให๎
5. กําหนดเกณฑใ์ นการแยกประเภทสิง่ ของ
6. ลงความเห็นจากข๎อมูลท่ีกําหนดให๎
7. พยากรณผ์ ลที่เกดิ จากขอ๎ มูลท่ีกาํ หนดให๎
8. ตง้ั สมมติฐานจากสถานการณ์ปญั หาที่กําหนดให๎
9. กาํ หนดนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร
10. ระบตุ ัวแปรต๎น ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีต๎องควบคุม
11. วิเคราะห์ข๎อมลู แปลความหมายข๎อมูล และลงข๎อสรปุ
12. อธบิ ายความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
13. บอกจดุ มํุงหมายและขนั้ ตอนของการทําโครงงาน
วิทยาศาสตร์
14. ระบปุ ระเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์จากขอ๎ มลู ที่
กาํ หนดให๎
15. จดั ทําโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละแสดงผลงานที่ศกึ ษา

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
ช่อื วิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ รหสั วิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ใบกจิ กรรมที่ 1.1 ทักษะการสังเกต 1. บันทึกผลการสังเกต

2. ระบุขอ๎ มลู เชิงคุณภาพหรือเชิงปรมิ าณจากการสงั เกต

ใบกิจกรรมที่ 1.2 ทกั ษะการจําแนก 1. กาํ หนดเกณฑแ์ ละจําแนกประเภทส่งิ ของตามเกณฑ์ที่

ประเภท กําหนด

ใบกจิ กรรมที่ 1.3 ทกั ษะการจัดกระทาํ และ 1. จดั กระทาํ และสอื่ ความหมายข๎อมลู ในรูปของตาราง
สื่อความหมาย 2. จัดกระทําและสือ่ ความหมายข๎อมูลในรปู แผนภูมิ

ขอ๎ มูล

ใบกจิ กรรมท่ี 1.4 ทกั ษะการพยากรณ์ 1. พยากรณภ์ ายในขอบเขตขอ๎ มูลและนอกขอบเขตข๎อมลู
ท่กี าํ หนดให๎

ใบกจิ กรรมท่ี 1.5 ทักษะการตั้งสมมติฐาน 1. ตง้ั สมมติฐานจากปญั หาท่กี ําหนดให๎

ใบกจิ กรรมท่ี 1.6 ทกั ษะการกาํ หนดและ 1. ตั้งสมมตฐิ าน และบอกตัวแปรตน๎ ตวั แปรตาม

ควบคุมตัวแปร ตวั แปรควบคุมจากปัญหาทก่ี ําหนดให๎

ใบกจิ กรรมที่ 1.7 การตีความหมายข๎อมลู 1. ตคี วามหมายข๎อมูลและลงขอ๎ สรุปจากขอ๎ มลู ท่ีกาํ หนดให๎

และลงข๎อสรปุ

ใบกจิ กรรมท่ี 1.8 การจมและการลอยของ 1. ใช๎กระบวนการการทางวทิ ยาศาสตร์ ศึกษาการจมและการ

ไขํ ลอยของไขํ

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/

บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกดา๎ นความสนใจใฝรุ ๎ู

การตรงตํอเวลา

ความซอื่ สตั ย์ สุจรติ

ความมีนา้ํ ใจและแบงํ บนั

ความรวํ มมอื /ยอมรบั ความคิดเหน็ สํวนใหญํ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ช่ือเรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

หน่วยท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

2.1 ความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ แสดงความรแู๎ ละปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับการทําโครงงาน

วิทยาศาสตร์

2.2 จุดมงุํ หมายของการทาํ โครงงาน

วทิ ยาศาสตร์ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)

2.3 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์2.4 ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ

ขน้ั ตอนการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1. อธิบายความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

2.5 การเขยี นรายงานโครงงาน 2. บอกจุดมงํุ หมายของการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ 3. ระบปุ ระเภทของโครงงานวิทยาศาสตรจ์ ากข๎อมูลที่

2.6 การแสดงผลงานโครงงาน กําหนดให๎

วิทยาศาสตร์ 4. อธิบายข้ันตอนในการทําโครงงานวทิ ยาศาสตร์

5. จดั ทําโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เขียนรายงานและแสดง

ผลงานทศ่ี กึ ษา

ใบกจิ กรรมที่ 2.1 ความหมายของโครงงาน 1. บอกความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์

ใบกจิ กรรมที่ 2.2 ตัวแปรในการทาํ 1. ระบตุ ัวแปรต๎น ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคมุ จาก

โครงงานวทิ ยาศาสตร์ สถานการณ์ทก่ี ําหนดให๎

ใบกิจกรรมที่ 2.3 วเิ คราะห์ตัวแปรตน๎ 1. แยกตัวแปรตน๎ และตัวแปรตาม ตามชื่อโครงงานท่ี
ตัวแปรตาม จากช่อื โครงงาน กาํ หนดให๎

ใบกิจกรรมท่ี 2.4 ออกแบบการทดลอง 1. ออกแบบการทดลองจากสถานการณ์ทก่ี ําหนด

ใบกิจกรรมที่ 2.5 ลกั ษณะเดํนของโครงงาน 1. บอกประเภทและลักษณะเดํนของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

แตํละประเภท แตลํ ะประเภท

ใบกิจกรรมที่ 2.6 ประเภทของโครงงาน 1. แยกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ทีก่ ําหนดให๎

วิทยาศาสตร์

ใบกจิ กรรมที่ 2.7 จัดทาํ โครงงาน 1. จัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์และแสดงผลงานท่ีศกึ ษา

วทิ ยาศาสตร์ 2. ใชว๎ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ศึกษาคน๎ คว๎าดว๎ ยตนเอง

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
ช่ือวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทักษะชวี ิต รหัสวิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช.

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/

บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกดา๎ นความสนใจใฝรุ ๎ู
การตรงตํอเวลา
ความซือ่ สตั ย์ สุจรติ
ความมีน้าํ ใจและแบงํ บนั
ความรวํ มมือ/ยอมรับความคิดเหน็ สวํ นใหญํ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต รหัสวิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช.

ชอื่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ
หนว่ ยที่ 3 หนํวยและการวัด สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
3.1 ระบบของหนํวยวัด
3.2 การวัด แสดงความรู๎และปฏิบตั ิเกย่ี วกับหนวํ ยและการวดั

ใบกจิ กรรมที่ 3.1 ระบบหนํวย SI จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
ใบกิจกรรมท่ี 3.2 ระบบหนํวย SI ด้านความรู้และปฏิบตั ิ
ใบกจิ กรรมที่ 3.3 ระบบหนวํ ย SI
ใบกจิ กรรมที่ 3.4 การเปล่ียนหนํวย SI 1. บอกชอ่ื หนํวยวัดพน้ื ฐานในระบบอังกฤษ และระบบเมตรกิ
ใบกิจกรรมที่ 3.5 การวดั 2. จาํ แนกองค์ประกอบของหนวํ ย SI
ใบกิจกรรมที่ 3.6 การวัด 3. เปรียบเทยี บคํามุมระนาบในหนํวยเรเดียนกับองศา
4. เลือกใชค๎ ําอุปสรรคแทนตัวพหคุ ณู
5. ใชห๎ นวํ ย และเปลีย่ นหนวํ ย SI ไดต๎ ามข๎อกําหนด
6. บันทึกผลการวัดพร๎อมระบคุ ําความคลาดเคลื่อนของ
การวัด
7. บอกสาเหตุทท่ี าํ ให๎ผลการวัดคลาดเคล่อื น
8. เลือกใชเ๎ คร่ืองมือวดั ได๎เหมาะสมกบั ส่ิงทีว่ ัด
1. จําแนกองค์ประกอบของหนํวย SI
1. เปรียบเทยี บมมุ ระนาบในหนวํ ยเรเดยี นกับองศา
1. เลือกใชค๎ ําอุปสรรคแทนตวั พหคุ ูณ
1. แสดงขนั้ ตอนการเปล่ียนหนวํ ย SI
1. บนั ทึกผลการวัดพรอ๎ มระบคุ าํ ความคลาดเคลือ่ นของ
การวัด
1. อาํ นและบนั ทกึ การวัดตามข๎อกาํ หนด
2. คาํ นวณหาคําเฉลยี่ จากการวัด
3. เลอื กใชเ๎ คร่อื งมือวัดเหมาะสมกับปรมิ าณทตี่ ๎องการวดั

ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา๎ นการตรงตํอเวลา ความสนใจใฝรุ ๎ู
ไมหํ ยดุ นง่ิ ท่จี ะแกป๎ ญั หา ความซ่อื สตั ย์ ความรวํ มมอื

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวิต รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.

ชื่อเร่อื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
หนว่ ยที่ 4 แรงและการเคล่อื นท่ี สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
4.1 ความหมายของแรง
4.2 ชนิดของแรง แสดงความรูแ๎ ละปฏิบตั เิ กยี่ วกับแรงและการเคลือ่ นท่ี
4.3 การหาแรงลัพธ์
4.4 แรงในธรรมชาติ จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
4.5 แรงเสยี ดทานและการใช๎ประโยชน์ ด้านความร้แู ละทกั ษะ
4.6 การเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุ
1. อธบิ ายความหมายของแรง และผลของแรง
ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ผลของแรงทาํ ให๎วัตถุ 2. อธบิ ายลกั ษณะและชนดิ ของแรงพรอ๎ มทงั้ ยกตัวอยาํ ง
เปลย่ี นรูปทรง 3. หาแรงลัพธ์โดยการเขยี นรปู และวธิ ีการคํานวณ
ใบกิจกรรมที่ 4.2 การเขยี นรูปหาแรงลัพธ์ 4. ยกตวั อยาํ งและทดลองแรงในธรรมชาติ
ใบกิจกรรมท่ี 4.3 คํานวณหาแรงลัพธ์ 5. อธิบายและคํานวณตวั แปรพื้นฐานที่เกย่ี วข๎องกับการ
ใบกจิ กรรมท่ี 4.4 คํานวณหาแรงลัพธข์ อง เคลื่อนท่ี
2 แรง ทีท่ าํ มุม 90 องศา 6. ยกตวั อยํางการนําความรู๎เร่ืองแรงและการเคลื่อนทีไ่ ปใช๎
ใบกจิ กรรมท่ี 4.5 คาํ นวณหาแรงลพั ธ์ของ ประโยชน์ในชวี ิตประจําวัน
2 แรง ท่ีทํามุม  1. บอกการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของวตั ถุ เมื่อถูกแรงตาํ ง ๆ
ใบกิจกรรมท่ี 4.6 การเคลอื่ นทีข่ องวตั ถุ กระทาํ
ใบกิจกรรมที่ 4.7 คาํ นวณการเคลือ่ นท่ีของ 1. เขียนรูปแบบหางตํอหัวเพื่อหาคาํ แรงลัพธ์
วัตถุ 1. หาแรงลัพธ์ของแรงท่ีอยใูํ นแนวเดียวกนั
1. หาแรงลพั ธ์ของ 2 แรงที่ทํามุม 90 องศา

1. หาแรงลัพธ์ของ 2 แรงทท่ี ํามมุ 

1. ระบปุ ระเภทการเคลื่อนที่ของวตั ถุแบบตาํ ง ๆ
1. คาํ นวณปริมาณตาํ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ๎ งกบั การเคลื่อนที่ของวัตถุ

ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม/
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา๎ นการตรงตํอเวลา ความสนใจใฝรุ ๎ู
ไมํหยดุ นิ่งทจ่ี ะแก๎ปญั หา ความซือ่ สัตย์ ความรํวมมือ

ใช๎อปุ กรณ์ทดลองอยาํ งฉลาดและรอบคอบ
สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
ชือ่ วิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวช.

ช่อื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
หน่วยที่ 5 โครงสรา๎ งอะตอมและ
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
ตารางธาตุ
5.1 การพฒั นาแบบจาํ ลองอะตอม แสดงความร๎แู ละปฏิบัติเก่ียวกับโครงสร๎างอะตอมและ
5.2 อนุภาคมลู ฐานของอะตอม
5.3 สญั ลักษณน์ วิ เคลียร์ ตารางธาตุ
5.4 ไอโซโทป ไอโซบาร์ และไอโซโทน
5.5 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
5.6 ธาตุและสญั ลกั ษณ์ธาตุ
5.7 ตารางธาตุ ดา้ นความรูแ้ ละทักษะ
1. ระบแุ บบจาํ ลองอะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์สมัยตาํ ง ๆ
และวิธที ดลองของนักวิทยาศาสตรท์ ่ีค๎นพบอิเลก็ ตรอน
2. อธิบายชนิดและสมบัติของอนุภาคมูลฐานในอะตอมและ
อธิบายความหมายของเลขอะตอม และมวลอะตอม
3. บอกจาํ นวนอนุภาคมลู ฐานของอะตอม เมอ่ื ทราบเลข
อะตอมและมวลอะตอมของธาตุ
4. เขยี นสญั ลักษณ์นวิ เคลยี ร์ เมือ่ ทราบเลขอะตอมและเลข
มวลของธาตุ
5. ระบุอนภุ าคมลู ฐานของอะตอมได๎เม่ือทราบสัญลักษณ์
นิวเคลียร์
6. อธบิ ายความหมายของไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์
และระบุธาตุทเี่ ป็นไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์
7. นําประโยชนข์ องไอโซโทปไปใชใ๎ นงานตาํ ง ๆ
8. บอกสูตรที่ใชแ๎ ละคํานวณจาํ นวนอิเล็กตรอนสงู สดุ ในแตํละ
ระดบั พลงั งาน
9. จัดเรยี งอเิ ล็กตรอนและบอกจํานวนเวเลนซ์อิเลก็ ตรอน
ของธาตุ เมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ
10. ระบชุ ่ือนักวทิ ยาศาสตรท์ เ่ี สนอสัญลกั ษณ์ของธาตุโดยใช๎
รูปภาพและอกั ษรยอํ
11. เขยี นสญั ลักษณ์ของธาตุและอธบิ ายการจัดตารางธาตใุ น
ปัจจุบนั
12. ระบตุ ําแหนงํ ทอี่ ยํูในตารางธาตุ เมอ่ื ทราบเลขอะตอม
ของธาตุ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ รหัสวชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

13. ระบคุ วามสมั พันธ์ของการจดั เรียงอิเล็กตรอนกับหมูํและ

คาบของตารางธาตุ

14. บอกสมบัติของธาตทุ ี่อยใูํ นหมํูหรอื คาบเดียวกนั

ใบกจิ กรรมท่ี 5.1 กลํองปรศิ นา 1. ใช๎ทักษะการสังเกตและลงความเห็นจากข๎อมูลท่ีได๎จาก

การสงั เกต

2. วาดภาพวตั ถุท่ีอยภูํ ายในกลอํ งตามจนิ ตนาการ

ใบกิจกรรมท่ี 5.2 แบบจาํ ลองอะตอม 1. อธบิ ายลักษณะสําคัญของแบบจําลองอะตอมแบบตําง ๆ

2. ระบุรูปภาพแบบจําลองอะตอมแตํละแบบ

ใบกจิ กรรมที่ 5.3 อนภุ าคมูลฐานของ 1. บอกจํานวนอนุภาคมูลฐาน เม่ือทราบเลขอะตอมและเลข

อะตอมและสญั ลักษณ์ มวลของธาตุ

ของนิวเคลยี ร์ 2. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลยี รข์ องธาตุได๎ เมื่อทราบเลขอะตอม

และเลขมวล

ใบกิจกรรมท่ี 5.4 ไอโซโทป ไอโซโทน 1. อธบิ ายความหมายของไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์

และไอโซบาร์ 2. ระบุธาตทุ เ่ี ป็นไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์

ใบกิจกรรมท่ี 5.5 การจัดเรียงอเิ ล็กตรอน 1. จัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนและบอกจาํ นวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ

ธาตุ เม่อื ทราบเลขอะตอมของธาตุ

ใบกจิ กรรมที่ 5.6 สญั ลักษณธ์ าตุ 1. เขยี นสญั ลกั ษณ์ธาตุท่กี ําหนดให๎

ใบกจิ กรรมที่ 5.7 สมบัติของธาตใุ นตาราง 1. เขยี นสัญลกั ษณ์ธาตุ และบอกสมบตั ิของธาตุ

ธาตุ

ใบกิจกรรมที่ 5.8 ความสมั พันธข์ องหมูํและ 1. ระบุความสัมพันธ์ของหมูํและคาบกับการจัดเรียง

คาบกับการจัดเรียงอิเล็กตรอน อิเล็กตรอน

ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/

บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกดา๎ นการตรงตํอเวลา ความสนใจใฝุรู๎

ไมํหยดุ นิ่งทจ่ี ะแกป๎ ญั หา ความซ่อื สัตย์ ความรํวมมอื

ใช๎อปุ กรณ์ทดลองอยาํ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต รหสั วิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชน้ั ปวช.

ช่อื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยที่ 6 สารและการเปลี่ยนแปลง สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
6.1 สาร
6.2 สมบัตขิ องสาร แสดงความร๎ูและปฏิบตั เิ กี่ยวกับสารและการ
6.3 การจําแนกสาร เปลยี่ นแปลง
6.4 การเปลยี่ นแปลงของสาร
จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)
ด้านความรูแ้ ละทักษะ

1. บอกความแตกตํางของสมบัติทางกายภาพและทาง
เคมี
2. จําแนกความแตกตํางระหวํางสารเน้ือเดียวกับสาร
เนื้อผสม
3. ระบสุ มบตั ขิ องธาตุทเี่ ปน็ โลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ
4. แยกตัวทําละลายและตัวละลาย เมื่อกําหนด
องค์ประกอบของสารละลายมาให๎
5. จําแนกประเภทของสาร เม่ือกําหนดสารมาให๎
6. ระบุสมบัติของสารประเภทสารแขวนลอย
คอลลอยด์ และสารละลาย
7. จําแนกการเปลี่ยนปลงทางกายภาพ และทางเคมี
ของสารในชีวติ ประจําวัน
8. อธิบายแรงยึดเหน่ียวของสารที่มีสถานะของแข็ง
ของเหลว และแก๏ส
9. อธิบายสัมพันธ์ของพลังงานความร๎อนที่เกี่ยวข๎อง
กบั การเปลย่ี นสถานะ
10. ระบปุ ัจจัยทีม่ ีผลตอํ การละลายของสาร
11. บอกสารตง้ั ต๎นและผลิตภณั ฑ์ในปฏกิ ิริยาเคมี

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต รหสั วิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช.

ช่อื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ
ใบปฏบิ ตั ิงานที่ 6.1 สารละลาย 1. แยกตัวทําละลายและตัวละลาย เมื่อกําหนด
องคป์ ระกอบของสารละลายมาให๎
ใบปฏบิ ัติงานที่ 6.2 สมบัตบิ างประการของ 1. บอกความแตกตํางที่เกิดจากการท่ีแสงสํองผํานสาร
คอลลอยด์ แขวนลอย คอลลอยด์ และ สารละลาย
2. ใช๎สมบัติการกระเจิงของแสงเพ่ือตรวจสอบสารท่ี
ใบปฏิบัตงิ านที่ 6.3 ประเภทของสาร เป็นคอลลอยด์
ใบปฏบิ ตั ิงานท่ี 6.4 การเปลี่ยนแปลงของสาร 1. จาํ แนกประเภทของสาร เมื่อกําหนดสารมาให๎
ใบปฏิบตั ิงานท่ี 6.5 การเปลีย่ นสถานะของสาร 1. จําแนกการเปลี่ยนแปลงของสารในชีวิตประจาํ วนั
1. อธิบายสัมพันธ์ของพลังงานความร๎อนท่เี ก่ยี วข๎องกับ
ใบปฏิบัตงิ านที่ 6.6 การละลายของสารใน การเปลย่ี นสถานะ
ตัวทาํ ละลายตาํ ง ๆ 1. ทาํ การทดลองการละลายของสารในตัวทําละลาย
ตําง ๆ
2. อธบิ ายการละลายแบบดดู ความรอ๎ น และคายความ
รอ๎ น
3. ใชเ๎ ครอื่ งมือตามการทดลอง

ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด๎านการตรงตํอเวลา
ความสนใจใฝุรู๎
ไมหํ ยุดนงิ่ ทีจ่ ะแก๎ปัญหา
ความซอื่ สตั ย์
ความรํวมมือ
ใช๎อุปกรณ์ทดลองอยํางฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ รหัสวชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช.

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
หนว่ ยท่ี 7 ปฏกิ ิรยิ าเคมีในชวี ิตประจาํ วัน สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
7.1 การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
7.2 พลังงานกับการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี แสดงความรแ๎ู ละปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับปฏิกริ ิยาเคมใี น
7.3 ปัจจยั ท่ีมผี ลตํอการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชีวิตประจําวนั
7.4 ปฏิกริ ิยาเคมีในชีวติ ประจาํ วัน
จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
ใบกิจกรรมท่ี 7.1 การดลุ สมการเคมี ด้านความรูแ้ ละทกั ษะ
ใบกจิ กรรมที่ 7.2 อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
1. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. อธิบายการเกิดปฏิกิรยิ าเคมแี บบดดู ความรอ๎ นและคาย
ความร๎อน
3. ระบุสารตง้ั ต๎นและผลติ ภณั ฑใ์ นสมการเคมี
4. ใชส๎ ญั ลักษณ์ระบสุ ถานะของสารในสมการเคมี
5. ดุลสมการเคมี
6. เขยี นสูตรความสมั พันธใ์ นการหาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยา
เคมี
7. ระบปุ ัจจยั ทีม่ ผี ลตํออัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
8. อธบิ ายสมบตั ขิ องตวั เรงํ ปฏิกิริยาเคมี
9. ระบผุ ลติ ภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม๎ทสี่ มบูรณ์ และ
ไมสํ มบรู ณ์
10. อธิบายปฏิกริ ิยาเคมที ี่พบเห็นในชีวติ ประจาํ วนั
1. ดลุ สมการเคมี
2. ระบสุ ารตัง้ ตน๎ และผลติ ภณั ฑ์ พรอ๎ มระบสุ ถานะ
1. อธบิ ายปัจจยั ทีม่ ีผลตํอการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
2. เปรยี บเทยี บอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีของสารตั้งต๎นทม่ี ี
พน้ื ท่ีผวิ ตํางกนั
3. เปรยี บเทยี บอตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีของสารตั้งต๎น
ระหวาํ งการใช๎ตัวเรํงปฏิกริ ิยาเคมกี ับไมํใช๎ตัวเรํงปฏกิ ริ ิยา
เคมี
4. ใช๎เครอ่ื งมือตามการทดลอง

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
ช่ือวิชา วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวติ รหัสวิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช.

ช่อื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ
ใบกจิ กรรมท่ี 7.3 ปฏิกิรยิ าเคมใี นชีวติ ประจาํ วัน 1. อธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าเคมีในชีวิตประจาํ วนั

ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม/
บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกด๎านการตรงตํอเวลา
ความสนใจใฝรุ ๎ู
ไมํหยดุ น่ิงทีจ่ ะแกป๎ ญั หา
ความซ่อื สตั ย์
ความรํวมมือ
ใชอ๎ ุปกรณ์ทดลองอยํางฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ
ชอื่ วิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ รหัสวชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช.

ชือ่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

หน่วยท่ี 8 เทคโนโลยชี วี ภาพ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

8.1 ความหมายของเทคโนโลยีชวี ภาพ แสดงความร๎ูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับเทคโนโลยชี ีวภาพ

8.2 ประวตั ิการพัฒนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ

8.3 เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพนั ธ์ุ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)
ปรบั ปรุงพนั ธ์ุ และเพม่ิ ผลผลิต
8.4 การนําเทคโนโลยีชีวภาพมาใช๎ประโยชน์ ดา้ นความรแู้ ละทักษะ

8.5 ข๎อกังวลเกย่ี วกับการใช๎ 1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยชี ีวภาพ
2. อธบิ ายการนําเทคโนโลยีชีวภาพไปใช๎ประโยชน์ในการ
เทคโนโลยชี วี ภาพ
ปรับปรงุ พนั ธ์ุพชื และพันธุ์สตั ว์

3. อธิบายการผสมเทียมสตั ว์
4. อธบิ ายการถํายฝากตวั อํอนสัตว์
5. อธบิ ายการโคลนสิง่ มชี ีวิต

6. อธบิ ายพนั ธุวิศวกรรม
7. ยกตัวอยาํ งการนาํ เทคโนโลยีชวี ภาพมาใช๎ประโยชนใ์ น
ดา๎ นตําง ๆ และในชีวิตประจําวัน

8. ยกตัวอยํางขอ๎ กังวลเกี่ยวกบั การใชเ๎ ทคโนโลยีชวี ภาพ

ใบกิจกรรมท่ี 8.1 การผสมเทียมและ 1. อธิบายขัน้ ตอนการผสมเทียมและการถํายฝากตวั อํอน

การถํายฝากตัวอํอน

ใบกจิ กรรมที่ 8.2 การถํายฝากตวั อํอน 1. อธบิ ายขั้นตอนการถาํ ยฝากตัวออํ น

ใบกิจกรรมที่ 8.3 การดดั แปรพนั ธุกรรม 1. อธบิ ายขัน้ ตอนการดัดแปรพันธกุ รรม

2. ระบลุ กั ษณะของสิง่ มชี วี ิตที่เกดิ จากการดดั แปร

พนั ธุกรรม

ใบกจิ กรรมที่ 8.4 การถํายฝากตัวออํ น 1. อธบิ ายขั้นตอนการตัดตํอยีน

ใบกิจกรรมท่ี 8.5 การโคลน (Cloning) 1. อธบิ ายขนั้ ตอนวิธีการโคลน

2. บอกลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ติ ที่เกิดขึน้ จากการโคลน

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช.

ชือ่ เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
ใบกิจกรรมท่ี 8.6 การโคลน (Cloning) 1. อธิบายขน้ั ตอนวิธีการโคลน
2. บอกลกั ษณะของส่ิงมีชวี ิตท่เี กดิ ข้นึ จากการโคลน

ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม/
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกด๎านการตรงตํอเวลา
ความสนใจใฝุรู๎
ไมหํ ยดุ นงิ่ ทจี่ ะแก๎ปญั หา
ความซ่ือสัตย์
ความรํวมมอื

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต รหสั วิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ชอ่ื เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 9 นาโนเทคโนโลยี สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
9.1 ความหมายและความเป็นมาของนาโน
เทคโนโลยี แสดงความรเู๎ บื้องตน๎ เกี่ยวกับนาโนเทคโนโลยี
9.2 หลักการพ้ืนฐานของนาโนเทคโนโลยี
9.3 นาโนเทคโนโลยใี นธรรมชาติ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
9.4 ความเกี่ยวข๎องระหวํางนาโนเทคโนโลยี ดา้ นความรูแ้ ละทักษะ
กบั อุตสาหกรรม
9.5 ผลิตภัณฑน์ าโน 1. บอกความหมายของนาโนเทคโนโลยี
2. อธิบายหลกั การพนื้ ฐานของนาโนเทคโนโลยี
3. ยกตวั อยํางและอธบิ ายนาโนเทคโนโลยใี นธรรมชาติ
4. บรรยายความเก่ยี วข๎องระหวาํ งนาโนเทคโนโลยกี บั
อตุ สาหกรรม
5. ยกตัวอยํางผลิตภัณฑ์นาโนและบอกคุณสมบตั ขิ อง
ผลติ ภัณฑ์

ด้านคุณธรรมจริยธรรม/
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แสดงออกดา๎ นการตรงตํอเวลา
ความสนใจใฝรุ ู๎
ไมํหยดุ น่งิ ทจ่ี ะแก๎ปัญหา
ความซือ่ สัตย์
ความรวํ มมอื

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ
ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.

ชือ่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
หนว่ ยท่ี 10 ระบบนเิ วศ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
10.1 ความหมายของระบบนเิ วศ
10.2 องค์ประกอบของระบบนิเวศ แสดงความร๎แู ละปฏิบตั ิเกย่ี วกับระบบนิเวศและ
10.3 ปจั จยั ที่มีอิทธพิ ลตํอสงิ่ มชี ีวิตในระบบ ดลุ ยภาพของสิง่ มชี ีวติ
นเิ วศ
10.4 ความสัมพันธข์ องสิ่งมีชวี ติ ในระบบ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
นิเวศ ด้านความรู้และทักษะ
10.5 การถํายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ
10.6 ดลุ ยภาพของระบบนิเวศ 1. อธบิ ายความหมายของระบบนเิ วศ กลุํมสง่ิ มชี วี ติ แหลงํ
ทอ่ี ยูํอาศัย และโลกของสิง่ มชี ีวิต
ใบกจิ กรรมที่ 10.1 องคป์ ระกอบของระบบ 2. บอกองค์ประกอบของระบบนิเวศ
นิเวศ 3. บอกถงึ ผลดี ผลเสยี ของการอยรํู วมกลุํมกนั ของสิง่ มีชวี ติ
ในระบบนิเวศ
ใบกจิ กรรมท่ี 10.2 ความสมั พันธร์ ะหวาํ ง 4. อธบิ ายถึงอทิ ธิพลของปัจจัยตําง ๆ ทส่ี ํงผลตํอสิง่ มชี ีวิต
สิ่งมชี ีวติ ในระบบนิเวศ ในระบบนเิ วศ
ใบกิจกรรมท่ี 10.3 โซํอาหารและสายใย 5. ยกตวั อยํางและสรุปความสมั พนั ธ์ระหวาํ งส่ิงมชี วี ิตชนิด
อาหาร เดยี วกันและตาํ งชนิดกนั ในรูปแบบตาํ ง ๆ
6. อธิบายและเขยี นโซอํ าหาร และสายใยอาหาร
7. อธบิ ายการถํายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
8. อธบิ ายสาเหตุทที่ ําให๎ระบบนเิ วศเสียสมดุล
1. บอกองคป์ ระกอบของระบบนิเวศได๎
2. บอกความสมั พันธ์ระหวาํ งแหลงํ ทอ่ี ยํูอาศัยกับสิ่งมชี วี ิตที่
พบในระบบนิเวศได๎
1. แสดงความสมั พันธร์ ะหวาํ งส่งิ มีชวี ติ ตํางชนดิ กัน

1. เขยี นโซอํ าหารและสายใยอาหารจากส่งิ มชี วี ิตที่
กําหนดให๎

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
ช่อื วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต รหสั วชิ า 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช.

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
ใบกจิ กรรมที่ 10.4 การหมุนเวยี นแรํธาตุ 1. เขยี นความสมั พนั ธ์แสดงการหมนุ เวยี นแรธํ าตใุ นระบบ
นเิ วศได๎
ใบกจิ กรรมที่ 10.5 ดลุ ยภาพของระบบนเิ วศ 2. อธบิ ายการหมนุ เวยี นแรํธาตุในระบบนเิ วศได๎
1. เม่ือกาํ หนดสถานการณ์ให๎ สามารถอธิบายสาเหตุที่ทาํ
ให๎ดลุ ยภาพของระบบนิเวศเสยี สมดุลได๎
2. สามารถพยากรณ์การเปลย่ี นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ ในอนาคตได๎
เมือ่ ระบบนเิ วศเสียสมดลุ

ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกด๎านการตรงตํอเวลา
ความสนใจใฝรุ ู๎
ไมํหยุดนง่ิ ท่จี ะแกป๎ ัญหา
ความซื่อสตั ย์
ความรวํ มมือชวํ ยเหลือเก้อื กูล

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา
ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวติ รหสั วิชา 20000–1301
ท–ป–น 1–2–2 จานวนคาบสอน 3 คาบ: สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.

พุทธพิ ิสยั

พฤติกรรม ความรู๎ความ ํจา
ความเ ๎ขาใจ
ช่ือหนํวย ประยุกต์-นําไปใช๎
1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วิเคราะห์
2. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ สูงก ํวา
3. หนํวยและการวดั ทักษะพิสัย
4. แรงและการเคล่อื นที่ ิจตพิสัย
5. โครงสรา๎ งอะตอมและ รวม
ลําดับความสําคัญ
ตารางธาตุ
6. สารและการเปลยี่ นแปลง 23 3 9 4 21 1
7. ปฏิกิริยาในชวี ิตประจําวัน 22 2 7 4 17 3
8. เทคโนโลยีชวี ภาพ 13 3 8 4 19 2
9. นาโนเทคโนโลยี 21 2 7 4 16 4
10. ระบบนเิ วศ 22 2 6 4 16 4

รวม 12 2 5 4 14 6
31 2 7 4 17 3
ลาํ ดบั ความสําคัญ 22 2 5 4 15 5
11 2 5 4 13 7
23 2 8 4 19 2
18 20 22
60 67 40
2 13

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 หน่วยที่ 1

ชอ่ื วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวติ (20000–1301) เวลาเรยี นรวม 54 คาบ
ชื่อหน่วย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สอนครัง้ ที่ 1/18
ชอ่ื เรื่อง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จํานวน 3 คาบ

หัวข้อเร่อื ง ใบกจิ กรรมที่ 1.1 ทกั ษะการสังเกต
1.1 วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมที่ 1.2 ทกั ษะการจาํ แนกประเภท
1.2 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 1.3 ทกั ษะการจดั กระทําและ
1.3 จิตวิทยาศาสตร์
1.4 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ สอื่ ความหมายข๎อมูล
ใบกิจกรรมที่ 1.4 ทักษะการพยากรณ์
ใบกิจกรรมที่ 1.5 ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน
ใบกิจกรรมท่ี 1.6 ทกั ษะการกาํ หนดและ

ควบคุมตวั แปร
ใบกจิ กรรมที่ 1.7 การตีความหมายข๎อมลู

และลงข๎อสรปุ
ใบกจิ กรรมท่ี 1.8 การจมและการลอยของไขํ

แนวคดิ สาคัญ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการแสวงหาความร๎ูทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงประกอบด๎วย วิธีการ

ทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ประกอบด๎วย
5 ข้ันตอน คือ การระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน การทดลอง การวิเคราะห์ข๎อมูล และการสรุปผลการทดลอง
สํวนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เป็นทักษะสําคัญในกระบวนการศึกษาหาความร๎ู หรือค๎นหาคําตอบของ
ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ แบํงออกเป็นทักษะขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะ ทักษะขั้นบูรณาการ 5 ทักษะ การฝึกทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ หเ๎ กดิ ความชาํ นาญ จะทําให๎สามารถศึกษาปัญหาตําง ๆ เพ่ือค๎นหาคําตอบได๎อยํางมี
เหตุผล ผลการศึกษาเป็นท่ีเช่ือถือได๎ ตัวอยํางเชํน การทําโครงงานวิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีอยูํ 4 ประเภท ได๎แกํ
โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงานประเภทสํารวจ และโครงงานประเภททฤษฎี
การทําโครงงานประเภทตําง ๆ ให๎ประสบความสําเร็จนั้นผู๎เรียนต๎องใช๎วิธีการทางวิทยาศาสตร์และทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ยังต๎องเป็นบุคคลท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มีความสนใจใฝุรู๎ เช่ือในส่ิงท่ีมี
เหตุผล ละเอยี ดรอบคอบ มคี วามขยัน อดทน ซ่อื สัตย์ และทํางานรํวมกับผู๎อ่ืนได๎

สมรรถนะย่อย
แสดงความร๎ูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ ด้านทักษะ
ดา้ นความรู้ 1. บันทกึ ผลการสงั เกต
2. ระบุข๎อมลู เชิงคณุ ภาพหรือเชิงปริมาณ
1. ระบุขน้ั ตอนของวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์
2. ระบขุ ๎อมลู ทีเ่ ปน็ ผลมาจากการสงั เกต จากการสังเกต
3. เลอื กเคร่ืองมือวดั ไดเ๎ หมาะสมกับปริมาณทต่ี ๎องการวัด 3. กําหนดเกณฑแ์ ละจําแนกประเภทส่งิ ของ
4. หาคาํ เฉลี่ยจากข๎อมูลท่ีกาํ หนดให๎
5. กาํ หนดเกณฑใ์ นการแยกประเภทสงิ่ ของ ตามเกณฑ์ที่กาํ หนด
6. ลงความเหน็ จากข๎อมลู ท่ีกําหนดให๎ 4. จดั กระทําและสือ่ ความหมายข๎อมูลในรูป
7. พยากรณผ์ ลท่ีเกิดจากขอ๎ มูลทก่ี าํ หนดให๎
8. ตัง้ สมมติฐานจากสถานการณป์ ัญหาท่ีกําหนดให๎ ของตาราง
9. กําหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร 5. จดั กระทําและสอ่ื ความหมายข๎อมลู ในรูป
10. ระบตุ วั แปรตน๎ ตัวแปรตาม และตัวแปรทต่ี ๎องควบคุม
11. วเิ คราะห์ข๎อมูล แปลความหมายขอ๎ มลู และลง แผนภมู ิ
6. พยากรณ์ภายในขอบเขตขอ๎ มูลและนอก
ขอ๎ สรุป
12. อธบิ ายความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ขอบเขตขอ๎ มลู ท่กี ําหนดให๎
13. บอกจุดมํุงหมายและขั้นตอนของการทาํ โครงงาน 7. ตงั้ สมมติฐานจากปัญหาทีก่ าํ หนดให๎
8. ตงั้ สมมติฐาน และบอกตัวแปรต๎น ตัวแปร
วิทยาศาสตร์
14. ระบุประเภทของโครงงานวิทยาศาสตรจ์ ากข๎อมูล ตาม ตัวแปรควบคุมจากปัญหาทีก่ ําหนด
9. ตคี วามหมายข๎อมลู และลงขอ๎ สรปุ
ทีก่ าํ หนดให๎
15. จัดทาํ โครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละแสดงผลงานที่ศกึ ษา จากข๎อมลู ที่กาํ หนดให๎
10. บอกประเภทและลักษณะเดํนของ

โครงงานวิทยาศาสตรแ์ ตํละประเภท
11. แยกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์

ทีก่ ําหนดให๎

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด๎านความสนใจใฝรุ ๎ู การตรงตํอเวลา ความซือ่ สตั ย์ สุจริต
ความมีนาํ้ ใจและแบงํ บัน ความรํวมมอื /ยอมรับความคิดเห็นสวํ นใหญํ

เนอื้ หาสาระ
1.1 วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์
ประกอบดว๎ ย 5 ขน้ั ตอน ได๎แกํ การระบุปัญหา การตงั้ สมมติฐาน การทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน

การวเิ คราะหข์ อ๎ มลู การสรปุ ผลการทดลอง
1.2 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
1.2.1 ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ได๎แกํ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด

ทักษะการคํานวณ ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหวํางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา
ทกั ษะการจดั กระทาํ และสื่อความหมายข๎อมลู ทักษะการลงความเห็นจากขอ๎ มลู และทกั ษะการพยากรณ์

1.2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ มี 5 ทักษะ ได๎แกํ ทักษะการต้ังสมมติฐาน
ทกั ษะการกําหนดนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ าร ทักษะการกาํ หนดและควบคุมตัวแปร ทกั ษะการทดลอง การตีความหมาย
ข๎อมลู และการลงขอ๎ สรปุ

1.3 จิตวิทยาศาสตร์
มีลักษณะ มีความละเอียดถ่ีถ๎วนและอุตสาหะ มีความอดทน มีเหตุผล ไมํเช่ือสิ่งใดงําย ๆ โดย

ปราศจากข๎อเทจ็ จรงิ สนับสนนุ อยํางเพยี งพอ มใี จกว๎าง ยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผ๎ูอื่น ไมํยึดม่ันในความคิดของ
ตนเ อง ฝุา ยเ ดีย ว ส าม ารถ ทํา งา นรํ ว ม กับ ผ๎ูอ่ื นได๎ มี คว าม กร ะตื อรื อร๎น ที่จ ะค๎ นค ว๎า หา คว าม รู๎
มคี วามซื่อสัตย์สุจริต ยอมรบั การเปล่ียนแปลงและความก๎าวหนา๎ ใหมํ ๆ

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 1/18, คาบที่ 1-3/54)
ชวํ งท่ี 1
1. ครชู ้ีแจงรายละเอยี ดเก่ียวกบั คําอธบิ ายรายวิชา จุดประสงค์การเรียนร๎ู การวัดผลและประเมินผลการ

เรียน คณุ ลักษณะนิสัยทตี่ ๎องการให๎เกิดข้นึ และขอ๎ ตกลงในการเรียน
2. นักเรียนทําแบบทดสอบกํอนเรยี นหนํวยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใช๎เวลา 20 นาที
3. แบงํ กลํุมนักเรียนเปน็ กลุํม กลุํมละ 5 คน
4. ครใู ห๎นักเรยี นเปิดหนงั สอื เรียนหนํวยท่ี 1
5. ข้ันนําเขา๎ สํบู ทเรียน
5.1 ครูฉายภาพแกะท่ีเกิดมาจากากรโคลนน่ิง และมะละกอที่เกิดจากการตัดตํอ พันธุกรรมให๎

นักเรียนดู
5.2 ครูต้ังคําถามให๎นักเรียนชํวยกันตอบ และรํวมอภิปรายเพื่อให๎ได๎ข๎อสรุปวําการที่

นักวิทยาศาสตร์ค๎นพบส่ิงใหมํ ๆ นั้น นักวิทยาศาสตร์ต๎องทํางานเป็นข้ันตอน โดยวิธีการท่ีเรียกวํา วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์

5.3 ครแู จ๎งจดุ ประสงคก์ ารเรียนขอ๎ 1–10

6. ขัน้ สอน
6.1 นักเรียนศึกษาจากเนื้อหาในหัวข๎อเรื่องวิธีการทางวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ขนั้ พ้นื ฐาน
6.2 นักเรียนแตํละกลุํมสํงตัวแทนมาอภิปรายหน๎าช้ันเรียนเพ่ือสรุปข้ันตอนของวิธีการทาง

วิทยาศาสตร์ และทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตรข์ ัน้ พน้ื ฐาน
6.3 ครใู หค๎ วามร๎ูเพิม่ เตมิ โดยใชส๎ ือ่ PowerPoint
6.4 นักเรียนทาํ กจิ กรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 1.1–1.5
6.5 ขณะนกั เรียนทํากจิ กรรมครูจะสงั เกตการทาํ งานกลมํุ

7. ขน้ั สรปุ
ครแู ละนักเรยี นรวํ มกันเฉลยกิจกรรม และรวํ มอภิปรายสรปุ บทเรยี น

ชํวงท่ี 2
1. เตรียมความพร๎อมในการเรียนโดยการเรียกช่ือสํารวจการแตํงกายพร๎อมบันทึกลงในแบบสังเกต
ความมีวนิ ัย และความรับผดิ ชอบ
2. ขนั้ นาํ เขา๎ สบูํ ทเรยี น

2.1 ครทู บทวนเนอ้ื หาทเี่ รียนในชวํ งที่ 1
2.2 ครแู จ๎งจุดประสงค์การเรยี นขอ๎ ที่ 11–15
2.3 นักเรียนจัดกลํุม กลุํมละ 5 คน
3. ขั้นสอน
3.1 นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอนในหัวข๎อเร่ืองทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ขัน้ บรู ณาการ จติ วิทยาศาสตร์ และโครงงานวิทยาศาสตร์
3.2 นักเรียนแตํละกลํุมสํงตัวแทนมาอภิปรายหน๎าช้ันเรียนเพื่อสรุปรายละเอียด ทักษะ
กระบวนการวิทยาศาสตรข์ น้ั บูรณาการ และบุคคลท่มี ีจติ วิทยาศาสตร์
3.3 ครูให๎ความรเู๎ พ่ิมเตมิ โดยใชส๎ อ่ื PowerPoint
3.4 นกั เรยี นทํากจิ กรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 1.6–1.8
3.5 ขณะนกั เรยี นทาํ กิจกรรม ครจู ะสงั เกตการทํางานกลุํม
4. ขัน้ สรุป
ครแู ละนกั เรยี นรํวมกนั เฉลยกจิ กรรม และรวํ มอภปิ รายกบั นกั เรียน และเน๎นให๎นักเรียนเห็นวํา การ
แสวงหาความร๎ูทางวิทยาศาสตร์นอกจากจะใช๎วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แล๎ว
สง่ิ ทจี่ าํ เป็นอยํางยิ่งอกี อยาํ งหนึง่ คือ บคุ คลน้ันจะต๎องมจี ิตวทิ ยาศาสตร์

สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
1. ส่ือการเรยี นรู๎
1.1 หนงั สือเรียน หนวํ ยที่ 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.2 ใบกจิ กรรมที่ 1.1–1.8
1.3 PowerPoint ประกอบการสอน หนํวยท่ี 1
1.4 วดี ทิ ศั น์โครงงานวทิ ยาศาสตร์
1.5 ตวั อยาํ งเอกสารรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ บทคดั ยอํ โครงงานวิทยาศาสตร์
1.6 แบบทดสอบกอํ นเรยี นและหลังเรยี น
2. แหลํงการเรยี นรู๎
2.1 หนังสือ วารสาร เกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.2 อนิ เทอร์เน็ต www.google.com

การวดั และการประเมนิ ผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต๎องได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา ร๎อยละ

70 ผํานเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใชแ๎ บบทดสอบกํอนเรียนและหลังเรียน
1.3 สังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรมกลมํุ โดยใชแ๎ บบประเมินผล การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลมํุ
1.4 ตรวจใบกิจกรรม
1.5 ตรวจแบบฝกึ หดั
1.6 ประเมนิ ผลโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โดยใช๎แบบประเมนิ ผลโครงงานวิทยาศาสตร์

2. เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบต๎องได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา

รอ๎ ยละ 70 ผํานเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ตอ๎ งได๎คะแนนไมนํ อ๎ ยกวาํ รอ๎ ยละ 70 ผํานเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุํม ต๎องได๎คะแนนไมํน๎อยกวําร๎อยละ 70

ผาํ นเกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรม ต๎องได๎คะแนนไมํนอ๎ ยกวํารอ๎ ยละ 70 ผาํ นเกณฑ์
2.5 แบบฝกึ หัด ตอ๎ งไดค๎ ะแนนไมนํ ๎อยกวํา ร๎อยละ 70 ผาํ นเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานทีม่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ไมมํ ี

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน
1. ผลการนาํ เสนองานจากใบกิจกรรม
2. ผลการทาํ แบบฝึกหดั หนํวยท่ี 1
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนวํ ยที่ 1

เอกสารอ้างองิ
1. หนงั สือเรยี นวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต (20000–1301)
2. เว็บไซต์และสอ่ื ส่งิ พมิ พท์ เ่ี กี่ยวขอ๎ งกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 หน่วยที่ 2
ชือ่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต (20000–1301) เวลาเรยี นรวม 54 คาบ
ชอื่ หน่วย แรงและการเคลอ่ื นท่ี สอนครง้ั ที่ 2/18
ช่ือเรื่อง โครงงานวทิ ยาศาสตร์ จํานวน 3 คาบ

หัวข้อเรื่อง ใบกจิ กรรมท่ี 2.1 ความหมายของโครงงาน วิทยาศาสตร์
2.1 ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 2.2 ตัวแปรในการทํา
2.2 จดุ มํงุ หมายของการทาํ โครงงาน
โครงงานวทิ ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมที่ 2.3 วิเคราะห์ตัวแปรตน๎
2.3 ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
2.4 ขั้นตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ ตัวแปรตาม จากชอ่ื โครงงาน
2.5 การเขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์2.6 ใบกจิ กรรมที่ 2.4 ออกแบบการทดลอง
ใบกจิ กรรมท่ี 2.5 ลักษณะเดนํ ของโครงงานแตํละ
การแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภท
ใบกจิ กรรมท่ี 2.6 ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ใบกิจกรรมที่ 2.7 จัดทําโครงงานวทิ ยาศาสตร์

แนวคดิ สาคัญ
โครงงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีนักเรียนศึกษาค๎นคว๎าด๎วย

ตนเองตามความถนัดและความสนใจ โดยนําเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และจิตวิทยาศาสตร์มาใช๎ในการศึกษา เพื่อแก๎ปัญหาภายใต๎การแนะนําของครู หรือผู๎เชี่ยวชาญ โครงงาน
วิทยาศาสตร์ มี 4 ประเภท ได๎แกํ โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงานประเภท
สํารวจ และโครงงานประเภททฤษฎี การทําโครงงานประเภทตําง ๆ ให๎ประสบความสําเร็จน้ันผ๎ูเรียนต๎องใช๎
วธิ กี ารทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ยังต๎องเป็นบุคคลที่มีจิตวิทยาศาสตร์
มีความสนใจใฝุร๎ู เชอ่ื ในสิ่งท่ีมเี หตผุ ล ละเอยี ดรอบคอบ มคี วามขยนั อดทน ซือ่ สตั ย์ และทาํ งานรวํ มกบั ผ๎อู ่นื ได๎

สมรรถนะย่อย
แสดงความรแ๎ู ละปฏิบตั ิเกย่ี วกับการทําโครงงานวิทยาศาสตร์

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ ดา้ นทกั ษะ
ด้านความรู้ 1. บอกความหมายของโครงงาน

1. อธิบายความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
2. บอกจดุ มํุงหมายของการทําโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2. ระบุตัวแปรต๎น ตวั แปรตาม และตัวแปร
3. ระบปุ ระเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์จากข๎อมลู ท่ี
ควบคมุ จากสถานการณท์ ีก่ าํ หนดให๎
กาํ หนดให๎ 3. แยกตวั แปรตน๎ และตวั แปรตาม ตามช่อื
4. อธบิ ายข้นั ตอนในการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์
5. จดั ทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เขยี นรายงานและแสดง โครงงานที่กาํ หนดให๎
4. ออกแบบการทดลองจากสถานการณ์ที่
ผลงานท่ศี ึกษา
กําหนด
5. บอกประเภทและลักษณะเดํนของ

โครงงานวิทยาศาสตร์แตํละประเภท
6. แยกประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตรท์ ่ี

กําหนดให๎
7. จัดทําโครงงานวทิ ยาศาสตร์และแสดงผล

งานทศ่ี ึกษา
8. ใช๎วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ศึกษาคน๎ ควา๎

ดว๎ ยตนเอง

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกดา๎ นความสนใจใฝุรู๎ การตรงตํอเวลา ความซื่อสัตย์ สจุ ริต ความมีนา้ํ ใจและแบํงบัน

มเี หตผุ ล รํวมมือ/ยอมรับความคดิ เหน็ สํวนใหญํ

เน้อื หาสาระ
2.1 ความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถงึ กิจกรรมที่ศึกษาเก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีนักเรียนศึกษา

ค๎นคว๎าด๎วยตนเองตามความถนัดและความสนใจ โดยนําเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตรม์ าใชใ๎ นการศกึ ษา เพื่อแกป๎ ญั หาภายใต๎การแนะนําของครู หรือผเ๎ู ชีย่ วชาญ

2.2 จดุ มํงุ หมายของการทาํ โครงงาน วิทยาศาสตร์
สถาบันสงํ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไดก๎ าํ หนดจุดมํุงหมายของการทาํ โครงงาน

วทิ ยาศาสตร์ไว๎ 5 ประการ ได๎แกํ

1. เพอ่ื ใหน๎ กั เรียนใชค๎ วามรูแ๎ ละประสบการณ์ เลือกทาํ โครงงานตามที่ตนสนใจ
2. เพ่ือให๎นักเรยี นได๎ศกึ ษาคน๎ คว๎าหาความรู๎หาข๎อมูลจากแหลงํ ความรต๎ู ําง ๆ ไดด๎ ๎วยตนเอง
3. เพ่อื ให๎นักเรยี นไดแ๎ สดงออกซ่ึงความคดิ รเิ รมิ่ สรา๎ งสรรค์
4. เพ่ือให๎นักเรียนมีจิตวิทยาศาสตร์ เห็นคุณคําของการใช๎ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในการแกป๎ ัญหา
5. เพื่อให๎นกั เรียนมองเห็นแนวทาง ในการประยุกต์ใช๎วิทยาศาสตร์เทคโนโลยใี นแตลํ ะท๎องถนิ่
2.3 ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ส ถ า บั น สํ ง เ ส ริ ม ก า ร ส อ น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด๎ แ บํ ง โ ค ร ง ง า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ อ อ ก เ ป็ น
4 ประเภท คือ โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสํารวจ โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ และโครงงาน
ประเภททฤษฎี
2.4 ขัน้ ตอนการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์
การทําโครงงานวิทยาศาสตร์ มีการดําเนินงานเป็นข้ันตอน ได๎แกํ การคิดและเลือกหัวข๎อเรื่องที่จะทํา
โครงงาน ศกึ ษาเอกสารทเี่ กี่ยวข๎องกับเรื่องท่ีจะทําโครงงาน การจัดทําเค๎าโครงยํอของโครงงาน และทําโครงงาน
ตามแผนท่กี าํ หนดไว๎
2.5 การเขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์
การเขียนรายงานที่เกี่ยวกับโครงงานเป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ วิธีหนึ่งเพื่อให๎คนอื่น ๆ ได๎
เข๎าใจถงึ แนวความคิดวธิ กี ารดําเนนิ การศกึ ษาค๎นคว๎า ข๎อมูลท่ีได๎จากการศึกษาตลอดจนข๎อสรุปและข๎อเสนอแนะ
ตําง ๆ เก่ียวกบั โครงงานน้นั ประกอบด๎วย 4 สํวน ได๎แกํ สวํ นตอนต๎น สํวนเนื้อหา สํวนอ๎างอิง
สวํ นภาคผนวก
2.6 การแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
เป็นขน้ั สดุ ท๎ายของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยต๎องจัดให๎ครอบคลุมประเดน็ สําคญั
ดงั ตํอไปน้ี
1. ชื่อโครงงาน ชอื่ ผ๎ทู ําโครงงาน ชอ่ื ครทู ี่ปรึกษา
2. ท่ีมายํอ ๆ ถงึ เหตจุ งู ใจในการทําโครงงาน และความสําคญั ของโครงงาน
3. วิธีการดําเนนิ การ โดยเลือกเฉพาะขน้ั ตอนทีเ่ ดนํ และสําคัญ
4. การสาธติ หรอื แสดงผลทีไ่ ดจ๎ ากการทดลอง
5. ผลการศกึ ษา และขอ๎ มูลตําง ๆ ทไี่ ด๎จากการทาํ โครงงาน

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 2/18, คาบที่ 4-6/54)
1. เตรยี มความพรอ๎ มในการเรียน โดยการเรียกช่ือ สํารวจการแตํงกาย พร๎อมทั้งบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมีวินยั และความรบั ผิดชอบ
2. ข้นั นาํ เขา๎ สูบํ ทเรยี น

2.1 ครูนําตัวอยํางโครงงานวิทยาศาสตร์มาให๎นักเรียนดูอยํางน๎อย 2 โครงงาน แล๎วถามนักเรียน
วําแตํละโครงงานตาํ งกันอยาํ งไรและรวํ มกันอภิปรายจนได๎ขอ๎ สรุปวาํ โครงงานทดี่ เี ปน็ อยํางไร

2.2 ครูแจ๎งจุดประสงค์การเรียนร๎ูและให๎นักเรียนทําแบบทดสอบกํอนเรียน หนํวยท่ี 2 โครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ โดยเน๎นใหท๎ าํ ดว๎ ยความซอ่ื สัตย์ ไมํลอกคาํ ตอบของผู๎อ่นื

3. ขั้นสอน
3.1 นักเรยี นจัดกลุมํ กลมํุ ละ 4-5 คน คละเพศ และความสามารถ
3.2 นักเรยี นแตลํ ะกลํุมศึกษา เรอ่ื ง ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ จุดมุํงหมายของการทํา

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ และทํากิจกรรมท่ี 2.1-2.6 โดยเน๎นให๎นักเรียนรํวมมือ
กันทาํ งาน แสดงความคดิ เห็นกันภายในกลมํุ และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของกลุํม

3.3 ขณะนักเรียนทํากิจกรรม ครูสังเกตการณ์ทํากิจกรรมกลุํมโดยใช๎แบบสังเกต การปฏิบัติ
กิจกรรมกลํมุ

3.4 ครูและนักเรียนรํวมกันสรุปกิจกรรมที่ทําจากนั้นครูให๎ความร๎ูเร่ือง ความหมายของโครงงาน
วิทยาศาสตร์ จุดมุํงหมายของการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช๎ส่ือ
PowerPoint ประกอบการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็

3.5 ครใู ห๎นักเรียนทาํ ใบกจิ กรรมที่ 2.1-2.6
3.6 ครแู ละนกั เรยี นรวํ มสรุปกิจกรรมโดยใชค๎ ําถามในใบกิจกรรม ประกอบในการสรุปผล
3.7 ครูให๎ความร๎ูพร๎อมยกตัวอยํางเรื่อง ข้ันตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงาน
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ และนักเรียนรํวมกันอภิปรายเก่ียวกับเร่ืองดังกลําว
ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน โดยพิจารณาจากตัวอยํางรายงานและโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ครูนํามาเป็น
ตัวอยํางประกอบการสอน และวดี ทิ ัศนก์ ารนําเสนอโครงงาน
3.8 นักเรยี นทาํ ใบกิจกรรมท่ี 2.7
4. ขั้นสรปุ
4.1 นกั เรียนแตลํ ะกลุมํ สรุปบทเรียน โดยการเขยี นเป็นแผนทค่ี วามคดิ
4.2 นักเรยี นทําแบบฝึกหัดทา๎ ยบทหนวํ ยท่ี 2
4.3 นักเรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหนวํ ยท่ี 2

สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
1. ส่ือการเรียนรู๎ หนังสือเรียน หนํวยที่ 2 เร่ือง โครงงานวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 2.1 -2.7

แบบฝึกหัดหนํวยท่ี 2 และแบบทดสอบกํอนเรียนและหลังเรียน PowerPoint ประกอบการสอน ตัวอยําง
โครงงานวิทยาศาสตร์ รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ วีดทิ ศั นก์ ารนําเสนอโครงงาน

2. แหลํงการเรียนรู๎ หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอินเทอร์เน็ต
www.google.com

การวดั และการประเมนิ ผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมวี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ ตอ๎ งได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา ร๎อยละ

70 ผาํ นเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใชแ๎ บบทดสอบกํอนเรียนและหลังเรยี น
1.3 สังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลํมุ โดยใช๎แบบประเมนิ ผล การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลมุํ
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม ตรวจแบบฝกึ หัด

2. เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบต๎องได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา

ร๎อยละ 70 ผาํ นเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ตอ๎ งไดค๎ ะแนนไมํน๎อยกวาํ ร๎อยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุํม ตอ๎ งไดค๎ ะแนนไมนํ ๎อยกวาํ รอ๎ ยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.4 ใบกจิ กรรม ต๎องได๎คะแนนไมนํ อ๎ ยกวํารอ๎ ยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.5 แบบฝึกหัด ต๎องได๎คะแนนไมนํ ๎อยกวาํ ร๎อยละ 60 ผํานเกณฑ์

งานทีม่ อบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให๎ทบทวนเนื้อหารวมท้ังความสมบูรณ์ของแบบฝึกหัดและ

ใบกิจกรรม

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน
1. ผลการนําเสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทาํ แบบฝึกหดั หนวํ ยที่ 2
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนวํ ยที่ 2

เอกสารอา้ งอิง
1. หนังสือเรียนวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทักษะชีวิต (20000–1301)
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่อื ส่ิงพิมพ์ทเี่ ก่ียวข๎องกับเนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 3 หนว่ ยท่ี 3
ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต (20000–1301) เวลาเรียนรวม 54 คาบ
ชอ่ื หน่วย หนวํ ยและการวดั สอนครง้ั ที่ 3/18
ช่อื เรื่อง หนวํ ยและการวดั จาํ นวน 3 คาบ

หัวข้อเรือ่ ง

3.1 ระบบของหนํวยวดั ใบกจิ กรรมท่ี 3.1 ระบบหนํวย SI

3.2 การวัด ใบกจิ กรรมท่ี 3.2 ระบบหนวํ ย SI

ใบกจิ กรรมที่ 3.3 ระบบหนวํ ย SI

ใบกิจกรรมที่ 3.4 การเปลยี่ นหนวํ ย SI

ใบกิจกรรมท่ี 3.5 การวดั

ใบกิจกรรมท่ี 3.6 การวดั

แนวคิดสาคญั

การวดั ปริมาณตําง ๆ ในทางวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการเปรียบเทียบปริมาณที่ต๎องการวัดกับหนํวยที่

เป็นมาตรฐาน โดยอาศัยเคร่ืองมือวัดท่ีถูกต๎องและเหมาะสม การวัดประกอบด๎วยเคร่ืองมือวัด

ซึ่งเป็นอุปกรณ์ท่ีใช๎เปน็ ตวั กลางในการเปรียบเทียบคาํ ของปริมาณท่ตี ๎องการวัดกับมาตรฐาน วิธีการวัดต๎องเป็นวิธี

ที่สะดวก ปลอดภัย และได๎คําท่ีละเอียดถูกต๎อง และหนํวยท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน ปัจจุบันมีระบบหนํวยซึ่ง

ประเทศตําง ๆ ได๎ตกลงใช๎รํวมกันเป็นมาตรฐานสากลเพ่ือใช๎ได๎ท่ัวโลก เรียกวํา ระบบหนํวยระหวํางชาติ หรือ

เรยี กยอํ ๆ วาํ ระบบ SI ซ่งึ ประกอบดว๎ ย หนํวยฐาน หนํวยเสริม หนํวยอนพุ ทั ธ์ และคําอปุ สรรค

สมรรถนะย่อย
แสดงความรแู๎ ละปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับหนวํ ยและการวัด

จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ

ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ

1. บอกช่ือหนํวยวัดพื้นฐานในระบบอังกฤษ และระบบ 1. จาํ แนกองค์ประกอบของหนวํ ย SI

เมตรกิ 2. เปรียบเทียบมมุ ระนาบในหนํวยเรเดียนกบั
2. จาํ แนกองคป์ ระกอบของหนํวย SI องศา
3. เปรยี บเทยี บคํามมุ ระนาบในหนํวยเรเดียนกบั องศา 3. เลอื กใช๎คําอุปสรรคแทนตัวพหุคูณ
4. เลอื กใช๎คําอุปสรรคแทนตวั พหุคณู 4. บันทกึ ผลการวดั พร๎อมระบุคาํ ความ
5. ใช๎หนํวย SI และเปล่ียน SI ได๎ตามขอ๎ กาํ หนด คลาดเคลอื่ น
6. บนั ทึกผลการวัดพรอ๎ มระบคุ ําความคลาดเคลอ่ื น 5. อาํ นและบนั ทึกการวัดตามขอ๎ กาํ หนด

ของการวดั

ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ
7. บอกสาเหตุทที่ าํ ใหผ๎ ลการวัดคลาดเคลือ่ น 6. คาํ นวณหาคาํ เฉลย่ี จากการวัด
8. เลอื กใช๎เคร่อื งมอื วดั ได๎เหมาะสมกับสิ่งที่วดั 7. เลือกใช๎เครอื่ งมอื วดั เหมาะสมกับปริมาณ

ทีต่ อ๎ งการวัด

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา๎ นความสนใจใฝรุ ู๎ การตรงตํอเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต
ความมนี า้ํ ใจและแบํงบัน มีเหตุผล รวํ มมือ/ยอมรบั ความคดิ เหน็ สวํ นใหญํ

เนื้อหาสาระ
3.1 ระบบของหนํวยวัด
ระบบหนวํ ยวดั ทีน่ ิยมใช๎กนั อยํใู นปจั จบุ นั ได๎แกํ ระบบองั กฤษ ระบบเมตรกิ และระบบ SI
ระบบหนํวย SI ประกอบด๎วย หนํวยฐาน (Based Units) หนํวยเสริม (Supplementary Units)

หนวํ ยอนุพัทธ์ (Derived Units) และคาํ อุปสรรค (Prefixes)
3.2 การวดั
การวัด (Measurement) คือ การใช๎เคร่ืองมือชํวยในการระบุขนาดของปริมาณตําง ๆ ของวัตถุ

โดยการเปรยี บเทยี บกับคาํ ปริมาณมาตรฐานสากล ตามหนํวยในมาตราตําง ๆ ของเคร่ืองมอื เหลํานนั้

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 3/18, คาบท่ี 7-9/54)
1. นกั เรียนทําแบบทดสอบกอํ นเรยี นหนวํ ยที่ 3 หนวํ ยและการวัด
2. แบํงกลมํุ นกั เรียนเปน็ กลุมํ กลํุมละ 5 คน
3. ครูใหน๎ กั เรยี นดเู นอ้ื หาหนํวยท่ี 3
4. ข้นั นําเขา๎ สูบํ ทเรียน ครตู ้งั คาํ ถามใหน๎ ักเรยี นชํวยกนั ตอบ และรวํ มอภปิ รายเพ่ือใหไ๎ ด๎ขอ๎ สรปุ
5. ครูแจง๎ จดุ ประสงค์การเรยี นท้งั ทฤษฎแี ละปฏิบัติ
6. ขน้ั สอน
6.1 ครูอธิบาย บรรยายและถามตอบ นักเรยี นศึกษาจากเนือ้ หาในหัวข๎อเรื่อง
6.2 นักเรยี นแตํละกลุํมสงํ ตวั แทนมาอภปิ รายหนา๎ ช้นั เรยี นเพ่ือสรุป
6.3 ครูใหค๎ วามร๎ูเพ่ิมเตมิ โดยใช๎สือ่ PowerPoint
6.4 นกั เรยี นทาํ กิจกรรมตามใบกจิ กรรมที่ 3.1–3.6
6.5 ขณะนกั เรยี นทาํ กิจกรรมครจู ะสังเกตการทาํ งานกลํุม
7. ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรยี นรํวมกันเฉลยกิจกรรม และรวํ มอภปิ รายสรปุ บทเรยี น

สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
1. สื่อการเรียนร๎ู หนังสือเรียน หนํวยที่ 3 เร่ือง หนํวยและการวัด ใบกิจกรรมท่ี 3.1-3.6 แบบฝึกหัด

หนํวยท่ี 3 และแบบทดสอบกํอนเรยี นและหลงั เรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน หนวํ ยที่ 3
2. แหลํงการเรียนร๎ู หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวัดและการประเมนิ ผล
1. การวดั ผลและการประเมินผล
1.1 แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมวี นิ ยั และความรบั ผิดชอบ ตอ๎ งไดค๎ ะแนน ไมํน๎อยกวํา ร๎อยละ

70 ผํานเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช๎แบบทดสอบกํอนเรยี นและหลังเรียน
1.3 สังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลมํุ โดยใช๎แบบประเมนิ ผล การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลมุํ
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝกึ หัด

2. เกณฑ์การวดั และประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบต๎องได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา ร๎อยละ

70 ผาํ นเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ตอ๎ งไดค๎ ะแนนไมํน๎อยกวาํ รอ๎ ยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลมุํ ต๎องได๎คะแนนไมนํ ๎อยกวาํ รอ๎ ยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรมตอ๎ งได๎คะแนนไมํน๎อยกวําร๎อยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.5 แบบฝกึ หดั ต๎องได๎คะแนนไมนํ อ๎ ยกวํา ร๎อยละ 60 ผาํ นเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให๎ทบทวนเนื้อหารวมทั้งความสมบูรณ์ของแบบฝึกหัดและ

ใบกจิ กรรม

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน
1. ผลการนาํ เสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทาํ แบบฝึกหัดหนํวยที่ 3
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนํวยท่ี 3

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสอื เรียนวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวติ (20000–1301)
2. เวบ็ ไซต์และสื่อส่งิ พิมพท์ ีเ่ ก่ียวขอ๎ งกับเนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 หนว่ ยที่ 4

ชอื่ วิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชีวติ (20000–1301) เวลาเรียนรวม 54 คาบ
ช่ือหน่วย แรงและการเคลอื่ นที่ สอนครง้ั ที่ 4/18
ชอ่ื เร่ือง แรงและการเคล่ือนท่ี จาํ นวน 3 คาบ

หัวข้อเรอื่ ง ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ผลของแรงทาํ ใหว๎ ัตถุ
4.1 ความหมายของแรง เปลี่ยนรูปทรง
4.2 ชนิดของแรง
4.3 การหาแรงลพั ธ์ ใบกิจกรรมท่ี 4.2 การเขยี นรปู หาแรงลัพธ์
4.4 แรงในธรรมชาติ ใบกจิ กรรมท่ี 4.3 คาํ นวณหาแรงลัพธ์
4.5 แรงเสยี ดทานและการใชป๎ ระโยชน์ ใบกจิ กรรมท่ี 4.4 คาํ นวณหาแรงลัพธ์ของ 2 แรง ท่ที ํา
4.6 การเคลือ่ นทข่ี องวัตถุ
มมุ 90 องศา
ใบกิจกรรมที่ 4.5 คํานวณหาแรงลัพธข์ อง 2 แรง ทท่ี าํ

มมุ 
ใบกจิ กรรมที่ 4.6 การเคลือ่ นทขี่ องวัตถุ
ใบกจิ กรรมท่ี 4.7 คํานวณการเคล่ือนท่ีของวตั ถุ

แนวคดิ สาคญั
แรง เป็นสาเหตุสาํ คัญท่ีทําให๎วัตถุเปลี่ยนขนาดของความเร็ว เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ และทําให๎วัตถุมี

การเปลี่ยนรูปรําง หนํวยวัดของแรงในระบบ SI คือ นิวตัน แรงที่เกิดข้ึนในธรรมชาติมีหลายชนิด ได๎แกํ
แรงโนม๎ ถํวง แรงแมเํ หล็ก แรงไฟฟูา แรงนิวเคลียร์ มนุษย์ได๎นําความร๎ูเกี่ยวกับแรงมาใช๎ ประโยชน์ในด๎านตําง ๆ
เชนํ ด๎านอตุ สาหกรรม ด๎านเกษตรกรรม แรงมผี ลทําใหว๎ ตั ถุเกิดการเคลื่อนทีแ่ บบเลื่อนตําแหนํง แบบหมุน
และแบบส่ัน

สมรรถนะย่อย
แสดงความรูแ๎ ละปฏิบตั เิ กีย่ วกบั แรงและการเคลื่อนท่ี

จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ ดา้ นทักษะ
ดา้ นความรู้ 1. บอกการเปลี่ยนแปลงรปู ทรงของวตั ถุ

1. อธบิ ายความหมายของแรงและผลของแรง เมอ่ื ถูกแรงตําง ๆ กระทาํ
2. อธิบายลักษณะและชนดิ ของแรงพรอ๎ มทง้ั ยกตัวอยาํ ง 2. บอกการเปลย่ี นแปลงรปู ทรงของวตั ถุ
3. หาแรงลัพธ์โดยการเขียนรปู และวิธีการคาํ นวณ
4. ยกตัวอยํางและทดลองแรงในธรรมชาติ เมื่อถูกแรงตําง ๆ กระทํา

ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ

5. อธิบายและคํานวณตัวแปรพื้นฐานที่เก่ียวข๎องกับการ 3. เขียนรูปแบบหางตํอหัวเพ่ือหาคําแรงลพั ธ์

เคลอ่ื นที่ 4. หาแรงลพั ธ์ของแรงทอ่ี ยูํในแนวเดยี วกัน

6. ยกตัวอยํางการนําความรู๎เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ไป 5. หาแรงลัพธ์ของ 2 แรงทที่ ํามุม 90 องศา

ใชป๎ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วนั 6. หาแรงลัพธข์ อง 2 แรงทที่ าํ มุม

7. ระบปุ ระเภทการเคลื่อนท่ีของวตั ถุแบบ

ตําง ๆ

8. คํานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ๎ งกบั การ

เคลอื่ นท่ีของวตั ถุ

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด๎านความสนใจใฝรุ ู๎ การตรงตํอเวลา ความซื่อสัตย์ สจุ ริต ความมนี าํ้ ใจและแบงํ บนั

มีเหตผุ ล รวํ มมือ/ยอมรับความคดิ เห็นสวํ นใหญํ

เนอื้ หาสาระ
4.1 ความหมายของแรง
แรง (Force) คือ อํานาจอยํางหนึ่งที่พยายามทําให๎วัตถุเปล่ียนสภาพการเคล่ือนท่ี เปลี่ยนขนาด

และรูปรํางของวัตถุได๎ ผลของแรงทําให๎เกิดการเปลี่ยนแปลงตํอวัตถุที่ถูกกระทําดังตํอไปน้ี เชํน วัตถุที่อยํูนิ่งเกิด
การเคลื่อนที่ วัตถุท่ีกําลังเคล่ือนท่ีมีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือลดลง เปลี่ยนทิศทาง หรือทําให๎วัตถุเปลี่ยนรูปรํางอาจ
เห็นชัดเจน หรือไมํชดั เจน

4.2 ชนิดของแรง
การแบํงชนิดของแรงโดยอาศัยลักษณะของแรงที่มากระทําประกอบกับการเปลี่ยนรูปรํางของวัตถุ

เปน็ เกณฑ์ แบํงไดค๎ ือ แรงดงึ แรงอดั หรือแรงกด แรงบิด แรงเฉอื น
4.3 การหาแรงลพั ธ์
แรงจดั เปน็ ปรมิ าณเวกเตอรม์ ีท้ังขนาดและทิศทาง แรงหลายแรงสามารถรวมกันได๎ให๎เหลือเพียงแรง

เดยี ว เรียกวํา แรงลัพธ์ การหาแรงลพั ธ์ทําได๎ 2 วิธี ไดแ๎ กํ วธิ ีการสรา๎ งรูป และวธิ ีคํานวณ
4.4 แรงในธรรมชาติ
ในธรรมชาติแรงท่ีกระทําตํอสิ่งตําง ๆ รอบตัวน้ัน แบํงได๎ 4 ชนิด คือ แรงโน๎มถํวงของโลก

(Gravitation Force) แรงแมํเหล็ก (Magnetic Force) แรงไฟฟูาสถิติ (Electrostatic Force) และแรง
นิวเคลียร์ (Nuclear Force)

4.5 แรงเสียดทานและการใช๎ประโยชน์
แรงเสียดทาน หมายถงึ แรงที่เกดิ ระหวาํ งผิวสัมผสั ของวตั ถุ เปน็ แรงต๎านการเคล่ือนที่ของวัตถุ มีทิศ

ตรงขา๎ มกับทศิ การเคล่อื นทข่ี องวัตถเุ สมอ
4.6 การเคล่อื นที่ของวตั ถุ
ลักษณะการเคล่ือนที่ของวัตถุ แบํงได๎ 3 ลักษณะ ได๎แกํ การเคลื่อนที่แบบเล่ือนตําแหนํง

การเคลื่อนที่แบบหมนุ และการเคล่ือนที่แบบส่ัน
การเคลื่อนที่มีปริมาณตําง ๆ ที่เกี่ยวข๎องคือ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว ความเรํง

เวลา

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 4/18, คาบท่ี 10-12/54)
1. เตรียมความพร๎อมในการเรียน โดยการเรียกช่ือ สํารวจการแตํงกาย พร๎อมทั้งบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมวี ินัยและความรบั ผิดชอบ
2. ขน้ั นําเข๎าสบํู ทเรยี น
2.1 ครูฉายภาพรถยนต์ที่อยํูในสภาพปกติกับภาพรถยนต์ท่ีถูกชนพังยับท้ังคันให๎นักเรียนดู แล๎ว

ถามนกั เรียนวาํ ภาพท้งั สองตํางกันอยํางไรและรํวมกันอภิปรายจนได๎ข๎อสรุปวํารถยนต์คันท่ีพังยับทั้งคันเนื่องจาก
มีแรงมากระทาํ จากการชนกัน

2.2 ครูแจ๎งจุดประสงค์การเรียนร๎ูและให๎นักเรียนทําแบบทดสอบกํอนเรียน หนํวยที่ 4 แรงและ
การเคลื่อนที่ โดยเน๎นใหท๎ ําด๎วยความซื่อสตั ย์ ไมํลอกคาํ ตอบของผอ๎ู ืน่

3. ขัน้ สอน
3.1 นักเรยี นจดั กลุมํ กลุมํ ละ 4-5 คน คละเพศ และความสามารถ
3.2 นักเรียนแตลํ ะกลํมุ ศกึ ษา เร่ือง ความหมายของแรงและทาํ กจิ กรรมที่ 4.1 เรื่อง ผลของแรงทํา

ให๎วัตถุเปลี่ยนรูปทรง โดยเน๎นให๎นักเรียนรํวมมือกันทํางาน แสดงความคิดเห็นกันภายในกลุํมและยอมรับฟัง
ความคดิ เหน็ ของกลํมุ

3.3 ขณะนักเรียนทํากิจกรรม ครูสังเกตการณ์ทํากิจกรรมกลํุมโดยใช๎แบบสังเกต การปฏิบัติ
กจิ กรรมกลํุม

3.4 ครูและนักเรียนรํวมกันสรุปกิจกรรมที่ทําจากน้ันครูให๎ความร๎ูเรื่อง ชนิดของแรง การหา
แรงลพั ธ์ แรงในธรรมชาติ โดยใช๎สอื่ PowerPoint ประกอบการอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็

3.5 ครใู หน๎ ักเรียนทาํ ใบกจิ กรรมท่ี 4.2-4.5
3.6 ครแู ละนกั เรียนรวํ มสรปุ กจิ กรรมโดยใช๎คําถามในใบกิจกรรม ประกอบในการสรปุ ผล
3.7 ครูและนักเรียนรํวมกันอภิปรายเกี่ยวกับแรงเสียดทานและการนําไปใช๎ประโยชน์
การเคล่อื นทีข่ องวตั ถุ ตามรายละเอยี ดในเอกสารประกอบการสอน โดยใชส๎ อื่ PowerPoint ประกอบ
3.8 นกั เรียนทําใบกิจกรรมที่ 4.6-4.7

4. ขั้นสรปุ
4.1 นักเรียนแตํละกลุมํ สรปุ บทเรียน โดยการเขียนเป็นแผนท่ีความคดิ
4.2 นักเรียนทําแบบฝกึ หัดท๎ายบทหนวํ ยท่ี 4
4.3 นักเรยี นทําแบบทดสอบหลงั เรียนหนํวยที่ 4

สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้
1. สอื่ การเรียนรู๎ หนังสอื เรยี น หนํวยท่ี 4 เร่ือง แรงและการเคลอ่ื นที่ ใบกิจกรรมที่ 4.1-4.7 แบบฝึกหัด

หนํวยที่ 4 และแบบทดสอบกํอนเรียนและหลงั เรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลํงการเรียนรู๎ หนังสือ วารสาร เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอินเทอร์เน็ต

www.google.com

การวัดและการประเมินผล
1. การวดั ผลและการประเมินผล
1.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ตอ๎ งได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา ร๎อยละ

70 ผาํ นเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช๎แบบทดสอบกํอนเรียนและหลังเรียน
1.3 สังเกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลํมุ โดยใชแ๎ บบประเมินผล การปฏิบตั กิ จิ กรรมกลมุํ
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝกึ หัด

2. เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบต๎องได๎คะแนน ไมํน๎อยกวํา

ร๎อยละ 70 ผาํ นเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ตอ๎ งได๎คะแนนไมํนอ๎ ยกวาํ ร๎อยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลํุม ตอ๎ งไดค๎ ะแนนไมนํ ๎อยกวําร๎อยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.4 ใบกิจกรรม ตอ๎ งไดค๎ ะแนนไมํน๎อยกวํารอ๎ ยละ 60 ผาํ นเกณฑ์
2.5 แบบฝกึ หัด ต๎องไดค๎ ะแนนไมนํ ๎อยกวํารอ๎ ยละ 60 ผาํ นเกณฑ์

งานทีม่ อบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให๎ทบทวนเน้ือหารวมทั้งความสมบูรณ์ของแบบฝึกหัดและ

ใบกิจกรรม
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน

1. ผลการนําเสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทาํ แบบฝกึ หดั หนํวยท่ี 4
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนวํ ยที่ 4

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสอื เรียนวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวติ (20000–1301)
2. เวบ็ ไซต์และสือ่ ส่งิ พิมพท์ ีเ่ ก่ียวขอ๎ งกับเนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 หนว่ ยท่ี 5
ชอื่ วิชา วทิ ยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต (20000–1301) เวลาเรียนรวม 54 คาบ
ชอ่ื หน่วย โครงสร๎างอะตอมและตารางธาตุ สอนครัง้ ที่ 5–7/18
ชอื่ เรอื่ ง โครงสร๎างอะตอมและตารางธาตุ จาํ นวน 9 คาบ

หัวข้อเรือ่ ง ใบกิจกรรมที่ 5.1 กลํองปริศนา
5.1 การพัฒนาแบบจาํ ลองอะตอม ใบกจิ กรรมที่ 5.2 แบบจาํ ลองอะตอม
5.2 อนุภาคมลู ฐานของอะตอม ใบกจิ กรรมที่ 5.3 อนภุ าคมูลฐานของอะตอม
5.3 สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์
5.4 ไอโซโทป ไอโซบาร์ และไอโซโทน และสัญลกั ษณข์ องนวิ เคลียร์
5.5 การจดั เรียงอเิ ล็กตรอนในอะตอม ใบกจิ กรรมท่ี 5.4 ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์
5.6 ธาตแุ ละสัญลักษณ์ธาตุ ใบกจิ กรรมท่ี 5.5 การจัดเรยี งอิเลก็ ตรอน
5.7 ตารางธาตุ ใบกิจกรรมที่ 5.6 สัญลักษณธ์ าตุ
ใบกจิ กรรมที่ 5.7 สมบตั ิของธาตใุ นตารางธาตุ
ใบกิจกรรมที่ 5.8 ความสัมพันธ์ของหมแํู ละคาบกับ

การจัดเรยี งอเิ ล็กตรอน

แนวคิดสาคญั
อะตอม เป็นอนุภาคที่เล็กมองไมํเห็นด๎วยตาเปลํา การศึกษาโครงสร๎างอะตอมนักวิทยาศาสตร์ต๎องสร๎าง

แบบจําลองอะตอม และตั้งทฤษฎีข้ึนมาเพื่อใช๎อธิบายปรากฏการณ์ตําง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจากการทดลอง แบบจําลอง
อะตอมมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตลอด เนื่องจากมีการทดลองค๎นพบส่ิงใหมํ ๆ ที่เกิดข้ึนในอะตอม และ
แบบจําลองอะตอมเดิมไมํสามารถใช๎อธิบายได๎ นักวิทยาศาสตร์จึงต๎องสร๎างแบบจําลองอะตอมขึ้นใหมํเพ่ือใช๎
อธิบาย อยาํ งไรกต็ ามปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์พบวําในอะตอมจะมีอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน
และอเิ ลก็ ตรอน โปรตอนและนิวตรอนจะอยูํตรงกลางอะตอมเรียกวํานิวเคลียส สํวนอิเล็กตรอนจะเคล่ือนที่รอบ
นิวเคลียสเป็นช้ัน แตํละชั้นจะมีจํานวนอิเล็กตรอนไมํเทํากัน จํานวนอิเล็กตรอนสูงสุดในแตํละช้ันหาได๎จากสูตร
2n2 และจํานวนอิเล็กตรอนวงนอกสุดมไี ดไ๎ มเํ กนิ 8 อิเลก็ ตรอน การจัดเรียงอิเล็กตรอนในแตํละช้ันจะสัมพันธ์กับ
หมูํและคาบในตารางธาตุ ซึง่ ปจั จบุ ันตารางธาตแุ บงํ ออกเปน็ 8 หมูํ 7 คาบ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรแู๎ ละปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั โครงสรา๎ งอะตอมและตารางธาตุ

จุดประสงค์การปฏิบัติ

ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ

1. ระบแุ บบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร์สมยั ตาํ ง ๆ 1. ใช๎ทกั ษะการสงั เกตและลงความเห็น
และวธิ ีทดลองของนักวทิ ยาศาสตรท์ ี่ค๎นพบอิเลก็ ตรอน จากขอ๎ มลู ทไ่ี ดจ๎ ากการสังเกต
2. อธิบายชนดิ และสมบัติของอนุภาคมลู ฐานในอะตอมและ
อธบิ ายความหมายของเลขอะตอม และมวลอะตอม 2. วาดภาพวัตถทุ อี่ ยํูภายในกลอํ งตาม
3. บอกจาํ นวนอนภุ าคมูลฐานของอะตอม เมอ่ื ทราบเลข จินตนาการ
อะตอมและมวลอะตอมของธาตุ
4. เขยี นสญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์ เม่อื ทราบเลขอะตอมและเลข 4. อธบิ ายลักษณะสําคัญของแบบจาํ ลอง
มวลของธาตุ อะตอม
5. ระบุอนุภาคมูลฐานของอะตอมไดเ๎ ม่ือทราบสัญลกั ษณ์
นิวเคลยี ร์ 5. ระบรุ ปู ภาพแบบจําลองอะตอมแตํ
ละแบบ

6. บอกจํานวนอนภุ าคมลู ฐาน เม่อื ทราบ

6. อธิบายความหมายของไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ เลขอะตอมและเลขมวลของธาตุ

และระบธุ าตุทเ่ี ป็นไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ 7. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุได๎

7. นาํ ประโยชน์ของไอโซโทปไปใช๎ในงานตาํ ง ๆ เมื่อทราบเลขอะตอมและเลขมวล

8. บอกสตู รที่ใชแ๎ ละคํานวณจาํ นวนอิเลก็ ตรอนสงู สุดในแตลํ ะ 8. อธิบายความหมายของไอโซโทป
ระดับพลังงาน ไอโซโทน และไอโซบาร์
9. จัดเรยี งอิเล็กตรอนและบอกจํานวนเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน
ของธาตุ เม่ือทราบเลขอะตอมของธาตุ 9. ระบุธาตุที่เป็นไอโซโทป ไอโซโทน

10. ระบุช่ือนักวิทยาศาสตร์ท่ีเสนอสัญลักษณ์ของธาตุโดยใช๎ และไอโซบาร์
10. จดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนและบอกจาํ นวน
รปู ภาพและอกั ษรยอํ

11. เขียนสัญลักษณ์ของธาตุและอธิบายการจัดตารางธาตุใน เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนของธาตุ เมือ่ ทราบ

ปจั จบุ นั เลขอะตอมของธาตุ

12. ระบุตําแหนํงท่ีอยูํในตารางธาตุ เมื่อทราบเลขอะตอม 11. เขยี นสัญลักษณ์ธาตุที่กาํ หนดให๎

ของธาตุ 12. ระบุความสัมพนั ธข์ องหมํูและคาบกบั

13. ระบุความสัมพันธ์ของการจัดเรียงอิเล็กตรอนกับหมูํและ การจดั เรยี งอิเล็กตรอน
คาบของตารางธาตุ

14. บอกสมบัติของธาตทุ ่อี ยํใู นหมหํู รอื คาบเดยี วกนั

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา๎ นการตรงตํอเวลา ความสนใจใฝุรู๎ ไมหํ ยดนิ่งท่ีจะแกป๎ ัญหา ความซ่ือสตั ย์ ความรํวมมอื

ใชอ๎ ปุ กรณ์ทดลองอยํางฉลาดและรอบคอบ

เนอ้ื หาสาระ
5.1 การพัฒนาแบบจาํ ลองอะตอม
อะตอม เป็นอนุภาคท่ีเล็กมองไมํเห็นด๎วยตาเปลํา การศึกษาโครงสร๎างอะตอมนักวิทยาศาสตร์ต๎อง

สร๎างแบบจําลองอะตอม และตั้งทฤษฎีขึ้นมาเพ่ือใช๎อธิบายปรากฏการณ์ตําง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจากการทดลอง
แบบจาํ ลองอะตอมมีการพฒั นาเปลีย่ นแปลงไปตลอด เนื่องจากมีการทดลองค๎นพบสิ่งใหมํ ๆ ที่เกิดข้ึนในอะตอม
และแบบจาํ ลองอะตอมเดิมไมํสามารถใช๎อธบิ ายได๎ นักวทิ ยาศาสตรจ์ งึ ต๎องสร๎างแบบจําลองอะตอมขึ้นใหมํเพ่ือใช๎
อธบิ าย

5.2 อนุภาคมลู ฐานของอะตอม
ในปี ค.ศ.1932 (พ.ศ.2475) เจมส์ แซดวิก นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได๎ทําการทดลอง

ยิงอนุภาคแอลฟาไปยังธาตุตําง ๆ และพบอนุภาคท่ีเป็นกลางทางไฟฟูาอยํูในนิวเคลียส และเรียกช่ือวํา
“นิวตรอน” การค๎นพบนิวตรอนทําให๎ความรู๎เกี่ยวกับนิวเคลียสของอะตอมกระจํางข้ึน ทําให๎ทราบวํา อะตอม
ประกอบด๎วยอนุภาค 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน และเรียกอนุภาคท้ังสามชนิดน้ีวํา
“อนภุ าคมลู ฐานของอะตอม”

5.3 สัญลักษณ์นิวเคลยี ร์
สญั ลักษณน์ ิวเคลยี ร์เป็นสญั ลักษณ์ท่ีเขียนข้ึน เพ่ือให๎รายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนโปรตอน นิวตรอน

และอิเล็กตรอน การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์จะต๎องระบุเลขอะตอมไว๎ตรงมุมลํางซ๎าย และระบุเลขมวลไว๎ท่ีมุม
บนซา๎ ยของสัญลกั ษณด์ งั น้ี

เลขมวล สญั ลกั ษณข์ องธาตใุ ด ๆ
เลขอะตอม

เมื่อ X แทน สัญลกั ษณข์ องธาตใุ ด ๆ

A แทน เลขมวล (= โปรตอน + นวิ ตรอน)

Z แทน เลขอะตอม (= โปรตอน = อิเลก็ ตรอน)

ดงั น้นั จาํ นวนนิวตรอน = A – Z (เลขมวล – เลขอะตอม)

5.4 ไอโซโทป ไอโซบาร์ และไอโซโทน

นักวิทยาศาสตร์เรียกอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทํากันแตํมีเลขมวลตํางกันวํา

ไอโซโทป เชํน ไฮโดรเจน มี 3 ไอโซโทป คอื 1 H
1

ไอโซโทน หมายถงึ อะตอมของธาตตุ ํางชนิดกนั แตํมจี ํานวนนิวตรอนเทํากนั เชํน

K39 กับ 40 Ca และไอโซบาร์ หมายถึง อะตอมของธาตุตํางชนิดกันท่ีมีเลขมวลเทํากัน แตํเลขอะตอมตํางกัน
20
19

เชํน 14 C กบั 14 N
6 7

5.5 การจดั เรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
แบบจําลองอะตอมของนีลส์ โบร์ อิเล็กตรอนท่ีเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียสในแตํละระดับพลังงาน

จะมีจํานวนไมํเทํากัน โดยพบวํา ระดับพลังงานท่ีอยูํใกล๎นิวเคลียสที่สุด (n = 1) อิเล็กตรอนจะมีพลังงานตํ่าสุด
สํวนอิเล็กตรอนทีห่ ํางนวิ เคลยี สมากทสี่ ดุ จะมีพลงั งานสูงสุด

5.6 ธาตุและสัญลักษณธ์ าตุ
5.7 ตารางธาตุ

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 5/18, คาบที่ 13-15/54)
1. เตรยี มความพรอ๎ มในการเรียน โดยการเรียกชื่อ สํารวจการแตํงกาย พร๎อมทั้งบันทึกลงในแบบสังเกต

ความมีวนิ ัยและความรับผดิ ชอบ
2. ขนั้ นาํ เข๎าสบูํ ทเรยี น
2.1 ครฉู ายภาพดิโมครติ ุส นักปราชญ์ชาวกรีกให๎นักเรียนดูแล๎วสนทนา เร่ือง ความเช่ือของคนใน

สมัยโบราณเกี่ยวกับอะตอมวํา เป็นส่ิงท่ีเล็กที่สุดไมํสามารถแบํงแยกได๎ แตํปัจจุบันความคิดดังกลําวเปลี่ยนไป
แล๎วจากนัน้ โยงเขา๎ สกํู ารเรียนเกีย่ วกบั โครงสร๎างอะตอม

2.2 แจ๎งจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู๎ ข๎อ 1-5 ใหน๎ ักเรียนทราบ และใหท๎ ําแบบทดสอบกํอนเรียน เน๎นให๎
ทําด๎วยความซ่ือสัตย์

3. ข้ันสอน
3.1 นกั เรยี นจัดกลมํุ กลุมํ ละ 4-5 คน คละเพศ และความสามารถ
3.2 ครูให๎นักเรียนทํากิจกรรม ใบกิจกรรมท่ี 5.1 เรือง กลํองปริศนา โดยเน๎นให๎นักเรียนทํา

กจิ กรรมดว๎ ยความซือ่ สตั ยห์ ๎ามเปิดดภู ายในกลอํ ง
3.3 นักเรียนตัวแทนกลุํมนําเสนอผลการทํากิจกรรมและรํวมกันอภิปรายกับครูผ๎ูสอน โดยครูใช๎

คําถามในกิจกรรมประกอบในการอภิปรายเพื่อให๎ได๎ข๎อสรุปวํา การศึกษาส่ิงท่ีมองไมํเห็นด๎วยตาเปลํา ถ๎ามี
เคร่ืองมอื หรอื อุปกรณ์ตาํ ง ๆ มาใชป๎ ระกอบในการศึกษาค๎นคว๎าจะทาํ ให๎ไดข๎ ๎อสรปุ ทใี่ กลเ๎ คียงความจริงมากทส่ี ุด

3.4 ครูให๎ความรู๎ เรื่อง แบบจําลองอะตอมของดอลตัน แบบจําลองอะตอมของ ทอมสัน
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด แบบจําลองอะตอมของนีลส์โบร์ และแบบจําลองอะตอมแบบกลํุมหมอก
และอนุภาคมลู ฐานของอะตอม และสญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ โดยใช๎ส่อื PowerPoint

3.5 ครใู หน๎ กั เรียนแตลํ ะกลํมุ ทาํ ใบกจิ กรรมที่ 5.1-5.3 ครูทําหน๎าท่ีสังเกตและให๎ข๎อแนะนําการทํา
กจิ กรรม

4 . ขน้ั สรปุ
ครแู ละนกั เรียนรวํ มกันอภิปรายสรุปผลการทํากิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 5.1–5.3 เพื่อสรุปเน้ือหาที่

เรียน และมอบหมายให๎ทําแบบฝึกหัดทา๎ ยบทข๎อ 1–6 เป็นการบ๎าน