ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

1. นำเรื่อง
เห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ พระนามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร” เป็นบทละครพูดขนาดสั้นเพียงหนึ่งองก์ สันนิษฐานว่าเป็นบทละครพูดภาษาไทยเรื่องแรกที่ทรงพระราชนิพนธ์ด้วยพระองค์เอง

2. ประวัติผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓

3. ลักษณะการแต่ง
เรื่องเห็นแก่ลูกแต่งเป็นบทละครพูด เป็นเรื่องขนาดสั้น มี 1 องก์

4. เรื่องย่อ
พระยาภักดีนฤนาถกับนายล้ำเคยเป็นเพื่อนสนิท นายล้ำมีบุตรสาวชื่อ ลออ เมื่ออายุได้ ๒ ขวบ นายล้ำถูกตัดสินจำคุกเป็นเวลา 10 ปี ฐานทุจริต พระยาภักดีจึงอุปการะแม่ลออเป็นบุตรบุญธรรม
15 ปีต่อมา นายล้ำมาที่บ้านพระยาภักดีในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัวหวังพึ่งพาแม่ลออที่กาลังจะแต่งงาน แต่พระยาภักดีไม่ยินยอมให้นายล้ำแสดงตนว่าเป็นบิดาของแม่ลออ

5. ศัพท์น่ารู้
เกล้าผม คำแทนตัวผู้พูดเพศชาย เมื่อใช้พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมาก
ปัจจุบันใช้คำว่า เกล้ากระผม
ขอบพระเดชพระคุณ ขอบคุณ ใช้พูดกับผู้อาวุโสหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่
เสมียญบาญชี พนักงานบัญชี ปัจจุบันใช้ เสมียนบัญชี

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

            “บทละครพูด” มาจากประเทศทางตะวันตก และเริ่มแพร่หลายในประเทศไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับความนิยมสูงสุดในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ซึ่งพระองค์โปรดการละครมาก ตั้งแต่ยังทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ เสด็จไปทอดพระเนตรละคร และทรงแสดงละคร ครั้นเมื่อพระองค์เสด็จนิวัติพระนครได้ทรงตั้งคณะละครขึ้น เพื่อช่วยอบรมจิตใจประชาชน ระดมเงินทุนในการทำการกุศลต่าง ๆ และสร้างสาธารณสมบัติไว้ให้แก่ประเทศไทย พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ทรงแปลหรือแปลงมาจากภาษาต่างประเทศและทรงคิดผูกโครงเรื่องขึ้นเอง บางครั้งทรงอำนวยการซ้อมและทรงร่วมแสดง บทละครพูดที่เป็นเรื่องพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงคิดโครงเรื่องเองเป็นบทละครพูดภาษาไทยเรื่องแรก คือ บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

            เรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดร้อยแก้ว มีความยาว 1 องก์ เนื้อเรื่องมีขนาดสั้น ปมเรื่องไม่ซับซ้อน บทละครพูดเป็นการสนทนาโต้ตอบของตัวละครที่เหมือนในชีวิตจริง มีวิธีบอกให้รู้ว่าตัวละครที่เหมือนในชีวิตจริง มีวิธีบอกให้รู้ว่าตัวละครบทละครพูดนี้นอกจากใช้แสดงแล้ว ยังใช้อ่านได้อีกด้วย

บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นวรรณคดีเรื่องแรกที่น้อง ๆ ม.3 ทุกคนจะได้เรียน ความพิเศษของวรรณคดีไทยเรื่องนี้คือเป็นบทละครพูดเรื่องแรกของไทยอีกทั้งยังได้รับการแปลไปยันต่างประเทศอีก 13 ภาษา วรรณคดีเรื่องนี้มีความสำคัญและมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร ถึงโด่งดัง เป็นที่รู้จัก และได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ถ้าพร้อมแล้วเราไปศึกษาประวัติความเป็นมาของวรรณคดีเรื่องนี้กันเลยค่ะ

 

ความเป็นมา บทละครพูด เห็นแก่ลูก

 

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

 

บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระนามแฝงว่าพระขรรค์เพชร บทละครพูดที่มาจากตะวันตกแต่เป็นผลงานพระราชนิพนธ์เรื่องนี้ไม่ใช่การแปล มีที่มาจากที่พระองค์ทรงชอบบทละครพูด และตั้งคณะละครขึ้นเพื่อช่วยอบรมจิตใจของประชาชน วรรณคดีเรื่องนี้เป็นบทละครพูดขนาดสั้น ปมเรื่องไม่ซับซ้อน แฝงด้วยข้อคิด

 

ลักษณะคำประพันธ์

 

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดขนาดสั้นเพียงองก์เดียวและเป็นร้อยแก้ว ละครพูดเริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นที่นิยมมากขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นลักษณะคำประพันธ์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก

 

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

 

บทละครพูด เป็นละครที่แสดงโดยให้ตัวละครสนทนาโต้ตอบกันเหมือนในชีวิตจริง ไม่มีดนตรี การรำ หรือการขับร้อง ตรงกับการแสดงที่เรียกว่า play ของตะวันตก ผู้แต่งจะเป็นผู้กำหนดชื่อเรื่อง ตัวละคร และฉากว่ามีลักษณะอย่างไร มีการกำหนดลำดับการแสดงของตัวละครพร้อมกับบทพูดและอารมณ์กิริยาของตัวละครเพื่อให้นักแสดงสามารถถ่ายทอดบทบาทตามที่ผู้แต่งต้องการได้

 

เนื้อเรื่องย่อ

 

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

 

พระยาภักดีนฤนาถและนายล้ำ เคยเป็นอดีตเพื่อนรักกัน รับราชการรุ่นเดียวกัน แต่หลงรักผู้หญิงคนเดียวกันคือแม่นวล ซึ่งเป็นมารดาของแม่ลออ แม่นวลได้นำลูกสาวมาฝากไว้ที่พระยาภักดีนฤนาถให้เลี้ยงดู ก่อนที่จะสิ้นใจ ซึ่งพระยาภักดีนฤนาถก็เลี้ยงดูเหมือนเป็นลูกแท้ ๆ และคอยอบรมสั่งสอนให้แม่ลออรักบิดาแท้ ๆ แต่บอกว่าบิดาเสียชีวิตไปแล้ว ด้านบิดาที่แท้จริงอย่างนายล้ำ เป็นคนติดเหล้าจัดและเคยต้องโทษจำคุก เมื่อพ้นโทษและได้ข่าวว่าลูกสาวของตนที่อยู่กับพระยาภักดีนฤนาถกำลังจะแต่งคนฐานะดีจึงมาแสดงตัวว่าเป็นบิดา หวังอาศัยผลประโยชน์ แม้พระยาภักดีนฤนาถจะให้เงิน นายล้ำก็ยังยืนยันที่จะพบลูกสาว กระทั่งได้พบกับแม่ลออจริง ๆ แต่แม่ลออกลับไม่รู้ว่านายล้ำเป็นบิดาที่แท้จริง เมื่อได้ฟังลูกสาวพูดถึงตัวเองในแง่ดีอย่างภาคภูมิใจโดยที่ไม่รู้เรื่อง นายล้ำเกิดความละอายแก่ใจ จึงไม่บอกความจริงเพื่อปล่อยให้แม่ลออได้ใช้ชีวิตอย่างมีความสุขต่อไป ก่อนจากไป นายล้ำได้ฝากแหวนไว้วงหนึ่งให้พระยาภักดีนฤนาถมอบให้แก่แม่ลออ เป็นของรับไหว้ในวันแต่งงาน

 

สรุปเนื้อเรื่อง

 

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

 

เป็นอย่างไรบ้างคะหลังจากที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนี้ไปแล้ว บทละครพูดเป็นลักษณะคำประพันธ์ที่แพร่หลายในไทยช่วงรัชกาลที่ 5 และเป็นที่นิยมในรัชกาลที่ 6 ถึงแม้จะไม่ได้มีทั้งตั้งแต่โบราณ และก็มีคุณค่าและมีการใช้ภาษาที่ดี มีความเป็นธรรม มีความเพลิดเพลิน และถ้าน้อง ๆ อยากรู้ว่าตัวบทเด่นพร้อมทั้งเจาะลึกคุณค่าที่แฝงอยู่ในเรื่องมีอะไรบ้าง เราจะไปเรียนกันในบทต่อไปนะคะ สำหรับวันนี้ ก่อนจากไปอย่าลืมชมคลิปการสอนของครูอุ้มเพื่อทบทวนความรู้และเข้าใจเนื้อหาให้ได้มากขึ้น ไปชมกันเลยค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

โวหารภาพพจน์ กลวิธีการสร้างจินตภาพที่ลึกซึ้งและสวยงาม

การสร้างจินตภาพอย่างการใช้ โวหารภาพพจน์ เป็นกลวิธีในการใช้ภาษาอีกอย่างหนึ่ง เลือกใช้ถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพ หรืออาจเรียกว่าเป็นการแทนภาพนั่นเอง น้อง ๆ คงจะพบเรื่องของโวหารภาพพจน์ได้บ่อย ๆ เวลาเรียนเรื่องวรรณคดี บทเรียนในวันนี้เลยจะพาไปทำความรู้จักกับภาพพจน์ต่าง ๆ ให้มากขึ้นว่ามีอะไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ความหมายของภาพพจน์     ภาพพจน์ คือถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นภาพ ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด เป็นกลวิธีทางภาษาที่มุ่งให้เกิดความรู้ความเข้าใจจินตนาการ เน้นให้เกิดอรรถรสและสุนทรีย์ในการสื่อสารที่ลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าแบบตรงไปตรงมา  

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

Present Perfect ในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม.​ 4 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาพูดถึงเรื่อง Present Perfect ในภาษาอังกฤษ จะเป็นอย่างไรลองไปดูกันเลยดีกว่าครับ

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

ประพจน์และการเชื่อมประพจน์

บทความนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับประพจน์ การเชื่อมประพจน์ และการหาค่าความจริง ซึ่งเนื้อหาเหล่านี้เป็นภาษาของคณิตศาสตร์ เราจะเห็นตัวเชื่อมประพจน์ในทฤษฎีบทต่างๆในคณิตศาสตร์ หลังจากอ่านบทความนี้ น้องๆจะสามารถบอกได้ว่าข้อความไหนเป็นหรือไม่เป็นประพจน์ และน้องๆจะสามารถทำข้อสอบเกี่ยวกับตรรกศาสตร์ได้

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

ลำดับเรขาคณิต

ลำดับเรขาคณิต ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างคงที่เป็นจำนวนเท่า ซึ่งจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้นเรียกว่า อัตราส่วนร่วม เขียนแทนด้วย r โดยที่ r = พจน์ขวาหารด้วยพจน์ซ้าย การเขียนลำดับเราจะเขียนแทนด้วย    โดยที่ คือพจน์ทั่วไปหรือเรียกอีกอย่างว่า พจน์สุดท้ายนั่นเอง ตัวอย่างของลำดับเรขาคณิต 2, 4, 8, 16, 32, … จะได้ว่า 

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

คำที่ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่นและจีน มีอะไรบ้างในภาษาไทย

  คำที่ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่นและจีน น้อง ๆ ทราบไหมคะว่ามีคำไหนบ้าง ทั้งสองประเทศนี้คือประเทศในแทบเอเชียเหมือนกัน แต่ก็ไม่ได้อยู่ใกล้เรานัก แล้วทำไมถึงมีคำจากภาษาญี่ปุ่นและจีนเข้ามาปะปนอยู่ในชีวิตประจำได้ บทเรียนภาษาไทยเรื่องลักษณะคำที่ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่นและจีนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำศัพท์ต่าง ๆ ที่ยืมมา จะมีคำไหนบ้าง ไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ที่มาของภาษาญี่ปุ่นและจีนในภาษาไทย     คำที่ยืมมาจากญี่ปุ่นและจีน มีด้วยกันมากมายหลายคำเลยค่ะ บางคำ อาจจะไม่ทันสังเกตด้วยซ้ำว่าเป็นภาษาญี่ปุ่นกับจีน ไม่ใช่คำภาษาไทย เพราะสองประเทศในเอเชียนี้เข้ามามีอิทธิพลกับประเทศมาตั้งแต่โบราณ

ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก
ที่ มา ของบทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ ลูก

Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียน ม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูเทคนิคและวิธีการใช้ ” Past Tense ที่มี Time Expressions ในประโยคบอกเล่าและปฏิเสธ” ซึ่งเมื่อเล่าถึงเวลาในอดีตส่วนใหญ่แล้วเรามักเจอคำว่า yesterday (เมื่อวานนี้), 1998 (ปี ค.ศ. ที่ผ่านมานานแล้ว), last month (เดือนที่แล้ว)  และกลุ่มคำอื่นๆ ที่กำกับเวลาในอดีต ซึ่งเราจะเจอ Past

เรื่องเห็นแก่ลูกเป็นบทละครประเภทใด

เรื่อง เห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดร้อยแก้ว มีความยาว ๑ องก์ เนื้อเรื่องมีขนาดสั้น ปมเรื่องไม่ซับซ้อน บทละครพูดเป็นการสนทนาโต้ตอบของตัวละครที่เหมือนในชีวิตจริง “บทละครพูด” มีที่มาจากประเทศทางตะวันตก และเริ่มแพร่หลายในประเทศไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกเป็นเรื่องของใคร

เห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ พระนามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร” เป็นบทละครพูดขนาดสั้นเพียงหนึ่งองก์ สันนิษฐานว่าเป็นบทละครพูดภาษาไทยเรื่องแรกที่ทรงพระราชนิพนธ์ด้วยพระองค์เอง

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกดำเนินเรื่องอย่างไร

เนื้อเรื่อง บทละครพูดเรื่อง เห็นแก่ลูก แสดงถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูกผ่านพฤติกรรมของตัวละครแต่ละตัว โดยพระยาภักดีนฤนาถ เป็นตัวแทนของบิดาเลี้ยงที่ทำหน้าที่พ่อด้วยความเต็มใจ ส่วนนายล้ำ เป็นตัวแทนของบิดาผู้ให้กำเนิดซึ่งสามารถเปลี่ยนความเห็นแก่ตัวไปเป็นความเห็นแก่ลูกได้ในที่สุด

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกมีจุดเด่นด้านใด

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกมีจุดเด่นด้านใด ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ให้ข้อคิดคติธรรมในการดำรงชีวิต ให้ความรู้ในการประกอบอาชีพสุจริต