เฉลยวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ปวช 2

อา้ งอิงจาก Kentucky Department of Education, 1998 “How to Develop a Standard-Based Unit of Study” p3.

สดุ ยอดคู่มือครู 19

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เปน็ ทางเลอื กอกี ทางหนงึ่ ส�ำหรบั การวดั และการประเมนิ ผลซงึ่ เขา้ มามบี ทบาททดแทน
แบบทดสอบมาตรฐานซึ่งส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบเลือกตอบท่ีไม่สามารถวัดและประเมินผลความรู้และทักษะได้
ลักษณะส�ำคญั ของการประเมินตามสภาพจริงมอี งค์ประกอบส�ำคญั ดังน้ี
1. เป็นงานปฏิบัติที่มีความหมาย (Meaningful Task) งานท่ีให้ผู้เรียนปฏิบัติต้องเป็นงานที่สอดคล้อง
กบั ชวี ิตประจ�ำวนั เป็นเหตุการณจ์ รงิ มากกวา่ กจิ กรรมทจี่ �ำลองขน้ึ เพอ่ื ใช้ในการทดสอบ
2. เปน็ การประเมนิ รอบดา้ นดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย(MultipleAssessment)เปน็ การประเมนิ ผเู้ รยี นทกุ ดา้ น
ทงั้ ความรู้ความสามารถและทกั ษะตลอดจนคณุ ลกั ษณะนสิ ยั โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ทเี่ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั วธิ แี หง่ การเรยี นรู้
และพัฒนาการของผเู้ รยี น เน้นใหผ้ ้เู รียนตอบสนองดว้ ยการแสดงออก สร้างสรรค์ ผลิต หรอื ท�ำงาน ในการประเมิน
ของผู้สอนจึงต้องประเมินหลายๆ คร้ัง ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและเหมาะสม เน้นการลงมือปฏิบัติมากกว่า
การประเมินดา้ นองคค์ วามรู้
3. ผลผลิตมีคุณภาพ (Quality Products) ผู้เรียนจะมีการประเมินตนเองตลอดเวลาและพยายามแก้ไข
จุดด้อยของตนเอง จนกระทั่งได้ผลงานที่ผลิตข้ึนอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในผลงานของตนเอง
มีการแสดงผลงานของผู้เรียนต่อสาธารณชนเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อ่ืนได้เรียนรู้และชื่นชม จากการจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอน ผเู้ รยี นมโี อกาสเลอื กปฏบิ ตั งิ านไดต้ ามความพงึ พอใจ นอกจากนย้ี งั จ�ำเปน็ ตอ้ งมมี าตรฐานของงาน
หรือสภาพความส�ำเร็จของงานที่เกิดจากการก�ำหนดร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เรียน และอาจรวมถึงผู้ปกครองด้วย
มาตรฐานหรอื สภาพความส�ำเร็จดังกล่าวจะเปน็ ส่ิงทช่ี ว่ ยบง่ บอกว่างานของผเู้ รยี นมคี ุณภาพอยใู่ นระดับใด
4. ใช้ความคิดระดับสงู (Higher-Order Thinking) ในการประเมินตามสภาพจริง ผสู้ อนตอ้ งพยายามให้
ผู้เรียนแสดงออกหรือผลิตผลงานขึ้นมา ซ่ึงเป็นผลงานท่ีเกิดจากการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินทางเลือก
ลงมอื กระท�ำ ตลอดจนการใชท้ กั ษะการแกป้ ญั หาเมอ่ื พบปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ซง่ึ ตอ้ งใชค้ วามสามารถในการคดิ ระดบั สงู
5. มปี ฏิสัมพันธ์ทางบวก (Positive Interaction) ผเู้ รียนตอ้ งไม่รสู้ ึกเครยี ดหรอื เบือ่ หนา่ ยตอ่ การประเมนิ
ผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เรียนต้องมีความร่วมมือท่ีดีต่อกันในการประเมิน และการใช้ผลการประเมินแก้ไข
ปรบั ปรงุ ผู้เรยี น
6. งานและมาตรฐานต้องชดั เจน (Clear Tasks and Standard) งานและกิจกรรมทจ่ี ะให้ผเู้ รียนปฏิบัติ
มขี อบเขตชัดเจน สอดคล้องกับจดุ หมายหรอื สภาพทค่ี าดหวงั ความต้องการท่ีใหเ้ กิดพฤติกรรมดังกล่าว
7. มีการสะท้อนตนเอง (Self-Reflections) ตอ้ งมีการเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นแสดงความร้สู กึ ความคดิ เหน็
หรือเหตุผลต่อการแสดงออก การกระท�ำหรือผลงานของตนเองว่าท�ำไมถึงปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ ท�ำไมถึงชอบ
และไม่ชอบ
8. มคี วามสมั พนั ธก์ บั ชวี ติ จรงิ (Transfer into Life) ปญั หาทเี่ ปน็ สง่ิ เรา้ ใหผ้ เู้ รยี นไดต้ อบสนองตอ้ งเปน็ ปญั หา
ทสี่ อดคลอ้ งกบั ชวี ติ ประจ�ำวนั พฤตกิ รรมทป่ี ระเมนิ ตอ้ งเปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในชวี ติ ประจ�ำวนั ทง้ั ทสี่ ถานศกึ ษา
และท่บี า้ น ดังนั้นผู้ปกครองผูเ้ รยี นจึงนับวา่ มีบทบาทเป็นอยา่ งยง่ิ ในการประเมนิ ตามสภาพจรงิ
9. เปน็ การประเมนิ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง (Ongoing or Formative) ตอ้ งประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลา
และทกุ สถานท่ีอยา่ งไม่เป็นทางการ ซง่ึ จะท�ำใหเ้ ห็นพฤติกรรมทแ่ี ทจ้ รงิ เห็นพัฒนาการ คน้ พบจุดเด่นและจดุ ดอ้ ย
ของผเู้ รียน
10. เปน็ การบรู ณาการความรู้(IntegrationofKnowledge)งานทใี่ หผ้ เู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ตั นิ น้ั ควรเปน็ งานทต่ี อ้ งใช้
ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะทเี่ กดิ จากการเรยี นรใู้ นหลายสาขาวชิ า ลกั ษณะส�ำคญั ดงั กลา่ วจะชว่ ยแกไ้ ขจดุ ออ่ นของ
การจดั การเรยี นรแู้ ละการประเมนิ ผลแบบเดมิ ทพี่ ยายามแยกยอ่ ยจดุ ประสงคอ์ อกเปน็ สว่ นๆ และประเมนิ ผลเปน็ เรอื่ งๆ
ดงั นน้ั ผเู้ รยี นจงึ ขาดโอกาสทจ่ี ะบรู ณาการความรแู้ ละทกั ษะจากวชิ าตา่ งๆ เพอ่ื ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านหรอื แกป้ ญั หาทพี่ บ
ซ่ึงสอดคล้องกับชีวิตประจ�ำวัน หรือปัญหาน้ันต้องใส่ความรู้ ความสามารถ และทักษะจากหลายๆ วิชามาช่วย
ในการท�ำงานหรอื แกไ้ ขปญั หา

20 สุดยอดคมู่ ือครู

1.4 คำ� แนะนำ� ในการนำ� คมู่ ือครูไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 21

ส่วนประกอบของคมู่ อื ครู
คู่มอื ครูมอี งค์ประกอบสำ�คัญ 3 ส่วน ดงั น้ี
ส่วนท่ี 1 กระบวนการจดั การเรียนการสอนส�ำ หรบั ครู คือสว่ นท่ีน�ำ เสนอในเอกสารฉบับนี้ ประกอบดว้ ย
สาระสำ�คัญ 3 รายการ คือ
1. รูปแบบ เทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ คู่มือครูฉบับน้ีนำ�เสนอ “กระบวนการจัดการเรียนรู้
แต่ละหน่วยการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps” แต่ละ Steps นำ�เสนอขั้นตอน/วิธีดำ�เนิน
กิจกรรมสำ�คัญที่เป็นหัวใจสำ�คัญของการจัดการเรียนรู้แต่ละข้ันตอนท่ีเน้นการเรียนรู้ตามแนวคิด “ผู้เรียนร่วมกัน
สร้างความรู้ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์และลงมือปฏิบัติ นำ�ความรู้ไปใช้ผลิตผลงานและตรวจสอบตนเอง”
โดยยดึ เน้ือหาในหน่วยการเรยี นรทู้ ก่ี ำ�หนดในหนงั สอื เรยี นเปน็ หลกั

ถ้าหนังสือเรียนหน่วยการเรียนรู้ใดมีเน้ือหาสาระที่จัดให้เรียนรู้ในหลายความคิดรวบยอดแตกต่างกัน
หรือจำ�นวนหัวเรื่องมากจนไม่สามารถใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ให้ครอบคลุมหัวเรื่องทั้งหมด
ในหนว่ ยการเรยี นรูน้ ั้นได้ จะจัดดำ�เนินการออกแบบการเรยี นรูแ้ ยกเป็นเร่อื งๆ 2 หรอื 3 เรอื่ ง เพื่อใช้กระบวนการ
GPAS 5 Steps ใหจ้ บเนือ้ หานนั้ ตามความแตกตา่ งของความคดิ รวบยอดหรือหัวขอ้ เรอื่ ง แตจ่ ะรวมการประเมินไว้
ในหน่วยการเรียนรู้เดียวกันตามต้นฉบับหนังสือเรียน เพ่ือไม่ให้สับสนในการประเมินจุดประสงค์ประจำ�หน่วย
การเรียนรู้ ดังรายละเอียดในเอกสาร
2. การบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทุกหน่วยการเรียนรู้ได้นำ�เสนอ “การบูรณาการกิจกรรม
การเรียนรู้” ไว้ต่อจากคำ�แนะนำ�ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ หรือหากเน้ือหา
ในหน่วยการเรียนรู้ถูกแบ่งกลุ่มหัวข้อเนื้อหาเป็นหลายเร่ืองเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
แยกจากกัน ก็ให้มีการนำ�เสนอ “การบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้” ทุกหัวข้อเรื่อง กิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้
มีหวั ขอ้ สำ�คัญดงั น้ี
2.1 สมรรถนะผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 ไดแ้ ก่ ความตระหนักรู้ในตน (Personal Spirit) การคดิ (Thinking)
การแกป้ ญั หา (Problem Solving) การท�ำ งานเปน็ ทมี (Team) การสอื่ สาร (Communication) และอนื่ ๆ ซง่ึ จดั บรู ณาการ
เข้าไปในกระบวนการจัดกิจกรรมแต่ละข้ันตอน เช่น การให้ผู้เรียนทำ�งานและเรียนรู้เป็นกลุ่ม ผลัดเปลี่ยนกัน
แบง่ บทบาทหนา้ ทใ่ี หร้ บั ผดิ ชอบในกลมุ่ เรยี นรรู้ ว่ มกนั คดิ วเิ คราะห์ แกป้ ญั หา และประเมนิ ตนเอง ซงึ่ จดั ไวใ้ นกจิ กรรม
การเรียนรู้ทุกหน่วยการเรยี นร้แู ล้ว
2.2 การเรยี นรสู้ อู่ าเซยี น สว่ นใหญเ่ นน้ ไปทกี่ ารบรู ณาการค�ำ ศพั ทภ์ าษาองั กฤษเกย่ี วกบั เนอ้ื หาทก่ี �ำ หนดให้
ในหนว่ ยการเรยี นรู้ ช่วยให้ผเู้ รียนไดเ้ พิม่ พูนความรูภ้ าษาอังกฤษ และมเี จตคติท่ีดีตอ่ การสอื่ สารด้วยภาษาอังกฤษ
ซง่ึ เปน็ ภาษากลางทใ่ี ชส้ อื่ สารในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น และอาจจดั ใหศ้ กึ ษาภมู ปิ ระเทศ ภมู ปิ ญั ญา ศลิ ปะ วฒั นธรรม
การปกครอง และงานอาชพี ของประเทศในอาเซยี น ในประเดน็ ทีส่ อดคลอ้ งกับเน้ือหาในหนว่ ยการเรียนรูน้ น้ั ๆ
2.3 ทกั ษะชวี ติ เปน็ การบรู ณาการทงั้ ความรใู้ นสาระทเ่ี รยี น ทกั ษะและคา่ นยิ มไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ จรงิ
หรือสถานการณ์จำ�ลองในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต
และพัฒนาธุรกิจให้ประสบความสำ�เร็จ ได้แก่ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ การรู้จักตนเองและเรียนรู้ผู้อื่น การคิด
แก้ปัญหาและตัดสินใจเชิงบวก ซึ่งช่วยพัฒนาด้วยจิตปัญญาให้ผู้เรียนเฉพาะส่วนที่สอดคล้องกับเนื้อหาในหน่วย
การเรียนรู้
2.4 ค่านยิ มหลัก 12 ประการ เนน้ การปลูกฝงั จริยธรรมค่านิยมท่ดี งี ามตามลกั ษณะท่ีดีของคนไทย โดย
เลอื กมาใชแ้ ตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรดู้ ว้ ยการใหผ้ เู้ รยี นไดต้ ระหนกั ถงึ จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทเ่ี ลอื กมาก�ำ หนดในกระบวนการ
จดั กิจกรรมท่สี ัมพันธ์กบั เนื้อหาในหนว่ ยการเรยี นรู้ที่เรียนและกระบวนการเรียนรูท้ กุ ขนั้ ตอน

สดุ ยอดคมู่ ือครู

2.5 กิจกรรมท้าทาย เป็นกิจกรรมเสริมความถนัด ความสนใจของผู้เรียนที่เพิ่มเติมจากกิจกรรมใน
หนว่ ยการเรยี นรู้ ซงึ่ อาจท�ำ เปน็ กลมุ่ หรอื รายบคุ คลกไ็ ด้ กจิ กรรมทา้ ทายจะเปน็ สว่ นเตมิ เตม็ ความรทู้ กั ษะของผเู้ รยี น
เสริมสร้างสมรรถนะให้สูงขึ้นต่อเน่ืองจากกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ ผู้เรียนท่ีสนใจสามารถใช้เวลานอกหน่วย
การเรียนร้ปู ฏบิ ตั ิกจิ กรรมนีด้ ว้ ยความรับผิดชอบของตน
3. แผนการประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้และสมรรถนะประจำ�หน่วย เป็นส่วนท่ีออกแบบไว้สำ�หรับ
ผู้สอนใช้ในการประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เน้นการประเมินสภาพจริง (Authentic
Assessment) โดยนำ�เอาภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนท่ีปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ตามขั้นตอน
ของกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ท่ีสอดคล้องสัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้
แต่ละหน่วยมากำ�หนดระดับคุณภาพหรือคะแนนในภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียนแต่ละเรื่องตามที่
ออกแบบไว้ เพ่ือสรปุ ผลการประเมนิ ในหนว่ ยการเรยี นร้นู ัน้ ดงั นี้
3.1 ภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนระหว่างเรียน ได้แก่ ภาระงานในการรวบรวมข้อมูล
(G; Gathering) การวิเคราะห์ขอ้ มูลสรปุ ความร้คู วามเขา้ ใจ (P; Processing และ A; Applying and Constructing
Knowledge) การนำ�เสนอผลการนำ�ไปใช้และสรุปความรู้ความเข้าใจ (A; Applying the Communication Skill)
ท่ีเกิดข้ึนในระหว่างปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละข้ันตอน ส่วนใหญ่เป็นการประเมินเชิงคุณภาพจัดระดับคุณภาพไว้
4 ระดับ คอื ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) และตอ้ งปรับปรุง (1) และอาจให้คา่ น้ําหนกั แตล่ ะรายการคิดเป็นคะแนน ทงั้ น้ี
ขึ้นอยกู่ บั ผสู้ อนจะพิจารณาเพ่มิ เติมให้เหมาะสมกบั บรบิ ทของการจัดการเรยี นรู้
3.2 ภาระงาน/ช้ินงานรวบยอดเม่ือจบหน่วยการเรียนรู้ อยู่ในขั้นการประเมินตนเองเพ่ือเพิ่มคุณค่า
บรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (S; Self-Regulating) ได้แก่ คะแนนจากผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ
คะแนนจากผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ คะแนนจากผลการประเมนิ ตนเอง และคะแนนจากแบบทดสอบ
(ศึกษาเอกสารในเลม่ ประกอบ)
ส่วนที่ 2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ระดับหน่วยการเรียนรู้ ในส่วนน้ีได้นำ�กระบวนการจัด
การเรียนรู้สำ�หรับผู้สอน ในส่วนท่ี 1 มาขยายให้เห็นรายละเอียดในวิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจนมากขึ้น
โดยประยุกตใ์ ชแ้ นวทางการออกแบบการเรยี นรแู้ บบ Backward Design ของ Grant Wiggins and Jay McTighe
กำ�หนดไว้ 3 ขัน้ ตอน ได้แก่
ข้ันตอนที่ 1 กำ�หนดเป้าหมายคณุ ภาพผ้เู รียน (Stage 1-Desired Results) ในการออกแบบการเรียนรู้
ระดับหน่วยการเรยี นรู้ ในทนี่ ีไ้ ดก้ �ำ หนดเปา้ หมายคุณภาพผเู้ รียนเปน็ เปา้ หมายยอ่ ยๆ ไว้ ดังน้ี
1. ความคดิ รวบยอด/ความเขา้ ใจทคี่ งทน
2. สาระการเรยี นรู้
3. สมรรถนะประจ�ำ หนว่ ย
4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ข้นั ตอนท่ี 2 กำ�หนดหลกั ฐานร่องรอยภาระงาน/ช้นิ งาน/การแสดงออกของผ้เู รยี นสำ�หรบั การประเมิน
(Stage 2-Assessment Evidence) ในท่นี ีไ้ ด้กำ�หนดสาระส�ำ คัญในการประเมนิ ผล ได้แก่
1. วิธีประเมินท่ีสอดคลอ้ งจุดประสงค์การเรียนร้ใู นหน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ภาระงาน/ชน้ิ งาน/การแสดงออก
ของผเู้ รยี น แยกเปน็
• ภาระงาน/ชิน้ งานระหว่างเรยี น
• ภาระงาน/ชิ้นงานรวบยอดในหน่วยการเรยี นรู้

22 สดุ ยอดคู่มอื ครู

2. เกณฑป์ ระเมนิ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรจู้ ากภาระงาน/ชนิ้ งาน/การแสดงออกของผเู้ รยี นระหวา่ งเรยี น ก�ำ หนด
เป็นระดับคุณภาพ 4 ระดับ ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น มีคำ�อธิบายเกณฑ์การประเมินแต่ละระดับทุกจุดประสงค์
การเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้ประเมินสามารถประเมินได้เท่ียงตรงสอดคล้องกับความเป็นจริง ได้นำ�เสนอในหน่วย
การเรยี นรูท้ ุกหน่วยอยา่ งละเอียด
ข้ันตอนท่ี 3 ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ (Stage 3-Learning Plan) ในท่ีนีไ้ ด้ก�ำ หนดกระบวนการเรียนรู้
ทเ่ี นน้ ทกั ษะการคดิ การปฏบิ ตั จิ รงิ ทผ่ี เู้ รยี นเปน็ ผสู้ รา้ งความรู้ ใชค้ วามรผู้ ลติ ผลงาน ดว้ ยกระบวนการ GPAS 5 Steps
ดังนี้
Step 1 Gathering (ขั้นรวบรวมข้อมลู )
Step 2 Processing (ขัน้ คดิ วิเคราะหแ์ ละสรุปความรู)้
Step 3 Applying and Constructing the Knowledge (ขั้นปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบตั )ิ
Step 4 Applying the Communication Skill (ข้นั สอ่ื สารและนำ�เสนอ)
Step 5 Self-Regulating (ขัน้ ประเมนิ เพ่ือเพิ่มคณุ ค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ)
รายละเอียดน�ำ เสนอใน CD ส่อื สง่ เสริมการเรยี นรู้ทใี่ ช้คกู่ ับเอกสารฉบับนี้
ส่วนที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ได้จัดทำ�เป็นแผนรายชั่วโมงที่แสดงรายละเอียดการดำ�เนินกิจกรรม
แตล่ ะขน้ั ตอนตาม GPAS 5 Steps ใหช้ ดั เจนมากขน้ึ ผสู้ อนสามารถปรบั ใชใ้ หเ้ ขา้ กบั บรบิ ทของผเู้ รยี นและหอ้ งเรยี น
แต่ละแห่งในแต่ละโอกาส ในแผนการจัดการเรียนรไู้ ด้น�ำ เสนอรายละเอียดดังนี้
1. สาระสำ�คัญของเรื่องหรือเน้ือหาทเ่ี รยี น
2. ค�ำ ถามทผี่ สู้ อนใชถ้ ามผเู้ รยี นเพอื่ กระตนุ้ ใหแ้ สวงหาขอ้ มลู ค�ำ ตอบ หรอื ขอ้ สรปุ ดว้ ยตนเองในแตล่ ะขน้ั ตอน
ในชัว่ โมงสอน
3. แบบบนั ทกึ ผงั กราฟกิ (Graphic Organizers) ท่ีใหผ้ เู้ รียนนำ�ไปใชใ้ นขนั้ ตอนตา่ งๆ ของการจดั การเรียนรู้
ตามกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps เช่น ผังกราฟิกในการสังเกตรวบรวมและบันทึกข้อมูล ผังกราฟิก
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสรปุ ความร้ใู นรูปแบบตา่ งๆ เป็นตน้
4. สอื่ อปุ กรณ์และแหลง่ เรยี นรู้ ส�ำ หรบั ผ้สู อนและผเู้ รยี นท่จี ะหาความร้เู พม่ิ เติมในเนอื้ หาแต่ละหน่วยการเรียนรู้
5. กจิ กรรมเสนอแนะ ส�ำ หรบั ผสู้ อนเสรมิ ความรแู้ ละทกั ษะใหก้ บั ผเู้ รยี นทม่ี จี ดุ เดน่ ทจ่ี ะเรยี นรใู้ หเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ
6. บันทึกหลังสอน สำ�หรับผู้สอนประเมินการจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผน เป็นแบบบันทึกการประเมิน
เชิงระบบประกอบด้วยหวั ข้อส�ำ คัญ คือ
• ความพรอ้ มกอ่ นดำ�เนินกจิ กรรม (สอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ การเขา้ ชั้นเรียน พน้ื ฐานความรูเ้ ดิมของผูเ้ รยี น)
• บรรยากาศการเรยี นรู้ (ความสนใจ ปฏสิ มั พนั ธใ์ นหอ้ ง ความราบรน่ื ในการด�ำ เนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน)
• ผลการเรยี นรู้ (จ�ำ นวนผเู้ รยี นทมี่ ผี ลงานระหวา่ งเรยี นและผลการประเมนิ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ตล่ ะระดบั
ผเู้ รยี นที่เป็นผนู้ ำ� ผู้เรยี นทต่ี อ้ งให้ความสนใจเพ่ิมเตมิ )
• แนวทางการพฒั นาในครัง้ ต่อไป (สง่ิ ทต่ี อ้ งยุติ สง่ิ ทีน่ ำ�มาใช้ตอ่ สง่ิ ทตี่ อ้ งปรับปรุงเพ่มิ เตมิ )
รายละเอยี ดนำ�เสนอใน CD สอื่ ส่งเสรมิ การเรียนรูท้ ่ใี ช้คู่กับเอกสารฉบบั นี้
หมายเหต:ุ ส่วนท่ี 2 และส่วนที่ 3 ทางบริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกัด ได้จัดท�ำเป็น
ไฟล์เอกสาร Word บันทึกลงในแผ่น CD ผู้สอนสามารถคัดลอก ดัดแปลง หรือปรับเปล่ียน
รายละเอียดเพื่อน�ำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ตรงตามความต้องการ ความพร้อม และความสนใจของผู้เรยี นแตล่ ะคนหรอื แต่ละหอ้ งเรียน

สุดยอดคมู่ ือครู 23

พฒั นาความ นำ�ข้อมูลมาจ�ำ แนก สร้างความรขู้ ้ันสูง คอื คดิ ออกแบบ
สามารถในการ จดั กลมุ่ วิเคราะห์ ความรู้ระดับคุณธรรม หลายๆ แบบ
เก็บข้อมูล พิสูจน์ ทดลอง จริยธรรม โดยใหน้ �ำ เพ่ือสรา้ ง
รวบรวมขอ้ มูลจาก วิจัย ให้เหน็ ลำ�ดบั ผลการคดิ ของตนเอง ทางเลือกหรือ
การฟัง การอา่ น ความสำ�คญั และ มาไตรต่ รองวา่ วธิ ีคิด เพ่ือหาวิธี
การดูงาน การสำ�รวจ ความสัมพนั ธ์ ดังกล่าวจะนำ�ไป หลายๆ วิธี
การสัมภาษณ์ เชอื่ มโยง ใหร้ ู้วา่ สู่ผลสำ�เร็จหรอื ไม่ ทีจ่ ะน�ำ ความรู้
การไปดเู หตกุ ารณ์ อะไรคือปัญหา ส่งประโยชน์ถึงสงั คม ไปปฏบิ ตั ใิ ห้
หรอื สถานการณ์ ที่แทจ้ ริง อะไรคือ สาธารณะและ เตม็ ศกั ยภาพ
ที่เกิดขน้ึ จริง เพ่อื นำ� สาเหตุท่นี �ำ สู่ปัญหา สิง่ แวดลอ้ มหรอื ไม่ และงดงาม
ขอ้ มลู ไปจัดกระท�ำ เกดิ ผลกระทบ ถา้ ไมถ่ ึงจะปรบั และน�ำ ผลไปสู่
ใหเ้ กดิ ความหมาย จากปญั หา ตรงไหน อย่างไร ความส�ำ เร็จ
ผ่านกระบวนการ หาวธิ ีแกป้ ญั หา จึงจะเปน็ ไปตาม แบบคงทน
คิดวิเคราะห์ แนวทางป้องกนั วัตถปุ ระสงค์ จึงกล้า อย่างมลี �ำ ดบั
สาเหตไุ ม่ให้ วิจารณ์ กลา้ เสนอแนะ ขั้นตอน เพอื่ การ
เกิดข้นึ และ อยา่ งสร้างสรรค์ ตรวจสอบทม่ี ี
ไม่นำ�สู่ปัญหา รบั ฟงั ขอ้ เสนอแนะ ประสทิ ธิภาพ
ข้อวจิ ารณ์ จากเพ่ือน และแกป้ ัญหาใน
ครู พอ่ แม่ อยา่ งมี แต่ละขัน้ ตอนได้
เหตุผล ทบทวน ตรงวตั ถุประสงค์
ปรบั ปรงุ ดว้ ยความยินดี
มคี า่ นิยมในความเป็น
ประชาธิปไตยเสมอ

ออกแบบ
Activeคณุ ธปรรระมเมคิน่านยิ ม
สวงั ิเเคครราาะะหห์ ์

ขอ้ มลู แผนการสอน คู่มือครู Active Learning ตามแนว

สรปุ รายงานผล เป้าหมายการเรยี นรู้ Portfolio

24 สุดยอดคูม่ อื ครู

สามารถคิด ก่อนลงมอื ปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ัตทิ ดี่ ีจึงต้องปฏบิ ตั ิ เมอื่ งานส�ำ เร็จ รจู้ กั
ตัดสนิ ใจเลอื ก นำ�แนวคดิ และ ตามแผนทีว่ างไว้ ผ่าน ประเมินงานทัง้ ด้วย
แนวทางหรือ ตัดสินใจมาจัด การวิเคราะห์ การไตรต่ รอง เหตุผลควบค่กู ับการ
วธิ ีท่ดี ที ี่สดุ ที่ ลำ�ดบั ขัน้ ตอน ไว้อย่างดีแล้ว การปฏิบัติ ประเมนิ ตนเองเสมอ
นำ�ไปสคู่ วาม การท�ำ งาน จรงิ จงึ เป็นการพฒั นา ถา้ กระบวนการนน้ั
ส�ำ เร็จไดจ้ ริง เพอื่ สามารถ การทำ�งานรว่ มกบั ผอู้ ่นื หรือ นำ�ไปสู่ผลจริง ก็จะ
น�ำ ประโยชน์ ด�ำ เนนิ งานไป ทำ�งานเปน็ ทมี ทตี่ ้องมีการ นำ�กระบวนการน้ัน
ไปสสู่ งั คม ตามแผนการคิด จดั การแบ่งงานให้ตรงตาม ไปพัฒนาหรือ
สาธารณะ ทีผ่ ่านการ ความถนัด แชรค์ วามคดิ ทำ�งานในกลุ่มสาระ
สง่ิ แวดลอ้ ม ไตร่ตรองมา ประสบการณ์ รู้จกั รับฟงั อ่ืนๆ เพอื่ ใหไ้ ดง้ าน
เป็นวิธที ่ี อยา่ งดแี ล้ว และ รจู้ ักเสนอแนะ มีคา่ นยิ ม ที่มคี ุณภาพและ
คุม้ คา่ เพื่อพสิ ูจนใ์ ห้ แสดงออกเปน็ ประชาธปิ ไตย คุณค่าเพมิ่ ขึ้นเสมอ
ตัง้ อยบู่ น เหน็ ว่าสง่ิ ทค่ี ดิ รู้จกั อดทน ขยัน รบั ผิดชอบ ข้ันตอนใดที่มีจุดอ่อน
หลักการของ ไว้เมอ่ื นำ�ไป ในหนา้ ทก่ี ารท�ำ งานหรอื ก็ต้องปรับปรงุ
ปรชั ญา ปฏบิ ตั จิ ริงแลว้ ปฏบิ ตั ิ มุง่ หวังเพ่ือให้ ใหด้ ีย่งิ ข้ึน เมอ่ื ได้
เศรษฐกจิ สามารถดำ�เนนิ ได้งานทด่ี ขี ้นึ เพือ่ ประโยชน์ กระบวนการทด่ี ีแล้ว
พอเพยี ง การไดต้ าม ของสังคมส่วนรวมที่กวา้ งไกล กส็ รุปกระบวนการ
ที่คดิ ไวห้ รอื ไม่ ขน้ึ ค�ำ นงึ ถึงผลกระทบ นัน้ ใหเ้ ป็นหลกั การ
เพ่ือน�ำ ไปสู่ ตอ่ สาธารณะและส่งิ แวดลอ้ ม พัฒนางานท่ดี ีของ
การแกป้ ญั หา มากยงิ่ ขนึ้ อีกทั้งยงั นำ�กรอบ ตนเอง เปน็ เครอ่ื งมอื
และพัฒนาการ ความคดิ มาปฏบิ ตั เิ พอ่ื การเรียนรู้
เกบ็ ขอ้ มูลและ การออกแบบ สรา้ งนวัตกรรม ใชเ้ รยี นรขู้ ้อมูลได้
การคิดต่อไป ดว้ ยสอ่ื เทคโนโลยีได้อยา่ ง ทุกโอกาสท่ัวโลก
ทัดเทียมกับความเป็นสากล และทกุ สถานการณ์
ทกุ เงือ่ นไข
วางแผน ได้ตลอดชีวติ

Learningตัดสินใจ ปฏิบตั ิ

Backward Design ใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ความรู้

AKP 123 4 ประเมินตนเอง เพ่มิ ค่านยิ ม คุณธรรม

Rubrics

สดุ ยอดค่มู ือครู 25

การศกึ ษาในศตวรรษท่ี ๒๑ - Thailand 4.0

หนง่ึ คาถามมหี ลายคาตอบ คน้ หาคณุ ธรรม คา่ นิยม ลงมือทา
ค้นหาความรู้ดว้ ยตนเอง ประเมนิ ตนเอง / ร้จู ักตนเอง เรยี นให้รจู้ ริง
พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ จิตสานกึ ตอ่ โลก เศรษฐกิจ เรียนร้จู ากการทางาน
คิดสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรม ธรุ กจิ การประกอบการ ทาโครงงาน
ตกผลึกความเปน็ ผนู้ า ความเป็นพลโลก สุขภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม ทาเปน็ ทมี
พัฒนาความสามารถการใช้ คดิ เชิงวพิ ากษ์และการแกป้ ญั หา คน้ หาวธิ กี าร
สื่อ / สารสนเทศ ความร่วมมือในการทางาน ใชก้ ระบวนการสรา้ งความรู้
ความรับผดิ ชอบตอ่ การเปน็ ผนู้ า เกดิ ทกั ษะครบทกุ ด้าน
ใช้ทกั ษะเรียนรู้ขา้ มวฒั นธรรม
การเพ่มิ ผลผลิต สรา้ งนวัตกรรม
นาเสนอจาก After Action
Review (AAR)
เกิดทักษะพน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร ICT
สือ่ สารมากกวา่ 2 ภาษา

ประเมินเพือ่ การพัฒนาและเพม่ิ คา่ นยิ ม คณุ ธรรม

สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ(พว.) เข้าใจความรูท้ ั้งสามมิติและหลากหลาย ดร.ศักดส์ิ ิน โรจน์สราญรมย์
ประเมินเพอื่ การพัฒนาความรู้ท้งั สามมติ ิ

26 สุดยอดคูม่ ือครู

1. ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก
asean

1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1
ไฟฟ้ากระแสสลบั
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั
ไฟฟ้ากระแสสลับ
สาระสำาคัญ
สาระการเรยี นรู้
พ้ืนฐานของพลังงานท่ีใช้ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของชาติจะได้มาจากพลังงานไฟฟ้า 1. ร ะ บ บ จ� ำ ห น ่ า ย ไ ฟ ฟ ้ า ก ร ะ แ ส ส ลั บ
โดยเฉพาะไฟฟ้ากระแสสลับ เพราะเป็นพลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ส�าหรับการบริโภคท่ีส�าคัญส�าหรับ
การด�ารงชีพ ซ่ึงไฟฟ้ากระแสสลับได้มาจากเครื่องก�าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฟ้ากระแสสลับที่มีใช้ (หนังสือเรยี น หน้า 3-4)
ตามบ้านพักอาศัย อาคารส�านักงาน หรือตามโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ มี 2 ระบบ คือระบบ 1 เฟส 2. แม่เหลก็ (หนงั สอื เรียน หนา้ 5-6)
ขนาดแรงดันไฟฟ้าที่สาย 220 โวลต์ และระบบ 3 เฟส ขนาดแรงดันไฟฟ้าท่ีสาย 380 โวลต์ ซึ่ง 3. การก�ำเนิดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
ทั้งสองระบบจะได้จากเคร่ืองก�าเนิดไฟฟ้าที่อาศัยการเหน่ียวน�าไฟฟ้าโดยหลักการน�าขดลวดเหน่ียวน�า
ตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กหรือหลักการให้เส้นแรงแม่เหล็กตัดผ่านกับขดลวดเหนี่ยวนา� รูปคลื่นไฟฟ้า (หนงั สอื เรยี น หนา้ 7-12)
ท่ไี ดจ้ ากเครอ่ื งกา� เนดิ ไฟฟ้าจะเป็นรูปคล่นื ไซน์ 4. ค่าแรงดันไฟฟ้าเฉล่ีย (หนังสือเรียน หน้า

12-13)
5. คาบเวลาและความถี่ไฟฟ้า (หนังสือเรียน

หนา้ 13-16)
6. แอมมิเตอร์กระแสสลับ (หนังสือเรียน

หน้า 16-17)
7. โวลต์มิเตอร์กระแสสลับ (หนังสือเรียน

หน้า 17-18)
8. มัลติมเิ ตอร์ (หนงั สือเรียน หน้า 18-19)
9. ออสซลิ โลสโคป (หนงั สอื เรยี น หนา้ 20-21)
10. การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า (หนังสือเรียน

หน้า 22-24)
11. การวัดคาบเวลาและการหาค่าความถ่ี

(หนังสือเรียน หนา้ 25-26)

สมรรถนะประจ�ำหน่วย
1. แสดงความรู้เกยี่ วกับหลักพน้ื ฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลบั
2. คำ� นวณค่าพารามเิ ตอร์เกี่ยวกบั ไฟฟ้ากระแสสลบั
3. ใช้เครื่องมือวัดคา่ พารามิเตอรเ์ กยี่ วกบั ไฟฟา้ กระแสสลบั

สดุ ยอดคู่มอื ครู 27

1. ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 22 วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
1. อธิบายเก่ียวกับระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า
กระแสสลับได้ สาระการเรียนรู้ 7. โวลตม์ ิเตอร์กระแสสลบั
2. บอกชนิดของแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ได้ 8. มลั ติมเิ ตอร์
3. อธบิ ายการกำ� เนดิ แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั 1. ระบบจา� หน่ายไฟฟ้ากระแสสลับ 9. ออสซิลโลสโคป
ได้ 2. แมเ่ หล็ก 10. การวดั ค่าแรงดนั ไฟฟา้
4. อธบิ ายเก่ียวกับคา่ แรงดนั ไฟฟา้ เฉลยี่ ได้ 3. การกา� เนดิ แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั 11. การวัดคาบเวลาและการหาคา่ ความถี่
5. คำ� นวณหาคา่ ความถไ่ี ฟฟา้ และคาบเวลาได้ 4. คา่ แรงดันไฟฟ้าเฉลย่ี
6. บอกหลักการใช้แอมมิเตอร์วัดค่า 5. คาบเวลาและความถไี่ ฟฟา้
กระแสไฟฟ้ากระแสสลับได้ 6. แอมมิเตอร์กระแสสลับ
7. บอกหลักการใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่า
แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับได้ สมรรถนะประจำาหน่วย
8. บอกหลักการใช้มัลติมิเตอร์วัดค่า
กระแสไฟฟ้ากระแสสลับ ค่าแรงดนั ไฟฟ้า 1. แสดงความร้เู กย่ี วกบั หลกั พนื้ ฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลบั
กระแสสลบั ได้ 2. ค�านวณค่าพารามเิ ตอรเ์ ก่ียวกบั ไฟฟ้ากระแสสลับ
9. บอกหนา้ ทข่ี องออสซิลโลสโคปได้ 3. ใชเ้ ครื่องมอื วัดค่าพารามเิ ตอรเ์ กยี่ วกับไฟฟา้ กระแสสลบั
10. บอกหลักการใช้ออสซิลโลสโคปวัดค่า
แรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั ได้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
11. อ่านค่าคาบเวลาจากรูปคล่ืนท่ีวัดด้วย
ออสซิลโลสโคปได้ 1. อธิบายเก่ยี วกับระบบจ�าหนา่ ยไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
12. ค�ำนวณค่าความถ่ีจากรูปคลื่นที่วัดด้วย 2. บอกชนิดของแม่เหล็กได้
ออสซลิ โลสโคปได้ 3. อธบิ ายการก�าเนดิ แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
4. อธิบายเก่ยี วกับค่าแรงดันไฟฟา้ เฉลีย่ ได้
5. ค�านวณหาคา่ ความถไี่ ฟฟา้ และคาบเวลาได้
6. บอกหลกั การใชแ้ อมมิเตอรว์ ัดคา่ กระแสไฟฟ้ากระแสสลับได้
7. บอกหลกั การใชโ้ วลต์มิเตอรว์ ดั คา่ แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
8. บอกหลกั การใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั ค่ากระแสไฟฟา้ กระแสสลับ คา่ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลับได้
9. บอกหน้าที่ของออสซิลโลสโคปได้
10. บอกหลกั การใช้ออสซลิ โลสโคปวดั คา่ แรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
11. อ่านคา่ คาบเวลาจากรูปคล่นื ทีว่ ดั ดว้ ยออสซิลโลสโคปได้
12. ค�านวณค่าความถจ่ี ากรูปคลืน่ ทีว่ ดั ดว้ ยออสซลิ โลสโคปได้

การประเมนิ ผล ภาระงาน/ชนิ้ งานรวบยอดในหนว่ ยการเรยี นรู้
ภาระงาน/ชน้ิ งาน/การแสดงออกของผเู้ รยี น 1. ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
ภาระงาน/ชิน้ งานระหว่างเรยี น 2. ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้
1. ผังกราฟิกแสดงการเก็บรวบรวมข้อมูลเร่ืองความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 3. ผลการประเมนิ ตนเอง
4. คะแนนผลการทดสอบ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
2. ผังกราฟิกสรุปความรู้ความเข้าใจเร่ืองความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ

ไฟฟ้ากระแสสลับ
3. การนำ� เสนอผลการสรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั

ไฟฟา้ กระแสสลับ

28 สุดยอดคมู่ อื ครู

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันสื่อสารและน�ำเสนอ 5 . ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

ความร้เู บ้ืองตน้ เก่ียวกับไฟฟา้ กระแสสลบั 3 ไดนาโมเปน็ เครอื่ งกลทใ่ี ชส้ ำ� หรบั เปลยี่ นพลงั งานกลใหเ้ ปน็
พลงั งานไฟฟา้ โดยอาศยั หลกั การใชล้ วดตวั นำ� เคลอ่ื นทต่ี ดั
1. ระบบจ�ำ หน�่ ยไฟฟ้�กระแสสลับ เสน้ แรงแมเ่ หลก็ ซง่ึ จะเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ กระแสไฟฟา้ เคลอ่ื นท่ี
ในลวดตวั นำ� ได้
ระบบจ�าหน่ายไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current) คือระบบไฟฟ้าที่เกิดข้ึนมาจาก สายนิวทรัลหรือสายเส้นศูนย์ (Neutral) หมายถึงสายไฟ
เครอ่ื งกา� เนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั (Alternating Generator) หรอื ไดนาโม (Dynamo) มกี ารนา� พลงั งานไฟฟา้ เส้นหนึ่งในสองเส้นที่มาจากการไฟฟ้า โดยเป็นสายเส้นท่ี
ที่ได้จากเครื่องก�าเนิดไฟฟ้ามาใช้โดยผ่านสายตัวน�าไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าท่ีได้จากเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า เมือ่ ใชไ้ ขควงลองไฟดู ไฟจะไม่ตดิ โดยจะเปน็ เส้นทางไหล
กระแสสลับจะมีลักษณะเป็นรูปคลื่นไซน์ (Sine Wave) และพลังงานไฟฟ้าที่ได้จะมีค่ามากเมื่อเปรียบ กลบั ออกจากเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ สายนวิ ทรลั ปกตจิ ะตอ้ งมกี าร
กับเครื่องก�าเนิดไฟฟ้ากระแสตรง แต่ไม่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟ้าไว้ได้ กล่าวคือเมื่อเคร่ืองก�าเนิด ต่อลงดิน เพอื่ การอา้ งอิงให้มแี รงดันเปน็ ศนู ยท์ ีห่ ม้อแปลง
ไฟฟ้าท�างานจะเกิดการเหน่ียวน�าให้มีแรงดันไฟฟ้าที่ขั้วสาย และเมื่อหยุดการท�างานของเครื่อง ของการไฟฟ้า
ก�าเนิดไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าที่ขั้วสายของเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าจะหมดตามไปด้วยทันที ระบบจ�าหน่าย
ไฟฟ้ากระแสสลับแบ่งออกตามลักษณะการก�าเนิดแรงดันไฟฟ้าและการจ�าหน่ายแรงดันไฟฟ้าได้
2 ประเภท ดงั น้ี

1.1 ระบบไฟฟา้ เฟสเดยี ว

ระบบไฟฟ้าเฟสเดียว (Single Phase) เป็นระบบไฟฟ้าท่ีใช้ตามบ้านเรือนทั่วไป ซ่ึง
ประกอบด้วยสายไฟฟ้าที่เป็นตัวน�า จ�านวน 2 เส้น โดยเส้นท่ีมีแรงดันไฟฟ้า เรียกว่า สายไลน์ (Line)
ส่วนอีกเส้นที่ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์โวลต์ เรียกว่า สายนิวทรัล (Neutral) เม่ือน�าโวลต์มิเตอร์วัดค่า
แรงดันไฟฟ้าเปรียบเทียบระหว่างสายไลน์กับสายนิวทรัล จะได้ค่าแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายไลน์กับ
สายนิวทรลั เทา่ กับ 220 โวลต์

Line
Neutral 220 Volt

ภาพที ่ 1.1 แสดงระบบจา� หน่ายไฟฟ้าแบบเฟสเดียว

1.2 ระบบไฟฟา้ สามเฟส
ระบบไฟฟ้าสามเฟส (Three Phase) เป็นระบบไฟฟ้าที่ใช้ตามโรงงานอุตสาหกรรม
อาคารส�านักงาน และอาคารพาณิชย์ท่ัวไป ซึ่งระบบจ�าหน่ายไฟฟ้าสามเฟสจะประกอบด้วยสายไฟฟ้า
ท่ีเป็นตัวน�า จ�านวน 4 เส้น โดยเส้นที่มีแรงดันไฟฟ้า เรียกว่า สายไลน์ จ�านวน 3 เส้น ส่วนอีกเส้นท่ี
ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์โวลต์ เรียกว่า สายนิวทรัล เม่ือน�าโวลต์มิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้าเปรียบเทียบ
ระหว่างสายไลน์กับสายไลน์ จะได้ค่าแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเท่ากับ 380 โวลต์ และวัดค่าแรงดันไฟฟ้า

ระหวา่ งสายไลนก์ ับสายนวิ ทรัล จะได้ค่าแรงดันไฟฟ้าเทา่ กับ 220 โวลต์
Line 1
Line 2 380 Volt 380 Volt 220 Volt

Line 3 380 Volt 220 Volt

Neutral 220 Volt

ภาพที่ 1.2 แสดงระบบจ�าหนา่ ยไฟฟ้าแบบสามเฟส 4 วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั

ค่าก�าลังไฟฟ้าที่ได้จากการผลิตด้วยเคร่ืองก�าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ จะมีค่าก�าลังไฟฟ้าคงท่ี
ซึ่งก�าลังไฟฟ้าจะมีค่าตามขนาดของเคร่ืองก�าเนิดไฟฟ้า ก�าลังไฟฟ้าเกิดจากผลคูณของกระแสไฟฟ้าและ
ค่าแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวน�าท่ีเคร่ืองก�าเนิดไฟฟ้าแต่ละเครื่องผลิตได้ ซึ่งค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
สามารถปรับให้มีค่าเพิ่มสูงข้ึนหรือลดต�่าลงก็ได้โดยการใช้หม้อแปลงไฟฟ้า กล่าวคือเม่ือปรับค่าแรงดัน
ไฟฟา้ ให้สงู ขึ้นค่ากระแสไฟฟ้าจะลดลง และเม่อื ปรับคา่ แรงดนั ไฟฟ้าใหล้ ดลงคา่ กระแสไฟฟา้ จะเพม่ิ ข้ึน

Iin Iout Vout
Vin N1 N2

ภาพท ี่ 1.3 แสดงการแปลงค่ากระแสไฟฟา้ และแรงดนั ไฟฟ้าดว้ ยหมอ้ แปลงไฟฟา้

จากภาพที่ 1.3 ก�าลังไฟฟ้าของหม้อแปลงไฟฟ้าเมื่อพิจารณาจากขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า
ตัวเดียวกันท้ังทางด้านรับไฟฟ้าเข้า เรียกว่า ด้านปฐมภูมิ มีค่าเท่ากับก�าลังไฟฟ้าด้านจ่ายออก เรียกว่า
ดา้ นทุติยภมู ิ เม่ือก�าหนดให้กา� ลังไฟฟา้ ดา้ นปฐมภูมิมีค่าเท่ากับดา้ นทตุ ิยภูมิ จะได้สมการ

VPป1ฐIม1 ภ ูมิ = PVท2ตุI2ิยภูมิ
=

แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าท่ีเปล่ียนแปลงจะขึ้นอยู่กับจ�านวนรอบของขดลวดท่ีพันรอบ
แกนเหล็ก เรียกว่า อัตราส่วนของหม้อแปลงไฟฟ้า สามารถเปรียบเทียบสมการกับการพันขดลวด
ของหมอ้ แปลงไฟฟ้าได ้ แสดงดงั ภาพท ี่ 1.4

V1I1 = V2I2 หรือ VinIin = VoutIout

(ก) แสดงสมการกา� ลงั ไฟฟา้ ค่าแรงดันไฟฟา้ คูณกับกระแสไฟฟา้

Iin Iout
Vin Vout

(ข) แสดงลกั ษณะการพนั ขดลวดของหมอ้ แปลงไฟฟา้ คา่ แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟา้
ภาพท ี่ 1.4 แสดงการเปรยี บเทียบสมการกับการพันขดลวดของหม้อแปลงไฟฟ้า

สดุ ยอดคมู่ ือครู 29

1. ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2. ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

Step 1 ขั้นรวบรวมขอ้ มูล ความรู้เบ้อื งต้นเกยี่ วกบั ไฟฟ้ากระแสสลับ 5

Gathering 2. แม่เหลก็

1. ผสู้ อนแบง่ กลมุ่ ผเู้ รยี นรว่ มกนั ศกึ ษาเอกสาร แม่เหล็ก (Magnet) เป็นธาตุที่มีแรงดึงดูดและแรงผลักดันธาตุที่เป็นเหล็กได้ แม่เหล็ก
หนังสือเรียนวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มี 2 แบบ คอื แบบทเี่ ปน็ แมเ่ หลก็ ถาวร (Permanent Magnet) และแบบที่เป็นแมเ่ หล็กไฟฟ้า (Electro
เ ร่ื อ ง ค ว า ม รู ้ เ บ้ื อ ง ต ้ น เ กี่ ย ว กั บ ไ ฟ ฟ ้ า Magnet)
กระแสสลับ ตามหัวข้อท่ีก�ำหนด (ศึกษา
รายละเอยี ดจากแผนการจัดการเรยี นรู)้ S NN S

2. ผู้สอนตั้งค�ำถามให้ผู้เรียนเสนอข้อมูล Iin E Iout
จากประสบการณ์เดิมท่ีรับรู้เรื่องความรู้
เ บ้ื อ ง ต ้ น เ กี่ ย ว กั บ ไ ฟ ฟ ้ า ก ร ะ แ ส ส ลั บ (ก) แมเ่ หล็กถาวร (ข) แม่เหลก็ ไฟฟา้
( ศึ ก ษ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด ค� ำ ถ า ม จ า ก แ ผ น
การจัดการเรยี นร)ู้ ภาพท ่ี 1.5 แสดงลักษณะของแม่เหล็กแบบตา่ งๆ

3. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลจากการศึกษา จากภาพท่ี 1.5 (ก) เป็นลักษณะของแม่เหล็กถาวร คือเป็นธาตุท่ีมีสภาพการเป็นแม่เหล็กและ
ตามหัวข้อที่ก�ำหนดลงผังกราฟิก (เลือก เกิดเป็นขั้วแม่เหล็กเหนือ (N) และขั้วแม่เหล็กใต้ (S) อยู่ตลอดเวลา ซ่ึงจะหมดสภาพการเป็นแม่เหล็ก
ออกแบบและใช้ผังกราฟิกให้เหมาะสมกับ เมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ น สว่ นภาพท ่ี 1.5 (ข) เปน็ ลกั ษณะของแมเ่ หลก็ ชวั่ คราวหรอื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ คอื จะมอี า� นาจ
ลกั ษณะของขอ้ มูล) ดงั ตัวอยา่ ง การเป็นแม่เหล็กเมื่อได้รับการเหน่ียวน�าของกระแสไฟฟ้าไหลวนในขดลวดตัวน�าซึ่งจะเปลี่ยนสภาพจาก
แทง่ แกนเหลก็ เปน็ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้
โครงสรา้ งของแมเ่ หลก็ ถาวรจะประกอบดว้ ย เหลก็ (Iron) เหลก็ กลา้ (Steel) และโคบอลต ์ (Cobalt)
ซ่ึงนา� มาผสมกันแล้วอัดเปน็ แกนตามจุดประสงค์การใชง้ าน เชน่ แทง่ กลม ส่เี หลยี่ ม

 Steel

Iron Cobalt
ภาพท่ ี 1.6 แสดงโครงสรา้ งของแม่เหล็กถาวร

30 สุดยอดคู่มือครู

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

6 วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ 3. ผเู้ รยี นรว่ มกนั อธบิ ายบนั ทกึ ผลผงั ขอ้ สรปุ ความคดิ รวบยอด
เม่ือน�าลวดตัวน�ามาพันรอบแกนแม่เหล็กถาวร จะท�าให้เกิดการเหน่ียวน�าในเส้นลวดตัวน�า ใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ทง้ั กลมุ่ และรายบคุ คล
และเกิดกระแสไฟฟ้าไหลออกไปที่ปลายสาย โดยค่าแรงดันไฟฟ้าท่ีปลายสายจะขึ้นอยู่กับจ�านวนรอบ
ของขดลวดตัวน�าและคา่ ความเข้มของเส้นแรงแมเ่ หล็ก

Iout  Steel

Vout

Iron Cobalt
ภาพท ่ี 1.7 แสดงการนา� ขดลวดพันรอบแกนแมเ่ หล็กแลว้ เกดิ การเหน่ียวนา� ไฟฟา้

โดยธรรมชาติของแม่เหล็กทั่วไปท้ังแม่เหล็กถาวรและแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อน�าแม่เหล็กเคล่ือนท่ี
เข้าหากันจะเกิดการดูดกันและการผลักกัน กล่าวคือเม่ือหมุนขั้วที่เหมือนกันเข้าหากัน คือขั้วเหนือกับ
ขั้วเหนือ หรอื ขั้วใต้กับขั้วใต ้ แมเ่ หลก็ สองแทง่ จะมอี �านาจในการผลกั กัน และเมื่อน�าแท่งแม่เหล็กสองแท่ง
ทม่ี ีข้วั ตา่ งกนั เขา้ หากันจะมอี า� นาจแม่เหล็กในการดูดกัน

S N NS
ภาพท ี่ 1.8 แสดงการผลักกันของแทง่ แม่เหลก็ ทมี่ ขี ้ัวเหมอื นกนั

S N SN
ภาพที ่ 1.9 แสดงการดดู กันของแท่งแมเ่ หล็กที่มีขัว้ ต่างกัน

ep 2 ขัน้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรุปความรู้St ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกบั ไฟฟา้ กระแสสลบั 7

Processing 3. ก�รก�ำ เนิดแรงดันไฟฟ�้ กระแสสลบั

1. ผู้เรียนร่วมกันจ�ำแนก จัดกลุ่ม และโยงสัมพันธ์ข้อมูล ไฟฟ้ากระแสสลับจะมีแหล่งก�าเนิดมาจากเคร่ืองก�าเนิดไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเหน่ียวน�าให้เกิด
เร่ืองความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยจัด แรงดันไฟฟ้าเหนีย่ วนา� ในสาย (Electro Motive Force) ซึง่ ม ี 2 ลักษณะตามโครงสร้างดังน้ี
เปน็ หมวดหมตู่ ามทรี่ วบรวมไดจ้ ากเอกสารทศี่ กึ ษาคน้ ควา้
จากการทดลองตามใบปฏิบัติงาน และจากความคิดเห็น 3.1 การนาำ ขดลวดตวั นาำ ใหเ้ คลื่อนทีต่ ดั ผ่านเสน้ แรงแมเ่ หลก็
ของสมาชกิ ในกลมุ่ หรือจากประสบการณข์ องตน
การน�าขดลวดตัวน�าให้เคลื่อนท่ีตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็ก โดยการจัดวางขั้วแม่เหล็ก
2. ผูเ้ รยี นเชอื่ มโยงความสอดคล้องของข้อมูลท่ีนำ� มาจำ� แนก อย่างน้อย 2 ข้ัวแม่เหล็กให้มีช่องว่างระหว่างข้ัว เมื่อน�าขดลวดตัวน�าเคล่ือนที่ผ่านจะเกิดการเหน่ียวน�า
จัดกลุ่ม และโยงสัมพันธ์ โดยน�ำมาเขียนสรุปความรู้ ไฟฟ้าขึ้นในขวดลวดและผลักดันกระแสไฟฟา้ ให้ไหลออกทางปลายสายไฟฟ้า
ตามโครงสรา้ งเนอ้ื หาทเี่ ชอ่ื มโยงไดเ้ ปน็ ผงั ความคดิ รวบยอด
ของเรือ่ งทศ่ี กึ ษา ดังตวั อยา่ ง SN SN

V

ภาพท ่ี 1.10 แสดงการก�าเนดิ ไฟฟา้ แบบขดลวดตวั น�าหมุนตัดกบั เส้นแรงแม่เหลก็

3.2 การนำาแท่งแมเ่ หล็กเคล่อื นที่ตัดผ่านขดลวดตวั นาำ

การน�าแท่งแม่เหล็กเคล่อื นท่ีตดั ผ่านขดลวดตวั น�า เม่ือจัดวางขดลวดตัวน�าไฟฟ้าอยา่ งน้อย
2 ชุด โดยมีช่องว่างระหว่างขั้ว แล้วน�าแท่งแม่เหล็กที่มีข้ัวเหนือและขั้วใต้หมุนภายในช่องว่างระหว่าง
ขดลวดตัวน�าทั้งสอง ขดลวดตัวน�าจะเกิดการเหน่ียวน�าแรงดันไฟฟ้าและผลักดันกระแสไฟฟ้าให้
ไหลออกมาที่ปลายสายไฟฟา้

Iout

AC Eout put

ภาพท่ ี 1.11 แสดงการก�าเนดิ ไฟฟ้าแบบแม่เหล็กหมุนตัดกับขดลวดตัวน�า

สดุ ยอดคู่มอื ครู 31

1 . ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2. ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

8 วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
เม่ือเกดิ การเหน่ยี วนา� ไฟฟา้ ทงั้ สองกรณ ี แรงดนั ไฟฟา้ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในขดลวดตวั น�าไฟฟา้ จะเกดิ
เป็นแรงดนั ไฟฟา้ เหนย่ี วนา� ในลกั ษณะของรปู คล่นื ไฟฟ้ากระแสสลับ

NS NS

Iin Iout Iin Iout
E E

I

AC Volt-Meter สลปิ รงิ (Slip ring) เปน็ อปุ กรณส์ ง่ ถา่ ยสญั ญาณไฟฟา้ หรอื
ภาพที่ 1.12 แสดงการเหนี่ยวน�าไฟฟา้ กระแสสลบั ข้อมูลให้แก่อุปกรณ์ที่อยู่บนแท่นหมุน เช่น ในเครื่อง
บรรจภุ ณั ฑ์ (Packaging), โมลหรอื แมพ่ มิ พโ์ ลหะ และระบบ
จากภาพที่ 1.12 เม่ือจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้กับขดลวดตัวน�าท่ีพันบนแกนเหล็ก อา่ นสญั ญาณเซนเซอร์ เป็นต้น
จะเกิดการเหนี่ยวน�าไฟฟ้าในแกนเหล็ก เป็นผลให้แกนเหล็กเปลี่ยนสภาพเป็นแม่เหล็กชั่วคราวและ
เกิดข้ัวแม่เหล็กท้ังสองแกน เม่ือน�าขดลวดตัวน�าเคล่ือนท่ีผ่านโดยการหมุนแกนจะท�าให้เกิดการ
เหนี่ยวนา� ไฟฟ้าข้นึ ในขดลวดตัวนา� ทห่ี มุนตดั ผา่ น และเมอื่ ต่อสายผา่ นสลปิ รงิ (Slip Ring) และแปรงถา่ น
(Carbon Brush) ออกมาด้านนอกกส็ ามารถจ่ายแรงดันไฟฟ้าใชง้ านได้

NS S
Iin Iout

E
ภาพท่ี 1.13 แสดงการหมุนของขดลวดตัวน�าของเครอื่ งกา� เนดิ ไฟฟ้า

ความรู้เบื้องตน้ เก่ียวกบั ไฟฟา้ กระแสสลับ 9

จากภาพที ่ 1.13 เป็นการเหนย่ี วน�าไฟฟ้าเม่ือแกนขดลวดตัวนา� หมนุ ตัดกับเสน้ แรงแมเ่ หลก็

ท�าให้เกิดการเหนี่ยวน�าไฟฟ้าขึ้นภายในขดลวดตัวน�าซ่ึงจะมีลักษณะเป็นรูปคล่ืนไซน์ โดยที่ความสูง

ของรูปคลน่ื จะข้ึนอยู่กบั ขนาดของแรงเคล่ือนไฟฟ้าเหนีย่ วน�า

120 90 60 V(volt) 60 90 120

150 30 30 150

180 0, 360 0 180 360
t(sec)

210 330 210 330
240 270 300 240 270 300

ภาพท่ ี 1.14 แสดงการเกิดรูปคลนื่ ไฟฟ้ากระแสสลบั

จากภาพท่ี 1.14 พบว่า การหมุนของขดลวดตัวน�าเม่ือหมุนครบรอบจะเกิดมุมทางไฟฟ้า
เท่ากับ 360 องศาไฟฟ้า ซง่ึ เร่มิ ต้นท่มี ุม 0 องศาไฟฟา้ เม่อื เร่ิมหมนุ ตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กก็จะเริม่ มีการ
เหนี่ยวน�าไฟฟ้าขึ้นตามมุมต่างๆ และเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวน�ามากที่สุด (Vm) ท่ีมุม 90 องศาไฟฟ้า
หรือเมื่อเคล่ือนท่ีเลยมุม 90 องศาไฟฟ้า แรงดันเหน่ียวน�าไฟฟ้าจะลดลงและมีค่าเป็น 0 โวลต์
หรอื เมือ่ หมุนลงมาที่ต�าแหน่ง 180 องศาไฟฟา้ เมอื่ หมนุ ผ่านคร่งึ รอบหรอื 180 องศาไฟฟา้ จะเกิดการตัด
ผ่านของเส้นแรงแม่เหล็กอีกครั้งและเกิดการเหน่ียวน�าไฟฟ้าเพ่ิมข้ึนอีกรอบในซีกลบ ซึ่งจะมีค่าสูงท่ีสุด
เมอื่ หมนุ มาตรงตา� แหนง่ 270 องศาไฟฟา้ และจะเรม่ิ ลดลงเมอื่ เลยผา่ นมมุ 270 องศาไฟฟา้ จนเปน็ 0 โวลต์
อีกคร้ังท่ีต�าแหน่ง 360 องศาไฟฟ้า เมื่อตัวน�าไฟฟ้าตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กไฟฟ้าจะเกิดแรงดันไฟฟ้า
เหน่ยี วน�าขน้ึ ภายในขดลวดตัวนา� ขนาดของแรงดนั ไฟฟา้ เหน่ียวน�าจะขน้ึ อยูก่ บั องคป์ ระกอบหลักดังน้ี
1) ความเข้มของสนามแม่เหล็ก หมายถึงจ�านวนเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดจากการเคลื่อนท่ี
ภายในข้ัวแม่เหล็ก เม่ือแม่เหล็กมีความเข้มสนามแม่เหล็กมากก็สามารถตัดผ่านขดลวดตัวน�าได้มาก
เป็นผลให้มกี ารเหนีย่ วน�าไฟฟ้าในขดลวดตวั น�าไดม้ ากขนึ้
2) ความยาวของเส้นลวด หมายถึงส่วนที่วางในสนามแม่เหล็กเมื่อมีจ�านวนมากและ
มีระยะในการตดั ผา่ นมากก็สามารถเหน่ยี วน�าไฟฟา้ ได้มาก
3) มุมตัดของเส้นแรงแม่เหลก็ กับขดลวดตัวนา� ซ่งึ จากภาพที่ 1.14 พบวา่ การเหน่ียวนา�
ไฟฟ้าท่ีมมุ 90 องศาไฟฟ้า จะไดค้ ่าแรงดนั ไฟฟ้าเหน่ยี วน�ามากทีส่ ดุ และมคี ่าเป็น 0 โวลต์ เมอ่ื มมุ ทางไฟฟ้า
เปน็ 0, 180 และ 360 องศาไฟฟา้

32 สดุ ยอดคมู่ ือครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ 5 . ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า