แผนการ สอน ภาษา ไทย ม ปลาย ก ศ น

การฟงั นบั ว่ามีความสาคัญยงิ่ ในการส่งสารขอ้ มลู ต่างๆ แตถ่ า้ ฟังไม่ถกู วธิ ีกจ็ ะไมก่ อ่ ประโยชนเ์ ทา่ ท่ีควร

และบางกรณีอาจเป็นโทษอีกด้วย หลักการฟังท่วั ไปมีดังนี้

1. มีมารยาทในการฟัง โดยการแสดงความกระตือรอื ร้นท่จี ะฟงั ตั้งคาถามตามความเหมาะสม

ยอมรบั ฟังความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกนั ออกไป และร้จู กั ควบคมุ อารมณ์

2. ตงั้ ความประสงค์ในการฟังใหแ้ น่นอน และพยายามฟังใหไ้ ดต้ ามความมุ่งหมายมากทสี่ ดุ ใช้

วิจารณญาณเลือกเฟ้นแต่เร่ืองท่คี วรฟัง และหลีกเลี่ยงเร่ืองทไี่ มเ่ หมาะสม รจู้ ักแยกแยะสว่ นท่ีเป็นข้อเท็จจรงิ

และความคิดเหน็ รจู้ ักใช้เหตผุ ลประกอบในการลงความเห็นรูจ้ กั การใช้ศลิ ปะในการฟังคอื การใช้ความ

สามารถและไหวพริบทจี่ ะใหผ้ ูพ้ ูดมีความสบายใจที่จะพูดและพดู ไดต้ รงจุดประสงค์ของผ้ฟู ัง เช่น การแสดงใหผ้ ู้

พดู เห็นว่าเราต้งั ใจฟัง เปิดโอกาสใหผ้ พู้ ดู ได้พดู เต็มทแ่ี ละแทรกคาถามท่ีเหมาะสมในโอกาสอันควรจดบนั ทกึ

สาระสาคัญและประเดน็ ที่ควรซกั ถามเพมิ่ เตมิ

การจบั ใจความสาคัญของเร่อื ง การฟังมคี วามมุ่งหมายประการสาคญั เพ่ือแสวงหาความรูแ้ ละ

เสริมสร้างสติปัญญาการฟังท่ีจะสัมฤทธผิ์ ลดังกล่าวจะตอ้ งมีความสามารถจับใจความสาคัญและใจความอันดับ

รองของเรอ่ื งทฟ่ี ังได้รวดเรว็ ถกู ต้อง หลักการพจิ ารณาใจความสาคัญและใจความสาคญั อันดบั รองมีดังน้ี

1. ฟงั เรือ่ งทง้ั หมดให้จบ

2. เร่อื งท่ฟี งั เก่ียวกับอะไร

3. มคี วามสาคญั อย่างไร

4. เหตเุ กิดทีไ่ หน

5. เกิดจากสาเหตอุ ะไร

6. ผลที่เกดิ ขึ้นเปน็ อยา่ งไร

การฟังอยา่ งมีวิจารณญาณ การฟงั นับว่าเปน็ ปัจจัยสาคญั ท่ีสดุ ในการรบั สาร ในชีวติ ประจาวันคนเรามี

การรบั ฟงั เรอื่ งราวมากมาย การฟงั คาพูดของคนท่คี นุ้ เคยหรือใกล้ชิดอาจจะไมก่ อ่ ให้เกดิ ปญั หามากนัก เพราะ

เรารภู้ ูมหิ ลังของผ้พู ดู และเรื่องท่ีรับฟังสว่ นมาก แต่ละวนั แตใ่ นปจั จุบนั การส่อื สารในดา้ นตา่ งๆ เจริญมากข้ึนไม่

จากดั แต่เพยี งแตฟ่ งั กบั คนทีเ่ ราพดู ด้วยแตเ่ รากฟ็ ังทางสอ่ื อเิ ลคทรอนิคส์ตา่ งๆ เชน่ วทิ ยุ โทรศพั ท์เทปเสียง เทป

ภาพวทิ ยโุ ทรทัศน์ ซึ่งการฟงั ไมไ่ ด้ประจนั หนา้ กนั บางครัง้ เป็นการสื่อสารทางเดียวมีแตร่ ับฟังเท่าน้นั ไม่สามารถ

ที่จะซักถามไดอ้ ยา่ งละเอียดถถ่ี ว้ นจึงทาให้กอ่ เกิดความไมเ่ ขา้ ใจไมต่ รงกัน หรือบางครง้ั การประกาศภยั พบิ ัติ

ตา่ งๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติหรือมนษุ ย์เป็นผกู้ ระทาข้ึน การโฆษณาชวนเชื่อและข่าวลือเรอ่ื งตา่ งๆ ในการฟัง

เรื่องราวตา่ งๆ ดงั กลา่ วถ้าหากเกิดฟงั แล้วเชอื่ หรือไมเ่ ชื่อแล้วนาไปปฏิบตั ิหรืองดเวน้ การปฏิบตั ิ หากเกิดความ

พลาดพลั้งอาจเกิดผลเสยี หายอย่างร้ายแรงตามมาได้ ดังน้ันการฟงั ขา่ วสารต่างๆ จะฟังอยา่ งธรรมดาไม่พนิ จิ

พเิ คราะหข์ ่าวสารท่ีไดร้ บั นั้นไม่ได้ การวินิจฉัยวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ข่าวสารวา่ เป็นจรงิ หรอื เปน็ เท็จควรเชื่อถือมาก

นอ้ ยเพยี งใดจะตอ้ งใชค้ วามคดิ ใครค่ วรด้วยเหตผุ ล ปญั ญาและประสบการณ์ ทาความเข้าใจในสถานภาพและดู

เจตนาของผสู้ ่งสาร ว่ามีขอ้ เท็จจรงิ หรือมีประโยชน์ มีคุณมโี ทษเพียงใด ควรทจ่ี ะเชื่อแล้วปฏิบัติตามหรือไม่

การฟงั สารตามลกั ษณะดังกลา่ วเรียกว่าการฟังอย่างวิจารณญาณ ดงั นน้ั การฟงั อยา่ งมีวจิ ารณญาณต้อง

ประกอบไปด้วยการใชป้ ัญญาในการวิเคราะห์พินิจพิจารณาไต่ตรอง เพอื่ คน้ หาขอ้ เท็จจรงิ สามารมารถวเิ คราะห์ ตัดสนิ ใจ และประเมินคา่ ส่งิ ท่ีฟงั ได้

หลักการฟงั อยา่ งวิจารณญาณ การฟงั อยา่ งวิจารณญาณมีหลกั ปฏิบัตดิ งั นี้ 1. ผู้ฟงั พจิ ารณาว่า ฟังเรอ่ื งอะไรเปน็ การฟงั ประเภทบทความ บทสัมภาษณ์การเลา่ เรือ่ งสรปุ เหตุการณ์ ใครเป็นคนพูดคนสมั ภาษณ์ ใครเปน็ คนเขียนบทความ และหัวขอ้ นน้ั มคี ุณค่าแก่การฟังหรือไม่

1.1 พจิ ารณาผสู้ ่งสารวา่ มีจุดมุ่งหมาย และมีความจริงใจในการส่งสารน้ันเพยี งใด 1.2 พจิ ารณาผู้ส่งสารว่ามคี วามรู้ ประสบการณ์หรอื ความใกลช้ ดิ กบั เรือ่ งราวในสารนัน้ เพียงใด 1.3 พจิ ารณาผู้ส่งสารว่าใชก้ ลวธิ ีในการสง่ สารน้ันอย่างไร คือวธิ ีการธรรมดาหรือยอกย้อน ซ่อนปมอยา่ งไร 1.4 พจิ ารณาเนอื้ หาของสารวา่ ส่วนใดเปน็ ขอ้ เท็จจริง ส่วนใดเป็นขอ้ คิดเห็น 1.5 พจิ ารณาสารว่าเปน็ ไปได้ และควรเช่ือเพียงใด 1.6 ผฟู้ ังควรประเมนิ วา่ สิง่ ท่ีฟังมีประโยชนแ์ ละมีคุณค่ามากนอ้ ยเพยี งไร หลกั การแยก ข้อคดิ เห็นและขอ้ เท็จจรงิ ในการรบั ฟงั สาร นอกจากจะจบั ใจความสาคญั ของเร่ืองทีฟ่ ังแล้ว นกั เรยี นจะตอ้ ง แยะแยะได้วา่ ใจความตอนใดเปน็ ข้อคดิ เห็นส่วนตวั ของผ้พู ดู ซ่ึงจะมลี กั ษณะเม่อื พจิ ารณาความถูกต้องได้ยาก และตอนใดเปน็ ข้อเท็จจริง ซง่ึ เปน็ เร่อื งท่สี ามารถพสิ จู น์ความถูกต้องได้ การแยกข้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เหน็ มดี ังน้ี 1. การแยกขอ้ เทจ็ จริง เป็นข้อมูลทส่ี ามารถพสิ ูจน์ได้ เห็นว่าเปน็ จรงิ หรอื เป็นเท็จ ได้จากตวั เลขเชงิ ปรมิ าณต่างๆ ท่มี อี ยูซ่ ่ึงทาการตรวจสอบไดด้ งั นี้ เช่นประชา หนกั 50 กิโลกรมั ,โอภาสสูงกวา่ เสกสรรค์ เป็น ตน้ 2. ความคิดเหน็ เป็นเรอ่ื งของการคาดคะเนหรอื การทานายโดยอาศัยเหตุผลสว่ นตัวซึ่งควรจะเปดิ โอกาสให้มกี ารโตแ้ ย้งหรือสนบั สนนุ เชน่ ของเก่าดกี วา่ ของใหม่ มีเงินดกี ว่ามีเกียรติ การฟังเพือ่ ประเมินค่า การฟงั เพอ่ื ประเมนิ คา่ เปน็ การตรวจสอบว่าสิง่ ท่ีฟัง ถูกตอ้ งชัดเจนมีเหตุผล เช่ือถอื ไดห้ รอื ไมก่ ารฟัง เพอ่ื ประเมนิ ค่าเป็นแสดงความคดิ เห็นตอ่ ข้อมูลทไ่ี ดร้ ับนัน้ วา่ เป็นความจรงิ หรือเปน็ การโฆษณาชวนเช่ือ ซึง่ มี ลักษณะเปน็ การเผยแพรค่ วามคดิ ความเช่ือและความคิดเห็นดว้ ยกลอุบายต่างๆ เพื่อโน้มน้าวจิตใจของผฟู้ ังให้ คลอ้ ยตามที่ต้องการ และสงิ่ ท่ีฟังนนั้ มีคุณค่าหรอื ไม่ดงั นน้ั การฟงั เพอื่ ประเมินคา่ จึงเป็นการฟงั อยา่ งวเิ คราะห์ วจิ ารณเ์ พื่อคน้ หาข้อเทจ็ จริงและตัดสนิ สิ่งท่ีฟงั วา่ มคี ุณค่าหรือประโยชน์อยา่ งไร

การฟังเพ่อื ค้นหาข้อเทจ็ จรงิ การฟังเพ่อื คน้ หาขอ้ เทจ็ จริงเป็นการฟังทีใ่ ชค้ วามคดิ ไตรต่ รองและการวเิ คราะหอ์ ย่างมเี หตผุ ลจะชว่ ย

ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ที่ถกู ตอ้ งเชือ่ ถือได้ การค้นหาขอ้ เท็จจริงต้องพจิ ารณาหลายๆ ดา้ นอยา่ งรอบคอบคอื 1. วิเคราะหเ์ จตนาของผู้พดู ว่าผูพ้ ูดมีจุดม่งุ หมายหรอื เจตนาอยา่ งใดอย่างหน่ึง 2. เจตนาผพู้ ดู เพ่อื ความบนั เทิง เช่นการพูดในงานพบปะสงั สรรค์กนั เพอื่ ให้เกดิ ความสนุกสนานรน่ื เรงิ 3. เจตนาผู้พูดอาจเปน็ การบอกเลา่ แถลงการณร์ ายงานเรอ่ื งราวต่างๆ เปน็ การบอกเกี่ยวกับการ

ปฏบิ ตั ิงาน บรรยายเกยี่ วกบั ทางวชิ าการ เล่าเหตกุ ารณ์ที่ได้พบเห็นประสบมาเพือ่ ใหผ้ ูอ้ ่นื ไดม้ ีความรคู้ วาม เข้าใจ

4. ผู้พดู อาจมเี จตนาในการพดู เพือ่ ชกั จงู ให้เห็นให้คลอ้ ยตามหรือเปลย่ี นความคดิ ใหป้ ฏิบัติการอย่างใด อย่างหนึ่ง ผ้พู ดู จะยกเหตผุ ลตา่ งๆ ให้ผู้ฟงั เช่ือถือ

5. วิเคราะห์นัยของเรอ่ื งท่ฟี ัง คอื การพิจารณาสาระสาคญั ของเรื่องทีฟ่ งั ว่าประเดน็ หลกั คืออะไร ผู้พูด อาจจะพดู ออกมาตรงๆก็ได้ หรอื อาจมจี ุดมงุ่ หมายแอบแฝง อยู่ผู้ฟังจะตอ้ งวิเคราะหน์ ยั สาคัญและนัยแฝง โดย

อาศัยความรคู้ วามสามารถของผูฟ้ งั ในการพจิ ารณาดังนี้ 5.1 ข้อมูลและความคดิ เห็นของผู้พูดจะตอ้ งอาศัยเหตผุ ลในการพิจารณาดงั น้ี ก. ข้อมลู ท่รี บั ฟังนนั้ มีความจริงมากนอ้ ยเพียงใดเปน็ ข้อมูลเก่าหรอื ขอ้ มูลใหม่ หรือวา่ เป็น

ความจริงตามหลักตรรกวทิ ยา ซ่งึ ผู้ฟงั จะต้องแยกแยะพจิ ารณาความเปน็ ไปได้ของขอ้ มูลและเจตคติของผพู้ ูดใน บางครง้ั ขอ้ เทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ ของผู้พูดจะแยกกันอย่างเหน็ ไดช้ ดั เจนแตบ่ างคร้ังผู้พดู จะพูดผสมผสาน

ข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นของตนเขา้ ด้วยกนั ดงั นนั้ จงึ ต้องแยกแยะออกจากกนั ใหช้ ดั เจน การโฆษณาชวนเชื่อ เปน็ การพดู ให้ผู้ฟงั เชอื่ และปฏบิ ัติตาม ผู้ฟงั จะตอ้ งพิจารณาแยกแยะให้ไดว้ ่า แนวทางท่ผี พู้ ูดเสนอมานัน้ หาก ปฏิบตั ติ ามแล้วจะเกิดผลอย่างไรเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรือต่อผฟู้ ังอย่างไรบา้ ง

ข. ความสาคญั และความเปน็ มาของเรื่อง ว่าผูพ้ ดู ได้แสดงความสาคญั ตลอดจนความเป็นมา ของเร่ืองอย่างไรเป็นเรือ่ งที่น่าสนใจที่ผฟู้ งั จะได้ประโยชน์หรอื ไม่

5.2 เนอ้ื หาสาระผูพ้ ดู ไดพ้ ูดได้ชดั เจนและพูดไปตามลาดบั ความสาคัญ ความยากงา่ ยของ เรื่องหรอื พูดออกนอกประเด็น ยกตวั อย่างได้ชดั เจนเพยี งใด การฟงั เพื่อตัดสินใจ

การฟงั เพอ่ื ตดั สินใจเป็นกระบวนการฟังช้นั สูง ผู้ฟังมคี วามสามารถจะตดั สินใจเลือกสิง่ ทีด่ ีทส่ี ดุ ที่ได้ จากการฟงั นาไปใชใ้ ห้เกดิ แประโยชน์ หรอื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ติ น ผฟู้ ังจะต้องรู้จักใช้กระบวนการคิดชว่ ย

ในการตัดสินใจแก้ปญั หา หรอื เลอื กแนวทางในการนาส่ิงใดสิง่ หน่ึง กระบวนการ คดิ ที่เป็นระบบนนั้ ต้อง ประกอบดว้ ยข้อมูลสามด้าน คือ

1. ข้อมูลเกีย่ วกบั ตนเอง ตอ้ งรจู้ ักตนเองอยา่ งท่องแท้ โดยพิจารณาข้อมลู ทุกด้าน เช่นดา้ นสุขภาพ

รา่ งกาย ความรู้ วยั สถานภาพทางสังคม เศรษฐกจิ เปน็ ตน้ 2. ขอ้ มลู เก่ยี วกับสังคมและสิง่ แวดลอ้ ม คอื พจิ ารณาผู้อื่น สิ่งอื่นๆเช่นสภาพแวดล้อทางชมุ ชน ภมู ิ

ประเทศคุณธรรม ศีลธรรมจรรยาค่านิยม สังคมตลอด จนธรรมเนยี มประเพณี เป็นตน้ 3. นาขอ้ มลู เกย่ี วกบั ด้านวิชาการมาพิจารณารว่ มด้วยเพื่อตดั สินเรอื่ งใดเรื่องหนึ่งได้ถูกต้อง

แหลง่ ทม่ี า : http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn2/20.pdf

ใบงานครั้งที่ ๒

กลมุ่ สาระความรพู้ ื้นฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

คร้ังที.่ .........๒.........สอนวันที่ …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

1. .ใหน้ ักศึกษาบอกหลกั ในการฟงั และการดูอยา่ งสรา้ งสรรค์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

๒. วิจารณญาณในการฟังและพูด หมายถงึ .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ๓. ข้นั ตอนในการฟังและพดู อยา่ งมวี ิจารณญาณ คือ

.............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ๔. บอกความหมายของคาตอ่ ไปนี้

๔.1 การวิเคราะห์ หมายถงึ

.............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

.2 การวินจิ หมายถึง .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................

5.3 การวจิ ารณ์ หมายถึง .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลมุ่ สาระความรพู้ ้นื ฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรเู้ รื่องที่ 2 การอา่ น เวลา 6 ชว่ั โมง

ครัง้ ที.่ .......๓...........สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั 1. สามารถอ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ จัดลาดับความคิดจากเรื่องท่ีอ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถนิ่ สานวน สภุ าษิตทม่ี อี ยู่ในวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรม

ท้องถน่ิ 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ คา่ องค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั วรรณกรรม

ท้องถนิ่ 4. สามารถคน้ ควา้ หาความรูจ้ ากสอ่ื สิง่ พิมพ์และสอ่ื สารสนเทศ 5. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้มู ีมารยาทในการอา่ น และนสิ ัยรกั การอา่ น

ตวั ชี้วัด 1. ตีความ แปลความ และขยายความเรอ่ื งทอี่ า่ น 2. วิเคราะห์ วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความคิดและความเป็นไปไดข้ องเรอ่ื งท่อี ่าน 3. อธบิ ายความหมายของภาษาถ่ิน สานวน สุภาษติ ที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ ัน

วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ 4. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ประเมนิ คา่ วรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ในฐานะ ทเ่ี ปน็

มรดกทางวฒั นธรรม ของชาติ แล้วนาไปประยุกต์ ใชใ้ นการดาเนินชีวติ 5. เลือกใช้สอ่ื ในการค้นควา้ หาความรู้ที่หลากหลาย 6. มมี ารยาทในการอ่านและมีนิสยั รักการอ่าน

สาระสาคญั การอา่ นเพ่ือตคี วาม แปลความ ขยายความ ความหมายของภาษาถิน่ สานวน สภุ าษิต องค์ประกอบ

ของการประเมนิ ค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั และวรรณกรรมท้องถิน่ ตลอดจนมารยาทในการอา่ น

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักศกึ ษาสามารถอ่านตีความ แปลความ และขยายความเร่อื งทอ่ี ่านได้ 2. นกั ศึกษาสามารถวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผล การลาดบั ความคิดและความเปน็ ไปไดข้ อง

เร่อื งท่ีอ่านได้ 3. นกั ศึกษาสามารถอธบิ ายความหมายของภาษาถิ่น สานวน สภุ าษติ ท่ีปรากฏในวรรณคดี

วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรมท้องถิ่นได้ 4. นักศกึ ษาสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ประเมินค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ใน

ฐานะ ทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ของชาติ แลว้ นาไปประยุกต์ ใช้ในการดาเนินชวี ิต 5. นักศึกษาสามารถเลอื กใช้สอ่ื ในการค้นคว้าหาความรทู้ ี่หลากหลาย 6. นักศึกษาบอกมารยาทในการอ่านทด่ี ีและมนี สิ ัยรกั การอา่ น

สาระการเรยี นรู้ 1. หลักการตคี วาม แปลความและขยายความ 2. การอ่านบทประพันธท์ ่ีไพเราะทงั้ รอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรอง 3. การอา่ นวรรคตอน ในวรรณคดี จากเร่อื ง ขนุ ช้างขนุ แผน พระอภยั มณี อเิ หนา นิทานเวตาล

นิราศ พระบาท นิราศภูเขาทอง รา่ ยยาวมหาเวสสันดรชาดก มัทนพาธา พระมหาชนก (ทศชาติชาดก) 4. หลกั การวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ันและวรรณกรรมท้องถ่นิ

เชน่ วรรณกรรมปจั จุบนั ไดแ้ ก่ บทละครโทรทัศน์ นวนยิ าย เร่อื งส้นั บทเพลงตา่ งๆ วรรณกรรมท้องถิ่น ได้แก่ ไกรทอง นางสิบสอง ปลาบู่ทอง ผาแดงนางไอ่คา ละครจักรๆ วงศ์ๆ ฯลฯ

5. การมมี ารยาทในการอ่าน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่รูใ้ ฝเ่ รยี น ศึกษาใบความรู้ จากแบบเรียน 2. มีวนิ ยั ทางานตามทีค่ รูมอบหมายไดท้ นั เวลา 3. ขยัน มุ่งมน่ั ในการทางาน ทาใบงาน ทากิจกรรมกลมุ่ 4. มคี วามสามัคคี มีนา้ ใจ มีความรับผิดชอบ ชว่ ยเหลอื กนั ทากจิ กรรมกลุ่ม

กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหา ความตอ้ งการ 1.ครูและนักศึกษารว่ มกนั พูดคุยแลกเปล่ยี นประสบการณท์ ่มี ีเก่ยี วกบั การอ่านประเภทต่างๆเชน่ การอา่ นนว นยิ าย การอ่านบทความ การอา่ นคาประพนั ธ์ 2.ครูใหน้ ักศึกษาดตู วั อย่างการอ่านวรรณกรรมจากVDO 3.ครูแนะนาการอา่ นที่ถกู ตอ้ งและรวบรวมปญั หาตา่ งๆท่พี บจากการอ่านในชีวิตประจาวันโดยเปิดส่ือVDO

ขั้นท่ี 2 ข้ันแสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรยี นรู้ (180 นาท)ี ๑ ครูสนทนากบั นกั ศกึ ษาเก่ียวกบั นิทาน ว่ามเี รื่องใดทนี่ า่ สนใจบ้างและนิทานเร่อื งให้ที่นักศึกษาชอบ ให้ นักศึกษาแต่ละคนแสดงความคดิ เห็นของตนเอง ๒ ครอู ธบิ ายวธิ กี ารอา่ นนิทานเก่ยี วกบั วธิ สี งั เกตและวธิ คี ดิ ใหน้ กั ศึกษาเข้าใจ ๓ ครูโยงเขา้ สู่เน้อื หาการอา่ นเชงิ วเิ คราะห์จากนิทาน เร่อื ง “ทาไมชา้ งถงึ ตาเล็กและเสอื ถึงมีลาย” 4 ครเู ตรียมใบความรู้ใหน้ ักศึกษา 5 แบง่ นักศกึ ษาออกเปน็ ๑๐ กลุ่ม ๆ ละ ๔ คน โดยคละความสามารถทั้งคนเรยี นเกง่ ปานกลาง และ อ่อน 6 ใหน้ ักศึกษาอา่ นจากเนอื้ หาที่กาหนดให้ เริ่มจากการอา่ นครา่ วๆ โดยตลอดก่อน แลว้ อ่านโดยละเอยี ดอีก รอบ และอ่านซ้าในเนื้อหาทีไ่ ม่เข้าใจ 7 ครใู หแ้ ตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั คิดวิเคราะหจ์ าแนก และจบั ใจความสาคญั ของเรื่องให้ได้ว่า ใคร ทาอะไร ที่ ไหน เมื่อไหร่ อยา่ งไร และเป็นผลอยา่ งไร 8 ครใู ห้นกั ศึกษาในกลมุ่ ชว่ ยกนั วเิ คราะห์เนอ้ื หาจากนทิ าน เรอ่ื ง ทาไมช้างถึงตาเลก็ และเสือถึงมีลาย แล้ว สรุปเรอ่ื งโดยเขียนเปน็ แผนผังความคดิ ลงบนกระดาษปรู๊ฟ 9.ใหน้ กั ศึกษาสง่ ตัวแทนอภปิ ราย

10.ครูและผเู้ รยี นแลกเปลย่ี นความรู้ และอภิปรายสรปุ ร่วมกัน 11.ครูให้ผูเ้ รียนแต่ละคนแต่งนทิ านขึ้นเองพร้อมวาดภาพประกอบให้สวยงามและอา่ นเป็นภาษาถิน่ ของตวั ผเู้ รยี นเอง 12.ครูและผู้เรยี นแลกเปล่ยี นความรู้ และอภิปรายสรุปรว่ มกัน 13.ครูสรปุ ถงึ วิธกี ารอ่านกบั ผู้อกี ครัง้ พร้อมกับแจกใบงานการอ่าน

ขน้ั ท่ี 3 การปฏบิ ตั แิ ละนาไปประยุกต์ใช้ (120 นาที) 1.ครูยกตัวอยา่ งนิราชภเู ขาทองใหน้ กั ศึกษาดูและอา่ นพร้อมๆกันละช่วยกนั แปลงเป็นรอ้ ยแกว้ 2.ครูแจกบทวรรคตอนจากวรรณคดใี หแ้ ตล่ ะกลมุ่ แล้วถอดเป็นรอยแก้วและอา่ นเพอื่ แลกเปล่ยี นความรู้ 3.ครูให้ผูเ้ รียนคน้ ควา้ วรรณคดไี ทย ๑ เร่ือง เช่น ขุนช้างขุนแผน พระอภยั มณี อิเหนา นิทานเวตาล นิราศ พระบาท นิราศภเู ขา ทอง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก มัทนพาธา พระมหาชนก (ทศชาตชิ าดก) เพ่ือมาเรียนรูใ้ นการพบกลุ่มคร้งั ถดั ไป ขั้นท่ี 4 การประเมินผลการเรียนรู้ 1.ประเมินการวเิ คราะห์จากการอ่านจากนทิ านทีแ่ ตง่ ขน้ึ เอง 10คะแนน 2.กิจกรรมกล่มุ 10 คะแนน 3.ใบงาน 10 คะแนน 4.การมาพบกลุ่ม 10 คะแนน สือ่ การเรียนการสอน

1. ใบความรู้ 2. หนงั สอื แบบเรียน 3. ใบงาน

การวดั ผลประเมนิ ผล วิธกี ารวดั 1. สงั เกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นรู้ 2. วัดความรู้จากการทากจิ กรรมในใบงาน เครอื่ งมือ 1. ใบงาน

เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1. นกั ศกึ ษามีผลคะแนนในการทดสอบไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 2. การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมกลุม่

แหลง่ การเรียนร/ู้ สบื ค้นข้อมูลเพิม่ เติม 1.หอ้ งสมดุ ประชาชน

2. กศน.ตาบล 3. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

4. internet

ลงช่อื ………………………………………….ครผู ู้สอน ว่าที่ร้อยโท……………………………………… () (ประวิตร จินตประสาท) ผ้อู านวยการ กศน.บาเจาะ ตาแหนง่ ………………………………………………

ใบความรู้ คร้ังท่ี ๓

กลุม่ สาระความร้พู ื้นฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรเู้ ร่อื งที่ ๓ การอา่ น เวลา 6 ช่ัวโมง

ครั้งที่...................สอนวนั ท่ี …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

หลักการอ่าน ลักษณะของคนทีอ่ า่ นหนังสือเป็น 1. อ่านแลว้ รู้เรอื่ งราวได้ตลอดแจ่มแจ้ง คอื อา่ นแลว้ จบั ใจความของเรื่องได้ หรือ รเู้ ร่อื งไดโ้ ดยตลอด

2. ได้รับรสชาตขิ องการอา่ น คอื อ่านแล้วเกิดความซาบซึง้ ตามเน้ือหา เกิดอารมณร์ ่วมไปกับเรือ่ งท่ีอ่าน 3. วนิ จิ ฉัยคณุ ค่าของสิ่งทีอ่ า่ นได้ คือ เหน็ ประโยชนข์ องเนอ้ื หาท่ีอา่ น 4. รจู้ กั นาส่งิ ที่เปน็ ประโยชนจ์ ากเรอื่ งท่อี า่ นมาใช้เหมาะสมกับสถานการณ์

5. รู้จักเลอื กหนังสือทอ่ี า่ นไดเ้ หมาะสมตามความต้องการในแตล่ ะโอกาส ประเภทของการอ่าน มี 2 ประเภทคือ

1. การอ่านออกเสยี ง คอื การอ่านท่ีผู้อื่นสามารถไดย้ นิ เสยี งอ่านด้วย 2. การอ่านในใจ ใจความสาคัญ หมายถงึ ขอ้ ความทเี่ ปน็ แกนหรือหัวใจของเรือ่ ง

ความหมายของคามี 2 อยา่ ง คือ ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย 1. ความหมายโดยตรง เปน็ ความหมายตามรูปคาท่กี าหนดข้นึ และรับรู้ได้

เข้าใจตรงกนั คาพ้อง 3 มลี ักษณะ คอื 1. คาพ้องรูป คอื คาที่สะกด(เขยี น) เหมอื นกันแตอ่ อกเสยี งตา่ งกัน เช่น

เพลารถ กับ เพลาเย็น (เพ-ลา) 2. คาพ้องเสียง คอื คาท่ีออกเสียงเหมอื นกนั แต่สะกดตา่ งกัน เช่น

การ กาน กานต์ กานท์ กาล กาฬ การณ์ กาญจน์ 3. คาพอ้ งรูปพ้องเสยี ง คอื คาทีส่ ะกดเหมือนกนั และออกเสียงเหมอื นกนั

แตม่ ีความหมายตา่ งกนั เช่น

ฉัน หมายถงึ ตัวของเรา ฉนั หมายถงึ กนิ ทาน ใช้กบั พระสงฆ์ เชอ่ื ม หมายถึง ทาให้มรี สหวาน เชื่อม หมายถึง ทาให้ติดเป็นเน้ือเดยี วกนั

2. ความหมายโดยนัย (ความหมายรอง หรือ ความหมายแฝง) เปน็ ความหมายทีส่ ่ือหรอื นาความคิดให้เกี่ยวโยงไปถึงบางสิ่งบางอยา่ ง ทีล่ ักษณะหรอื คุณสมบัติเหมอื น

ความหมายโดยตรง เช่น ขาทางานเอาหน้า (หมายถงึ ทางานเพอื่ ผลประโยชน์ของตวั เอง) นกั การเมืองชอบ

สาดโคลนให้กัน (หมายถึง พดู ใหร้ า้ ย) บ้านนร้ี วยแต่เปลอื ก (ไม่รวยจรงิ ) สานวน หมายถึง ขอ้ ความทม่ี ีความหมายพิเศษไปจากคาท่ีประกอบอย่ใู นขอ้ ความนั้นไม่ได้มี

ความหมายตามรปู คา มีความหมายเปน็ เชงิ เปรยี บเทยี บ ต้องอาศัยความตีความ เชน่ อ้อยเขา้ ปากช้าง หมายถงึ ของทไ่ี ปอยใู่ นมือของคนอนื่ แล้วเอาคืนไม่ได้ ววั หายลอ้ มคอก หมายถงึ เมื่อเกิดความเสยี หายแล้วจงึ คดิ ป้องกนั ชี้นกบนปลายไม้ หมายถงึ การพูดถงึ สิง่ สดุ วิสยั ทจ่ี ะทาได้ แขวนนวม หมายถึง เลกิ สิ่งท่ีทามากอ่ น

งามหน้า หมายถึง ทาสง่ิ ทขี่ ายหนา้ จนตรอก หมายถึง หมดหนทางท่ีจะหนี ท้งิ ทวน หมายถึง ทาดีท่สี ุดเป็น ครงั้ สุดท้าย บอกศาลา หมายถงึ บอกเลิก ตดั ขาดไม่คบคา้

พระอฐิ พระปนู หมายถงึ ทานง่ิ เฉยไม่เดอื ดร้อน ลอยแพ หมายถึง ถูกไล่ออก ปลดออก

คาพงั เพย หมายถึง ถอ้ ยคาท่ีกล่าวขน้ึ มาลอยๆ เป็นกลางๆมคี วามหมายเปน็ คติสอนใจวสามารถนาตีความแล้ว นาไปใช้พดู เชน่

-ราไม่ดีโทษป่โี ทษกลอง หมายถึง คนท่ที าผดิ เองแต่ไปกลา่ วโทษคนอ่ืน ขชี่ ้างจับต๊กั แตน หมายถึง การ ลงทนุ มากเพือ่ งานท่ไี ดผ้ ลน้อย ไมง้ ามกระรอกเจาะ หมายถงึ หญิงสวยทมี่ มี ลทนิ มอื ไมพ่ ายเอาเท้ารา

นา้ หมายถงึ ไมช่ ่วยแลว้ ยังขัดขวาง คาพงั เพยท่ีมีความหมายเชงิ เปรียบเทียบ เช่น ไก่งามเพราะขน คนงาน เพราะแต่ง ตกั นา้ ใสก่ ระโหลกชะโงกดูเงา หนเี สือปะจระเข้ มือไม่พายเอาเท้ารานา้ คาอปุ มาอปุ ไมย หมายถงึ ถอ้ ยคาทีเ่ ป็นสานวนพวกหนึง่ เป็นทานองเปรียบเทียบให้เห็นจรงิ เข้าใจและเกิดแจม่

แจ้ง ภาพพจนช์ ดั เจน เชน่ ดเุ หมอื นเสือ ขรุขระเหมือนผิวมะกรดู แข็งเหมอื นเพชร กรอบเหมอื นขา้ วเกรียบ กลมเหมือนมะนาว ใจดาเปน็ อกี า บริสทุ ธิเ์ หมือนหยาดน้าคา้ ง ตาดาเปน็ นลิ หน้าขาวเหมอื นไขป่ อก

การตคี วาม เป็นความเขา้ ใจความหมายของคา สานวน ขอ้ ความหรือเนอื้ หาซึ่งไม่ไดม้ คี วามหมายตามตัวอกั ษร เปน็ ส่งิ ทีต่ อ้ ง อาศัยประสบการณ์ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ประเภทร้อยแก้ว ได้แก่ บทความ ข่าว ประกาศและโฆษณาต่างๆ

2. ประเภทร้อยกรอง ได้แก่ กลอนต่างๆ โวหาร โวหาร หมายถึง การใช้ถ้อยคาอย่างมีช้ันเชงิ เพ่อื กล่าวความ

ใหเ้ ป็นเรือ่ งราว มี อยู่ 5 ลักษณะคือ 1. บรรยายโวหาร หมายถึง โวหารที่ใช้และการอธบิ ายเล่าเรอ่ื งราวเหตุการณ์ เพอื่ ให้ผ้อู ่านได้รับความรู้ 2. พรรณโวหาร คือ โวหารทก่ี ล่าวถึงความงานของธรรมชาติ หรือส่งิ ตา่ งๆ เพื่อให้ผอู้ ่านเกิดความซาบซ้ึงและ

อารมณ์คลอ้ ยตาม 3. เทศนาโวหาร เป็นโวหารที่แสดงการสง่ั สอนหรือชกั จูงใหผ้ ้อู า่ นคล้อยตาม ชแ้ี นะคณุ และโทษ

4. อปุ มาโวหาร คอื การใช้โวหารเปรยี บเทียบ ประกอบขอ้ ความ เพอื่ ให้ผูอ้ ่านเข้าใจชดั เจนย่งิ ขน้ึ 5. สาธกโวหาร คือ โวหารทย่ี กเปน็ ตัวอยา่ งมาประกอบข้อความเรือ่ งราวใหเ้ ข้าใจชัดเจนย่ิงขึน้

ใบงาน คร้ังที่ 3

กลุ่มสาระความร้พู น้ื ฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรเู้ รอื่ งที่ 2 การอา่ น เวลา 6 ชว่ั โมง

คร้ังที่...................สอนวนั ท่ี …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความสาคัญของการอา่ น

.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

2. วิจารณญาณในการอ่าน หมายถงึ ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ...... ..................................................................................................................................................................... 3. ขัน้ ตอนของการใช้วจิ ารณญาณในการอ่าน

.............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

4. หลักการใช้วิจารณญาณในการอ่าน ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

5. การอา่ นตคี วาม ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 6. การอา่ นขยายความ

.............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................ 7. การอา่ นจับใจความหรือสรปุ ความ ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลุม่ สาระความรพู้ ื้นฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจดั การเรียนรู้เร่ืองที่ 4 หลักการใช้ภาษา เวลา 6 ชวั่ โมง

ครั้งที่............4......สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ 1. รู้และเข้าใจธรรมชาติของภาษา

2. สามารถใช้ภาษาสรา้ งมนษุ ยสัมพนั ธ์ในการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ผู้อ่นื และใชค้ าราชาศพั ท์ คาสภุ าพ ได้ถกู ตอ้ งตามฐานะของบุคคล ตวั ชว้ี ัด

1. อธบิ ายธรรมชาติของภาษา และใช้ประโยคตามเจตนา ของการสอื่ สาร 2. เลอื กใช้ถ้อยคา สานวนสุภาษิต คาพังเพยใหต้ รงความหมาย

3. ใช้ประโยคได้ถูกตอ้ งตามเจตนาของผู้ส่งสาร 4. ใชค้ าสภุ าพ และคาราชาศพั ท์ให้ถกู ตอ้ งตามฐานะและบคุ คล 5. แตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทรอ้ ยกรองได้

สาระสาคัญ หลกั การใชภ้ าษา

ธรรมชาตขิ องภาษา การใช้ถ้อยคา ประโยค สานวน สภุ าษิต คาพังเพย คาสุภาพ คาราชาศพั ท์ จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา และใช้ประโยค ของการส่อื สารไดอ้ ย่างถูกต้อง

2. นักศกึ ษาสามารถเลอื กใช้ถ้อยคา สานวนสุภาษิต คาพงั เพยให้ตรงความหมายและความเหมาะสม 3. นักศกึ ษาสามารถใชป้ ระโยคท่ีสอ่ื ความหมายต่างๆไดถ้ ูกตอ้ ง

4. นกั ศกึ ษาเลือกใช้คาสุภาพ และคาราชาศพั ท์ให้ถกู ตอ้ งตามฐานะและบคุ คล 5. นักศกึ ษาสามารถแตง่ คาประพันธ์ประเภทร้อยกรองได้ สาระการเรยี นรู้

1. ธรรมชาติของภาษา - การเปล่ียนแปลงของภาษา - ลกั ษณะของภาษา - พลังของภาษา

2. การใช้ถอ้ ยคา สานวน สุภาษิต คาพงั เพย 3. โครงสร้างของประโยค รูปประโยค และชนิดของประโยค 4. ระดบั ภาษา

5. คาสุภาพ 6. คาราชาศพั ท์

7. การแตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทร้อยกรอง คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี น ศึกษาใบความรู้ จากแบบเรียน

2. มวี นิ ยั ทางานตามที่ครูมอบหมายได้ทันเวลา 3. ขยัน มงุ่ มัน่ ในการทางาน ทาใบงาน ทากิจกรรมกลมุ่

4. มคี วามสามัคคี มนี า้ ใจ มคี วามรบั ผิดชอบ ชว่ ยเหลือกนั ทากจิ กรรมกลมุ่ กระบวนการจัดการเรียนรู้

ข้ันท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการ 1. ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ใู หน้ ักศกึ ษาทราบ

2. ครูและนกั ศึกษารว่ มกันพดู คุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ท่มี ีเก่ยี วกับกลกั ภาษา 3. ครูใหน้ ักศึกษาอ่านประโยค ที่ประกอบไปดว้ ยคาภาษาไทย ภาษาเขมร ภาษาบาลีสันสกฤต ใหน้ ักเรียน

สงั เกตวา่ คาใดเป็นคาไทย และคาใดเปน็ คาทม่ี าจากภาษาอนื่ 4. นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ว่าเหตุใดจึงคิดวา่ แถบประโยคท่ี 2เป็นคาไทยสงั เกตจากลกั ษณะใด 5. ใหน้ ักเรยี นศึกษาค้นคว้าเพ่มิ เติมจากหนังสอื เรียน เร่อื งลักษณะของภาษาไทย

6. ครูยกตัวอยา่ งคาขวญั วันเด็กปี2558 ใหผ้ ู้เรียนอ่านพร้อมๆกนั แลว้ วิเคราะห์ถึงความหมาย ข้ันที่ 2 ข้ันแสวงหาข้อมลู และจดั การเรยี นรู้ (180 นาท)ี

1..ครูเช่อื มโยงถงึ วรรณกรรมจากงานครัง้ กอ่ นแลว้ ใหผ้ เู้ รียนค้นควา้ แล้วใหย้ กบทขอ้ ความท่ชี อบหนง่ึ หัวข้อ แลกเปล่ยี นความรู้ 2.ครูอธิบายเรอื่ งโครงสรา้ งประโยค,ข้อความสั้นที่มใี จความสมบรู ณ์ แสดงใหร้ วู้ า่ ใคร ทาอะไร ทไี่ หน อย่างไร

3.ครใู หผ้ ู้เรียนแบง่ กล่มุ ๆละ 4-8คน สง่ ตวั แทนหน้าชั้นเรยี น กลมุ่ ละ 1 คน 4. ครนู าบตั รคามาแสดงหน้าชั้นเรยี นแลว้ ให้ตวั แทน ต่อประโยคทลี ะคนตอ่ กนั จากบัตรคาโดยใหเ้ นื้อหา

ต่อเนื่องกันเพ่อื ใหผ้ ู้เรียนดเู ป็นตวั อย่าง เชน่ ถา้ ฉนั บินได้ 5.ครูกาหนดประโยคและใหแ้ ต่ละกลุ่มเขยี นแล้วส่งต่อใหเ้ ปน็ เร่อื งเดยี วกนั โดยกาหนดกลุม่ ตามกฎกติกาทีค่ รู กาหนดเชน่ กาหนดจานวนพยางค์ กาหนดจานวนพยญั ชนะขึ้นต้น , กาหนดสระ,กาหนดประโยคความเดียว

,ความรวม, ความซอ้ น ใหม้ ีในประโยค 6.ครูสรปุ องคค์ วามรู้ของรูปประโยค

7.ครแู จกบตั รคารปู ภาพให้แต่ละกล่มุ แต่งประโยคจากรูปภาพโดยครูกาหนดในหวั ข้อ ภาคประธาน ภาคแสดง 8. ครูสรปุ ความรเู้ ร่ืองส่วนประกอบประโยค 9. ครูกาหนดคาพงั เพยแลว้ ซกั ถามผูเ้ รยี น

10.ครแู จกบัตรคาพังเพยให้ผู้เรยี นนาพยัญชนะหน้าคาในกลุ่มคา ออกมาสร้างคาใหมแ่ ล้วนาคาใหม่ไปแตง่ ประโยคให้ได้ใจความสมบูรณ์

11. ครรู ่วมกบั นกั ศึกษา โดยครใู ห้ข้อสงั เกตเก่ยี วกับบตั รคาในแต่ละคู่ว่ามีความสอดคล้องกนั อยา่ งไร 12. ครอู ธิบายใหน้ กั ศกึ ษาเข้าใจความสาคญั ของภาษา ซึ่งเป็นการสือ่ สารดว้ ยลายลักษณอ์ ักษรเพ่ือส่ือ ความหมายให้ผู้อื่นเขา้ ใจไดต้ รงตามความตอ้ งการ

13. ให้นกั ศึกษาศกึ ษาความรู้เรื่อง การใช้ภาษาประกอบ จากหนังสอื เรยี น และแจกใบงานเรื่องหลักภาษา ขน้ั ที่ 3 การปฏิบตั แิ ละนาไปประยุกตใ์ ช้(120 นาที)

1. ครใู หผ้ ู้เรียนเขียนเลอื กเขยี นคาประพันธ์ประเภทร้อยแกว้ ในหวั ข้อเรอื่ ง อาหารไทยเพือ่ สขุ ภาพ,เทคโนโลยี กับชวี ิตประจาวัน, ธรรมชาตกิ บั ชีวติ , ความรกั ของพอ่ แม่ 2. ครูมอบหมายใหน้ ักศึกษาออกแบบและเขียนบัตรอวยพรปีใหม่ ถ้อยคาทเี่ ปน็ มงคล พร้อมระบายสี และ

ตกแตง่ ให้สวยงาม 3. นกั ศึกษาและครรู ว่ มกนั กาหนดระยะเวลาในการส่งผลงานรว่ มกนั

ข้นั ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1.บัตรอวยพรปใี หม่ 10 คะแนน 2.กจิ กรรมกลุม่ 10 คะแนน

3.ใบงาน 10 คะแนน 4.การมาพบกล่มุ 10 คะแนน

เติมเตม็ องค์ความรพู้ ร้อมมอบหมายงาน สือ่ การเรียนการสอน

1. ใบความรู้ 2. หนงั สอื แบบเรียน การวดั ผลประเมินผล วธิ กี ารวัด 1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นรูแ้ ละกจิ กรรมกลุ่ม 2. วัดความรูจ้ ากการทากิจกรรมในใบงาน เครือ่ งมือ 1. ใบงานกิจกรรมกลมุ่ 2. ใบงาน เกณฑ์การวัดผลประเมนิ ผล 1. นักศึกษามีผลคะแนนในการทดสอบไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 50 2. การมีส่วนร่วมในกจิ กรรมกลุ่ม

แหล่งการเรยี นร้/ู สืบค้นข้อมลู เพ่มิ เติม 1.ห้องสมดุ ประชาชน 2. กศน.ตาบล 3. แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 4. internet

ลงชอ่ื ………………………………………….ครูผู้สอน วา่ ทรี่ อ้ ยโท……………………………………… () (ประวิตร จินตประสาท)

ตาแหนง่ ……………………………………………… ผอู้ านวยการ กศน.บาเจาะ

ใบความรู้ครงั้ ท่ี 4

กลมุ่ สาระความรู้พ้ืนฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

แผนการจดั การเรยี นรเู้ รื่องที่ 4 หลกั การใชภ้ าษา เวลา 6 ช่วั โมง

ครั้งท.่ี ...........4.......สอนวนั ที่ …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาตขิ องภาษา

1. ภาษาในความหมายอยา่ งแคบ คอื ภาษาพดู ของคน 2. ทุกวันนี้ ยงั มีอีกหลายภาษาทไ่ี มม่ ีภาษาเขยี น 3. แตล่ ะกลุ่มกาหนดภาษากันเอง เสยี งในแต่ละภาษาจงึ มีความหมายไมต่ รงกัน

4. ลักษณะของภาษาทวั่ ๆ ไป 1. มีเสียงสระและพยญั ชนะ (วรรณยุกต์มีบางภาษาเช่น ไทย,จีน)

2. ขยายให้ใหญ่ขึน้ ได้ 3. มีคานาม, กริยา, คาขยาย 4. เปล่ยี นแปลงได้

5. ภาษาเปลีย่ นแปลงได้ เพราะสาเหตุหลายข้อ เช่น สง่ิ แวดลอ้ มเปลีย่ น เชน่ ขายตัว ศักดนิ า จริต สาส่อน แกลง้ หม่ การพูด ได้แก่ การกรอ่ นเสยี ง และกลมกลืนเสียง

กร่อนเสยี ง เชน่ "หมากพรา้ ว" กร่อนเป็น"มะพรา้ ว" กลมกลืนเสยี ง เช่น"อย่างไร" กลืนเสียงเปน็ "ยงั ไง" เสียงในภาษาไทย

อักษรควบ - อักษรนา อกั ษรควบ มี 2 แบบ คอื

ควบแท้ -> ออกเสียงพยัญชนะต้นทงั้ 2 เสยี ง เช่น ปลา ครีม เป็นตน้ ควบไมแ่ ท้ -> ออกเสยี งพยัญชนะต้นตัวแรกตัวเดยี ว มี 2 กรณี ดังน้ี

- แสร้ง จรงิ เศรษฐี เศรา้

- ออกเสียง ทร เป็นซ เช่น ไทร ทราย ทรุด อักษรนา คอื คาที่

- อ่านหรือเขียนแบบ มี "ห" นาพยัญชนะตน้ อกี ตวั เชน่ หลอก หรู หนี หวาด ตลาด(ตะ-หลาด) ปรอท(ปะ- หรอด) ตลก(ตะ-หลก) ดเิ รก(ดิ-เหรก)

- รวมทัง้ คาว่า " อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก”

เสยี งพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะต้น คือ เสียงท่ีนาเสียงสระ

เสยี งพยญั ชนะตน้ มอี ยู่ 2 ประเภท คือ 1. เสียงพยญั ชนะเดย่ี ว = ออกเสยี งเสยี งพยัญชนะต้นเสียงเดียว เชน่ มา วนิ ตี นุก หมู 2.เสียงพยัญชนะประสม ออกเสียงเสียงพยญั ชนะตน้ สองเสียงควบกนั เช่น กราบ ความ ปราม ไตร

- ผิ ออกเสยี งพยญั ชนะตน้ 1 เสยี ง คือ /ผ/ - ผลิ ออกเสยี งพยัญชนะต้น 1 เสยี ง คือ /ผล/

- ผลิต ออกเสยี งพยญั ชนะตน้ 2 เสียง คือ /ผ/ , /ล/ (คอื เวลาออกตอ้ งแยกวา่ ผะ-หลิด).เสียงพยัญชนะ ตวั สะกด (พยญั ชนะท้าย)

เสยี งพยัญชนะทา้ ย เสียงพยญั ชนะท่อี ยหู่ ลังเสยี งสระ เสียงพยญั ชนะทา้ ย มี 8 เสียง คือ

แม่กก แทนด้วยเสียง /ก/ แมก่ ด แทนดว้ ยเสียง /ต/ แมก่ บ แทนด้วยเสยี ง /ป/ แม่กม แทนดว้ ยเสยี ง /ม/ แม่ กน แทนด้วยเสยี ง /น/ แม่กง แทนด้วยเสียง /ง/ แมเ่ กย แทนด้วยเสยี ง /ย/ แมเ่ กอว แทนด้วยเสยี ง /ว/

เชน่ นาค เสียงพยญั ชนะทา้ ย ช /ก/ รด เสยี งพยัญชนะท้าย = /ต/ เสียงสระ 1.เสยี งสระส้ัน ยาวให้ดูตอนทอี่ อกเสยี งอย่าดูท่รี ปู เชน่ วัด ออกเสยี งสระสน้ั ช่าง สระสัน้ เท้า สระยาว เนา่

สระสั้น น้า สระยาว ช้า สระสน้ั 2.เสยี งสระ มี 2 ประเภท คอื

สระประสม มี 6 เสียง คือ อวั ะ อัว เออื ะ เออื เอียะ เอยี สระเด่ยี ว มี 18 เสยี ง คอื สระทไ่ี มใ่ ช่ อัวะ อัว เอือะ เออื เอียะ เอีย 5.เสยี งวรรณยุกต์ มี 5 ระดบั คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

6.พยางค์ คือ เสยี งท่ีออกมา 1 ตรัง้ มี 2 ประเภท คือ พยางคเ์ ปิด พยางคท์ ี่ไมม่ ตี ัวสะกด เช่น เธอ มา ลา สู่

พยางค์ปิด พยางคท์ ม่ี เี สียงตัวสะกด เชน่ ไป รบ กับ เขา คา 1.คามลู = คาดง้ั เดมิ เชน่ กา เธอ ว่งิ วุน่ ไป มา

2.คาซ้า = คามูล 2 คาท่เี หมอื นกันทุกประการ คาท่ีสองเราใสไ่ ม้ยมกแทนได้ เชน่ วงิ่ วงิ่ (วงิ่ ๆ) นอ้ งนอ้ ง (น้องๆ) บางทคี าที่เหมือนกันมาชิดกนั ไม่ใชค่ าซา้ เพราะความหมายไมเ่ หมอื นกัน เชน่ เขามีท่ีท่ีบางนา

3.คาซ้อน (คาคู)่ คามูลท่ีมีความหมายเหมือนหรอื คลา้ ยไมก่ ็ตรงขา้ มมารวมกนั เช่น เก็บออก จติ ใจ ผู้คน สรา้ งสรรค์ ขนมนมเนย ถ้วยชาม แขง็ แรง เดด็ ขาด ตดั สนิ ดึงดัน ช่วั ดี ถี่หา่ ง 4.คาประสม คามลู 2 คามารวมกนั เป็นคาใหม่ และคาใหมน่ ัน้ มีเค้าความของคาเดมิ ทน่ี ามารวมกนั เช่น นา้ พริ

ปลาทู ขนมปัง ไส้กรอก ไกย่ ่าง ผา้ พันคอ เข็มฮีกยา เลือกตงั้ เจาะขา่ ว โหมโรง ปากหวาน 5.คาสมาส คาบาลี+สันสกฤต 2 คามารวมกัน (บาลที ัง้ คู่ก็ได้ สันสกฤตทัง้ คูก่ ไ็ ด้ คาบาลี+สนั สกฤตก็ได้) ถ้าคาที่

เอามารวมกันเปน็ คาภาษาอ่นื ท่ีไม่ใช่ภาษาบาลี สันสกฤต กจ็ ะไม่ใช่คาสมาส วิธีสังเกตคาสมาสอยา่ งง่าย คอื คาสมาสจะอา่ นเนื่องเสยี งระหวา่ งคา ก็คอื เวลาอา่ นตรงกลางจะออกเสียงสระ ด้วย เชน่ ราช(ชะ)การ อบุ ตั ิ(ติ)เหตุ

6.คาสนธิ คาสมาสประเภทที่เราเอาพยัญชนะตัวสุดทา้ ยของคาหนา้ ไปแทนท่ี"อ"ตวั แรกของคาหลงั เชน่ ชล+อาลัย = ชลาลยั ศิลป + อากร = ศิลปากร

วธิ ีการจะดูวา่ คาไหนเปน็ คาสมาสหรอื สนธิ คอื แยกคา 2 คาออกจากกัน - ถา้ แยกออกเปน็ คาได้เลย = คาสมาส - ถา้ แยกแลว้ ต้องเติม"อ" ไปที่คาหลัง = คาสนธิ

ชนดิ ของคา 1.คานาม คอื คาที่ใช้เรียกชื่อส่ิงต่าง ๆ เชน่ ตู้ โต๊ะ เกา้ อ้ี

2.คากรยิ า คอื คาแสดงการกระทา เชน่ เดิน น่ัง วง่ิ นอน คยุ กนิ 4.คาวเิ ศษณ์ คอื คา ขยาย เช่น แดง ดา สงู ต่า เปร้ยี ว หวาน 5.คาเช่ือม มี 2 ประเภท คือ บุพบท สันธาน วิธดี ูใหด้ ขู ้อความท่ีตามมา

สันธานจะต้องตามดว้ ยประโยค เชน่ ปลาหมอตายเพราะปากไม่ดี บุพบทจะตามด้วยขอ้ ความท่ีไม่ใช่ประโยค เช่น ปลาหมอตายเพราะปาก

โครงสร้างของคา ชนดิ ของคาเอามารวมกัน เช่น แม่บ้าน = แม่ + บ้าน = นาม + นาม ทองแดง = ทอง + แดง = นาม + วิเศษณ์ ตม้ ยา = ต้ม + ยา = กรยิ า + กรยิ า สามลอ้ = สาม + ล้อ =วเิ ศษณ์ + นาม ห้องรบั แขก = หอ้ ง + รับ +แขก = นาม + กริยา + นาม ประโยค 1.เจตนาประโยคมี 3 อยา่ ง = แจง้ ใหท้ ราบ (บอกเล่า) ถามให้ตอบ (คาถาม) บอกให้ทา (คาสัง่ ) 2.โครงสร้างของประโยค หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ ประธาน กรยิ า กรรม สว่ นขยาย เช่น พอ่ ฉันกันขา้ งเก่งมาก ( ประธาน ขยาย(พ่อ) กริยา กรรม ขยาย(กนิ ) ขยาย(เกง่ ) ) 3.ชนดิ ของประโยค มี 3 ชนิด -ประโยคความเดยี ว : มีประธาน กริยา กรรม อยา่ งละตัว -ประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกนั ใช้คาเช่อื วา่ ที่ ซึ่ง อนั วา่ ให้ -ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกันดว้ ยคาเชอื่ มคาใดกไ็ ด้ ยกเว้น ท่ี ซง่ึ อนั ว่า ให้ (ถ้าใช้ ท่ี ซึ่ง อนั ว่า ให้ เชือ่ ม จะเปน็ ประโยคความซอ้ น) 4.จานวนประโยค -ปกติจบ 1 ประโยค = นับเปน็ 1 ประโยค -ถา้ มคี าเชือ่ มเราคือว่าประโยคน้นั ยงั เป็นประโยคเดียวกบั ข้างหน้า เชน่ เขากนิ ข้าวแลว้ 1 , เขากินข้าวแลว้ ตอนนีเ้ ขาเขา้ นอนแลว้ 2 , เขากินข้าวกอ่ นจะเข้านอน 1 5.วลี คอื กลุ่มคาท่ไี มใ่ ชป่ ระโยค บางทีกอ้ ยาวจนเกือบจะเปน็ ประโยค แตก่ ้อไม่ใช่ประโยค วิธดี ูว่าจะเปน็ วลี หรอื ประโยค ถา้ อา่ นแล้วเหมือนจะไมจ่ บ (ประมาณว่าร้สู ึกตอ้ งมีอะไรตอ่ นะ) แสดงว่าเป็นวลี แตถ่ ้าอา่ นแลว้ รูส้ ึกวา่ มนั จบก็ คอื ประโยค เชน่ แมน้ เราจะอา่ นหนังสอื สอบมากขนานไหน = วลี เธอวิ่งซะจน = วลี กระดาษท่ีวางบนโต๊ะตวั น้นั = วลี เธอกลับบา้ นไปแล้ว = ประโยค ทุกทกุ คราวท่ีมองฟา้ = วลี

ระดับภาษา 1.ระดับภาษามี 5 ระดบั

1.พิธกี าร ใชใ้ นพิธี คาพดู จะดหู รูหรา อลงั การ ดเู ป็นพิธี เชน่ ในศภุ วาระดิถขี น้ึ ปใี หม่ 2.ทางการ ใช้ในเชงิ วชิ ากร ประชมุ ใหญ่ๆ เรื่องทตี่ อ้ งการแบบแผน คาพดู จะเป็นภาษาเขยี น เชน่ ทา่ นเคย คิดหรือไม่วา่ การทาเชน่ นนั้ จะมผี ลเช่นไร 3.กึ่งทางการ ใช้ในทป่ี ระชมุ เลก็ ๆ เร่ืองทต่ี ้องมแี บบแผนบ้าง คาพูจะมีทั้งภาษาเขียนและภาษาพโุ ปน ๆ กัน 4.สนทนา ใช้คยุ กนั ทวั่ ๆ ไปแตก่ อ้ มีความสุภาพด้วยภาษากจ็ ะเปน็ ภาษาท่ีเราใช้คุยกนั 5.กันเอง ใช้คยุ กนั กับคนซี้ ๆ

หลักการใช้ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารในอินเตอร์เนต็ 1.ใชค้ าใหถ้ ูกตอ้ งตรงตามความหมาย กล่าวคือ ก่อนนาคาไปเรียงเข้าประโยค ควรทราบความหมายของคาคา

นนั้ กอ่ น เช่น คาว่า “ปอก” กับ “ปลอก” สองคานม้ี ีความหมายไมเ่ หมอื นกัน คาวา่ “ปอก” เป็นคากริยา แปลว่า เอาเปลือกหรือสิ่งทหี่ ่อห้มุ ออก แต่คาวา่ “ปลอก” เป็นคานาม แปลว่า สิง่ ที่ทาสาหรับสวมหรอื รัดของ

ตา่ งๆ เปน็ ต้น ลองพิจารณาตวั อย่างต่อไปนี้ “วันน้ไี ดพ้ บกบั ท่านอธกิ ารบดี ผมขอฉวยโอกาสอันงดงามน้ีเลยี้ งตอ้ นรับทา่ นนะครับ” (ที่จริงแลว้ ควรใช้

ถอื โอกาส เพราะฉวยโอกาสใช้ในความหมายท่ีไม่ดี

2. ใชค้ าให้เหมาะสม เลือกใช้คาให้เหมาะสมกับกาลเทศะและเหมาะสมกบั บุคคล เช่นโอกาสทีเ่ ปน็ ทางการ โอกาสทเี่ ปน็ กนั เอง หรอื โอกาสท่ีเป็นภาษาเขียน เชน่

“ขา้ พเจา้ ไม่ทราบว่าท่านจะคดิ ยังไง” (คาวา่ “ยงั ไง” เป็นภาษาพูด ถ้าเปน็ ภาษาเขียนควรใช้ “อยา่ งไร” 3. การใช้คาลกั ษณนาม ใช้คาที่บอกลกั ษณะของนามตา่ งๆ ให้ถกู ต้อง เชน่ ปากกา มีลกั ษณนามเป็น ดา้ ม เลอ่ื ย มีลกั ษณะนามเป็น ปื้น ฤๅษี มลี ักษณะนามเป็น ตน เปน็ ตน้

4. การเรยี งลาดับคา เปน็ เร่ืองทส่ี าคญั มากในภาษาไทย หากเรยี งผดิ ทีค่ วามหมายก็จะเปลย่ี นไปด้วย ท้ังน้ี เพราะคาบางคาอาจมีความหมายไดห้ ลายความหมายซง่ึ ขนึ้ อย่กู ับตาแหนง่ ทจ่ี ดั เรยี งไวใ้ นประโยค เช่น

แมเ่ กลียดคนใช้ฉนั ฉนั เกลียดคนใช้แม่ คนใช้เกลยี ดแมฉ่ นั แม่คนใชเ้ กลยี ดฉนั ฉันเกลียดแม่คนใช้ แม่ฉันเกลียดคนใช้

ขอ้ บกพร่องในการเรยี งลาดบั คามักปรากฏดังน้ี - เรยี งลาดบั คาผิดตาแหน่ง เชน่ เขาไม่ทราบสิง่ ท่ีดงี ามน้ัน วา่ คอื อะไร

(ควรเรียงว่า เขาไมท่ ราบ ว่า ส่งิ ท่ดี งี ามนัน้ คืออะไร) - เรียงลาดับคาขยายผิดที่ เชน่ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนดี้ ้วย เปน็ อย่างสูง (ควรเรียงว่า ขอขอบคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนด้ี ้วย)

5. แตง่ ประโยคให้จบกระแสความ หมายถึงแต่งประโยคให้มคี วามสมบรู ณ์ครบถว้ นทั้งสว่ นท่ีเป็นภาคประธาน และภาค แสดง ซง่ึ ประโยคทจ่ี บกระแสความนนั้ จะตอ้ งตอบคาถามวา่ ใคร ทาอะไร ไดช้ ัดเจน สาเหตุทท่ี าให้

ประโยคไม่จบกระแสความอาจเกิดจากขาดคาบางคาหรอื ขาดส่วนประกอบ ของประโยคบางส่วนไป เชน่ เมื่อตอนยังเดก็ เขาชอบนอนหนุนตักแม่ บดั น้ีเขาอายยุ ส่ี บิ กว่าแล้ว (ควรแก้เป็น เม่ือตอนยงั เด็กเขาชอบนอนหนนุ ตักแม่ บัดนี้เขาอายยุ ่ีสิบกว่าแล้วกย็ ังชอบอยู่เหมอื นเดิม)

6. ใช้ภาษาให้ชัดเจน ใช้ ภาษาที่ให้ความหมายเพียงความหมายเดียว เปน็ ความหมายท่ไี มส่ ามารถจะแปล ความเปน็ อย่างอน่ื ได้ เชน่ “คณุ แม่ไมช่ อบคนใชฉ้ ัน” อาจแปลได้ 2 ความหมายคือ คุณแมไ่ ม่ชอบใครก็ตามท่ี

ใช้ใหฉ้ ันทาโน่นทาน่ี หรือคุณแมไ่ ม่ชอบคนรบั ใช้ของฉัน ท้งั นเ้ี พราะคาวา่ “คนใช้” เป็นคาท่ีมหี ลายความหมาย น่ันเอง 7. ใชภ้ าษาให้สละสลวย ใช้ภาษาอยา่ งไพเราะราบรนื่ ฟงั ไมข่ ัดหู และมคี วามกะทัดรดั

- ไมใ่ ชค้ าฟุ่มเฟอื ย หมายถึง การใช้คาทไ่ี มจ่ าเป็น หรือใช้คาทีม่ ีความหมายซา้ ซอ้ น เชน่ “วันนอ้ี าจารยไ์ มม่ าทาการสอน”

คาวา่ “ทาการ” เปน็ คาทไี่ ม่จาเปน็ เพราะแม้จะคงไว้กไ็ มไ่ ดช้ ่วยใหค้ วามหมายชัดเจนขึ้นกว่าเดิม ดังนน้ั จึง ควรแก้ไขเป็น “วันนอ้ี าจารย์ไม่มาสอน”

- ใช้คาให้คงที่ หมายถึง ในประโยคเดียวกัน หรอื ในเนือ้ ความเดยี วกัน ควรใช้คาเดียวกนั ให้ตลอด ดงั

ประโยคตอ่ ไปนี้ “หมอถอื วา่ คนปว่ ยทกุ คนเป็นคนไข้ของหมอเหมือนกัน”

ควรแกเ้ ป็น “หมอถือว่าคนไขท้ กุ คนเป็นคนไข้ของหมอเหมอื นกนั ” - ไม่ใชส้ านวนต่างประเทศ เช่น “มนั เป็นความจาเป็นอยา่ งยงิ่ ที่เขาตอ้ งจากไป” ควรแกเ้ ปน็ “เขาจาเป็นอยา่ งยง่ิ ทตี่ ้องจากไป”

ภาษาแชทท่มี ักใชผ้ ิด

๑. คาที่สะกดผดิ ได้ง่าย เป็นรปู แบบของคาท่มี ีการสะกดผดิ ซง่ึ เกดิ จากคาท่มี ีการผนั อักษรและเสียงไมต่ รงกับ รปู วรรณยุกต์ เช่น สนุ้กเกอร์ = สน๊กุ เกอร์ โน้ต = โน๊ต ๒. คาท่ีสะกดผดิ เพื่อใหแ้ ปลกตา หรอื งา่ ยตอ่ การพิมพ์ (ทาให้พิมพ์ไดเ้ ร็วขึน้ ) เช่น หน=ู นู๋ ผม = ปม๋ ใชไ่ หม = ชิมิ เปน็ = เปง ก็ = กอ้ คะ่ ,ครบั = คระ่ ,คบั ๓. การลดรูปคา เป็นรปู แบบของคาที่ลดรูปให้สัน้ ลงมใี ชใ้ นภาษาพดู เชน่ มหาวิทยาลัย = มหา’ลยั ,มหาลยั โรงพยาบาล = โรงบาล ๔. คาท่ีสะกดผิดเพอื่ ให้ตรงกบั เสียงอ่าน เช่น ใชไ่ หม = ใชม่ ้ยั ๕. คาที่สะกดผิดเพอ่ื แสดงอารมณ์ เช่น ไม่ = มา่ ย ไปไหน = ปายหนาย นะ = น้า ค่ะ,ครับ =ครา่ ,คร๊าบ จ้ะ = จร้า

นอกจากนีย้ งั สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มท่ีใช้ในการพูด และกลมุ่ ท่ีใช้ในการเขยี น ๑. กลมุ่ ท่ีใช้เวลาพูด

เปน็ ประเภทของภาษาวิบตั ิทีใ่ ช้ในเวลาพูดกนั ซึ่งบางครั้งก็ปรากฏข้นึ ในการเขียนดว้ ย แตน่ ้อยกว่าประเภท กลมุ่ ท่ีใชใ้ นเวลาเขยี น โดยมกั พดู ใหม้ ีเสียงสั้นลง หรือยาวขึ้น หรือไม่ออกเสยี งควบกล้าเลย ประเภทนเี้ รยี กได้ อกี อย่างวา่ กลุ่มเพ้ยี นเสยี ง เชน่ ตวั เอง - ตะเอง ๒. กลมุ่ ที่ใช้ในเวลาเขยี น

รปู แบบของภาษาวบิ ัติชนิดนี้ โดยท้ังหมดจะเป็นคาพ้องเสยี งที่หลายๆคามกั จะผิดหลกั ของภาษาอย่เู สมอ โดยสว่ นใหญก่ ลุม่ น้จี ะใช้ในเวลาเขยี นเท่านนั้ โดยยงั แบ่งได้เปน็ อีกสามประเภทย่อย ๒.๑ กลุ่มพอ้ งเสยี ง

รปู แบบของภาษาวิบัติชนดิ นี้ จะเปน็ คาพ้องเสียง โดยสว่ นใหญก่ ลุม่ นจี้ ะใชใ้ นเวลาเขียนเทา่ นั้น และคาที่

นามาใช้แทนกนั น้ีมกั จะเป็นคาที่ไมม่ ีในพจนานกุ รม เธอ = เทอ

ใจ = จยั ไง = งัย

กรรม = กา ๒.๒ กลุม่ ท่ีรีบรอ้ นในการพิมพ์

กลมุ่ นี้จะคลา้ ยๆกับกล่มุ คาพ้องเสยี ง เพยี งแตว่ ่าบางคร้ังการกด Shift อาจทาใหเ้ สียเวลา เลยไม่กด แลว้

เปลยี่ นคาท่ตี อ้ งการเป็นอกี คาท่อี อกเสยี งคล้ายๆกนั แทน เช่น รู้ = รุ้

เหน็ = เหน เป็น = เปน ๒.๓ กลุ่มทใ่ี ช้สื่อสารในเกมส์ (ใช้ตัวอกั ษรภาษาอื่นทมี่ ีลกั ษณะคล้ายตวั อักษรไทย)

เทพ = Inw นอน = uou

เกรยี น = เกรีeu

ใบงานครัง้ ที่ 4

กลุ่มสาระความรพู้ ้ืนฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรเู้ รอ่ื งท่ี 4 หลกั การใชภ้ าษา เวลา 6 ชั่วโมง

คร้งั ท.่ี ...........4......สอนวนั ท่ี …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

๑ ให้นกั ศึกษาอธบิ ายหลักการใชภ้ าษาไทยธรรมชาติของภาษา

.............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................. 2เสยี งพยญั ชนะตน้ มีอยู่ 2 ประเภท คอื

.............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................. ๓ให้นกั ศกึ ษาแบ่งการแบง่ กลุม่ ทใี่ ช้ในการพูด และกลุ่มที่ใช้ในการเขยี น

.............................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุม่ สาระความรู้พ้ืนฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจดั การเรยี นรู้เร่ืองที่ วรรณคดี และวรรณกรรม เวลา 6 ช่วั โมง

คร้ังท.ี่ .......5..........สอนวนั ที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั สามารถวิเคราะหแ์ ละเห็นคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถ่นิ โดยใช้

หลักการพินิจวรรณคดี

ตัวช้วี ัด

1. อธบิ ายคุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถนิ่ สาระสาคัญ

หลักการพินจิ และประเมินคุณคา่ เก่ียวกับวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. นักศึกษาสามารถอธิบายคุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ นั และวรรณกรรมท้องถิน่ ทมี่ ตี ่อสงั คม

และวัฒนธรรมไทย สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของวรรณคดีวรรณกรรมปจั จบุ นั และวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ 2. คณุ คา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม ด้านวรรณศลิ ป์ และด้านสงั คม 3. แนวคดิ และค่านิยมท่ปี รากฏในวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น ศกึ ษาใบความรู้ จากแบบเรยี น

2. มีวินัย ทางานตามทีค่ รมู อบหมายได้ทนั เวลา 3. ขยนั มงุ่ มนั่ ในการทางาน ทาใบงาน ทากิจกรรมกลมุ่ 4. มีความสามคั คี มนี า้ ใจ มีความรับผดิ ชอบ ชว่ ยเหลือกนั ทากจิ กรรมกล่มุ

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขนั้ ที่ 1 กาหนดสภาพปญั หา ความต้องการ

(60 นาที) 1.1 ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรูใ้ ห้ผู้เรยี นทราบ 1.2 ครูสอบถามถึงหนังในโรงภาพยนตร์ท่กี าลงั ฉายในโรงภาพยนตร์โลตสั กระบี่เรื่องพันทา้ ยนรสงิ ค์ แล้ว

กาหนดให้คนท่ีชม เลา่ เรื่องอยา่ งย่อให้เพอื่ นๆฟัง 1.3 ครูสอบถามผู้เรยี นถงึ ข้อคดิ และใจความความสาคญั ของเร่ือง และชอ่ื หรอื บทบาทตวั บทละคร

1.4 ครูและผู้เรียนรว่ มกนั สรา้ งความเข้าใจเกีย่ วกบั ความสาคัญของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ นั และ วรรณกรรมท้องถิน่

ขั้นท่ี 2 ขัน้ แสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้ (180 นาที)

2.1 ครใู หผ้ ู้เรียนแบ่งกลุ่มละ 4-8 คน 2.2 ครูให้ตัวแทนออกมาอา่ นบทกลอนของทเี่ ป็นวรรคทองจากวรรณคดีเร่อื งต่างๆ แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มบอกชื่อ

เรอ่ื งเพอื่ แขง่ ขนั กนั

2.3 ครใู ห้ผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษา“วรรณคดไี ทย”เรอื่ งขนุ ชา้ ง ขนุ แผน พระอภยั มณี อเิ หนา นิทาน

เวตาล นิราศพระบาท นิราศภูเขาทอง รา่ ยยาว มหาเวสสันดรชาดก มัทนพาธา พระมหาชนก

(ทศชาติชาดก) เลอื กศกึ ษาวรรณคดีทีช่ อบจานวน 1 เรอ่ื งในประเด็นต่าง ๆ ดงั น้ี

- ประวตั แิ ละลกั ษณะของเรือ่ งท่ีอา่ น

- วเิ คราะหว์ ิจารณ์ตัวละครสาคัญของเร่ืองแนวคดิ

ค่านยิ มและคุณคา่ ต่าง ๆ

- ยกตวั อยา่ งบทกลอน วรรคทองในวรรณคดีที่ชอบ

- จดั ทาเปน็ รายงานพร้อมนาเสนอหน้าชั้นเรยี น

และครรู ่วมสรปุ ผลการอภปิ รายของผเู้ รียน

2.4 ครูกาหนดใหผ้ ู้เรยี นไปสืบเสาะหาเรื่องเลา่ นิยาย นิทาน ตานาน ท่ีมีเนื้อหาเก่ียวพนั กับวิถชี วี ติ ของคนใน

ชมุ ชน จากผ้สู ูงอายุในชุมชน

แลว้ นาเร่ืองเหลา่ น้นั มาเรยี บเรียงเป็นลายลักษณแ์ ลว้ จัดทาเปน็ รปู เล่มจดั วางเป็นสารสนเทศใน กศน.ตาบล

(เปน็ กรต)

2.5 ครกู าหนดให้ผู้เรียนเลือกบทวรรคตอนจากวรรณกรรมทต่ี นเองสนใจเขียนลงในกระดาษทค่ี รแู จกและวาด

ภาพและตกแต่งใหส้ วยงามประกอบจัดทาเปน็ สารสนเทศภายใน กศน

2.6 ครูแจกใบงานเร่ืองวรรณกรรมเพือ่ เป็นการคน้ คว้าเพิ่มเติม

2.7 ครใู ห้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบรายวิชา ภาษาไทย

2.8 ครเู ฉลยข้อสอบพรอ้ มให้ผ้เู รียนแลกเปลยี่ นกนั ตรวจขอ้ สอบ

ขัน้ ท่ี 3 การปฏิบตั แิ ละนาไปประยกุ ต์ใช้ (120 นาที)

3.1 ครแู ละผูเ้ รียนร่วมกันสรปุ และแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ เกย่ี วกับวรรณคดี วรรณกรรมทอี่ ่านและนาแนวคดิ

ที่ได้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั

ข้นั ท่ี 4 การประเมินผลการเรยี นรู้

4.1 ครใู ห้ผู้เรียนรว่ มกนั ประเมนิ ผลพร้อมทั้งปรับปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง สรปุ และจัดทาเปน็ รายงานเผยแพร่

กศน.ตาบล

4.2 ครปู ระเมนิ ผลการเรยี นรู้ผลของผเู้ รียนตามเกณฑ์ทกี่ าหนด

4.3 เกณฑ์ทีก่ าหนด

- มาพบกลมุ่ 10 คะแนน

- แบบทดสอบ 20 คะแนน

- บัตรคาสารสนเทศ /

- วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 10 คะแนน

- ใบงาน 10 คะแนน

สื่อการเรยี นการสอน

1. ใบความรู้

2. หนงั สือแบบเรยี น

การวัดผลประเมนิ ผล

วิธีการวัด

1. สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมกลุ่ม

2. วดั ความร้จู ากการทากจิ กรรมในใบงาน

เครอื่ งมือ

1. ใบงานกิจกรรมกลมุ่ 2. ใบงาน

เกณฑก์ ารวัดผลประเมินผล 1. นักศึกษามผี ลคะแนนในการทดสอบไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 2. การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมกลุม่

แหลง่ การเรียนรู/้ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเตมิ 1.หอ้ งสมุดประชาชน 2. กศน.ตาบล 3. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 4. internet

ลงชอ่ื ………………………………………….ครูผู้สอน ว่าท่ีร้อยโท………………………………………

() (ประวิตร จนิ ตประสาท) ตาแหนง่ ……………………………………………… ผู้อานวยการ กศน.บาเจาะ

ใบความรู้ คร้ังท่ี 5

กลมุ่ สาระความรูพ้ ้ืนฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจดั การเรียนรู้เร่อื งท่ี วรรณคดี และวรรณกรรม เวลา 6 ช่ัวโมง

คร้ังท.่ี .......5...........สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ 1. ความหมาย

วรรณกรรมท้องถ่ิน หมายถึง วรรณกรรมที่ปรากฎอยู่ในท้องถ่ินภาคต่าง ๆ ของไทย ท้ังท่ีเปน็ ลาย ลักษณ์ หรือมุขปาฐะ ซ่ึงแตกตา่ งไปจากวรรณกรรมแบบฉบับ เพราะวรรณกรรมท้องถิน่ นั้นชาวท้องถน่ิ สร้าง ข้ึนมา ชาวท้องถิ่นใช้ (อ่าน, ฟัง) และชาวท้องถ่ินเป็นผู้อนุรักษ์ โดยมีวัดเป็นศูนย์กลาง รูปแบบของฉันท

ลักษณ์จึงเป็นไปตามความนิยมของท้องถิ่นนั้น ๆวรรณกรรมท้องถิ่นมีเน้ือหาสาระ และคตินิยมเกี่ยวกับพุทธ ศาสนาเปน็ ส่วนใหญ่ เนือ่ งจากคนไทยทุกภาพในอดีตมีคตนิ ิยมในการสร้างหนังสือถวายวดั โดยเชื่อกนั ว่าจะ

ได้อานิสงส์อย่างแรง อกี ประการหน่ึงวัดก็เป็นสานักเล่าเรียนของกุลบุตร กุลธิดาของประชาชน ฉะน้ันการ สร้างสรรค์วรรณกรรมท้องถิ่นยังมีส่วนให้นักเรียนได้ฝึกอ่านหรือทวบทวนนอกเหนือไปจากแบบเรียน (จินดา มณี ปฐมมาลา ปฐม ก.กา) ซ่งึ สว่ นใหญ่เป็นวรรณกรรมประเภทนิทานคตธิ รรม

2. ความเป็นมาของการศกึ ษาวรรณกรรมทอ้ งถิ่น การศึกษาวรรณกรรมไทยนั้น เราจะมาเร่ิมศึกษากัน เม่ือสมัยรัชกาลที่ 5 กล่าวคือมีการจัดต้ัง

โบราณคดีสโมสรขึ้น เม่ือ พ.ศ. 2450 ในครั้งนั้นได้รวบรวม ชาระ ซ่อมแซมวรรณกรรมท่ีกระจัด กระจาย และมีก ารพิ มพ์เผยแพ ร่ ซึ่งเป็น การอนุรักษ์วรรณ กรรมโบราณ ของไทยไว้ได้ส่วน หนง่ึ คณะกรรมการโบราณคดีสโมสรไดศ้ ึกษารวบรวมวรรณกรรมทท่ี ่านมีประสบการณ์ คอื รจู้ กั และเคยอา่ น

สมัยเล่าเรียน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรมท่ีแพร่หลายอยู่ในกลุ่มชนชั้นนาคือ ขุนนาง นักปราชญ์ ราช บณั ฑิต ส่วนวรรณกรรมทีแ่ พรห่ ลายอยูใ่ นกลุ่มชาวบ้าน หรือชาววดั หรือในทอ้ งถ่ินท่ีหา่ งไกล เข้าใจว่าทา่ น

เหล่าน้ันคงยังมิไดศ้ กึ ษารวบรวม อกี ประการหน่ึงในชวั่ ระยะเวลาอนั สนั้ ท่จี ดั ตง้ั โบราณคดีสโมสรนัน้ ข้อมลู ใน ส่วนกลางหรือราชสานกั คงมีมากเกนิ กว่าทจ่ี ะศกึ ษารวบรวมในระยะเวลาอนั ส้ัน

ในสมัยรัชกาลที่6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้จัดตั้งวรรณคดีสโมสรขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2457 คงจะสืบ

เน่ืองมาจากโบราณคดีสโมสรนัน่ เอง คณะกรรมการชุดน้ีได้พยายามที่จะจัดจาแนกวรรณกรรม โดยพิจารณา ว่าเป็นระยะเวลาใดควรแก่การยกย่อง ในสมัยจัดต้ังวรรณคดีสโมสรนั้นเป็นระยะเวลาไม่นานนักก็สิ้นสมัย

รชั กาลที่ 6 จากนนั้ ก็ขาดแรงสนบั สนุนการศึกษารวบรวมวรรณกรรม จึงอยูใ่ นวงจากดั ยงั มไิ ดข้ ยายขอบเขต ไปศึกษาวรรณกรรมท่ีแพร่หลายอย่ใู นกลุม่ ชาวบ้าน ชาววดั และวรรณกรรมในทอ้ งถน่ิ ทหี่ า่ งไกล

หลังจากน้ันเป็นต้นมารวมเวลาประมาณก่ึงศตวรรษ กุลบุตร กุลธิดาชาวไทย ก็ได้ศึกษาเล่าเรียน

เฉพาะวรรณกรรมที่ได้ศึกษารวบรวมชาระกันในครั้งนั้นเท่าน้ัน ไม่ปรากฎว่า ได้มีการศึกษาชาระ รวบรวม วรรณกรรมอ่ืน ๆ ให้กว้างขวางต่อไป วรรณกรรมชาวบ้าน ชาววัด เหล่านั้นจึงถูกทอดทิ้งมาเป็นเวลาเนิ่น

นาน ต่อมาเมื่อราว พ.ศ. 2502 สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้แนวคิดมาจากตะวันตกที่นิยม

ศกึ ษาเรอื่ งราวทางพื้นบ้าน และเสนอเป็นวิทยากรในหลักสูตรเรียกช่ือว่า Folklore จงึ นาวิธีการเหล่านั้นมา

จัดเขา้ ในหลกั สูตรระดับอุดมศึกษา เรยี กช่อื วา่ "คตชิ าวบา้ น" บ้าง "คติชนวิทยา" บ้าง จากการศึกษาวิชาสาขาคตชิ นวิทยานั้น ทาให้เราทราบถึงแนวคดิ คตนิ ิยม ปรชั ญาชีวิตของสงั คมใน

ท้องถิ่นต่างๆ ของไทย ซึ่งมีรายละเอียดปลีกย่อยต่างไปจากคตินิยม ปรัชญาชีวิตและสังคมของภาคกลาง เกือบส้ินเชิง ฉะนั้นจึงมีการศึกษาที่ลึกซ้ึงลงไป ในเอกสารท้องถ่ินต่างๆ จึงพบว่าในเอกสารท้องถิ่น

เหลา่ นนั้ เป็นคลงั ของแนวคิด ค่านิยมของสังคมท้องถ่ิน อันแอบแฝงอยู่ในรูปนิทานเหล่าน้ัน ฉะน้ันจงึ ทาให้ นักวิชาการในสาขาอ่ืนๆ เริ่มตระหนักถึงคุณค่าความสาคัญของข้อมูลทางคติชนวิทยาโดยเฉพาะวรรณกรรม

ประจวบกับ เมื่อช่วงปี พ.ศ.2510- พ.ศ.2520 นักศึกษาเริ่มมีปฏิกิริยาต่อต้านการศึกษาวรรณคดี โดยมี ทศั นคติต่อวรรณคดที ่ีอยู่ในหลกั สูตรระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา และอุดมศึกษานัน้ เปน็ วรรณคดขี องชน

ชั้นสูง หรือวรรณกรรมเพ่ือรับใช้ศักดินา ไม่ก่อให้เกิดแนวคิดสร้างสรรค์ใดๆ รังแต่ให้เกิดความเบ่ือหน่าย ฉะนั้น เมื่อตอน ปลายปี พ .ศ.2519 จึงมีการจัดรายวิชาวรรณ ก รรมท้ องถ่ิน ใน สถาน ศึก ษ า ระดบั อดุ มศึกษา ส่วนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา มีการเสนอให้อา่ นวรรณกรรมท้องถ่ินของภาคต่าง

ๆ เป็นหนังสอื อ่านประกอบอย่บู ้าง 3. ข้อแตกตา่ งระหวา่ งวรรณกรรมแบบฉบับกับวรรณกรรมทอ้ งถนิ่

จากการศึกษาวรรณกรรมท้องถ่ินของภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ และภาคกลางแล้ว พบว่ามี รปู แบบต่างไปจากวรรณกรรมแบบฉบับอยู่มาก ตามลาดับความใกล้ชิดกับรัฐบาลกลางหรือราชสานักท่ีเป็น เช่นนี้ เพราะวา่ พ้ืนฐานของสังคม มโนทัศน์ของกวี ตลอดจนบันทึกสภาพสังคมในสมัยท่ีกาเนิดวรรณกรรม

น้ัน ๆ ตามมโนทัศน์ของกวี วทิ ย์ ศิวะศรียานนท์ (2504 : 183) กล่าวว่ากวีคนเดยี วก็เปรยี บเหมือน 3 คน คือ นอกจากเป็นผู้แต่งหนังสือแล้ว ยังเป็นหน่วยหนึ่งของคนรุ่นน้ัน และเป็นพลเมืองด้วย เน่ืองจากเหตุน้ี

นอกจากจะต้องสังวรในอาชีพประพันธ์ของตนในฐานะท่ีเป็นกวี ในฐานะทเ่ี ป็นหน่วยหนึ่งของคนสมยั นั้น ก็ ย่อมจะทาเอาหไู ปนาเอาตาไปไร่เสียกบั เหตุการณ์ท่ีตนเห็นตาตาประจักษ์อยู่แก่ใจหาได้ไม่ และในฐานะที่เป็น พลเมืองอีกเล่า ก็จะต้องใส่ใจเหตุการณ์บ้านเมือง ความเคลื่อนไหวของประเทศชาติ ตลอดจนชนชั้นและ

อาชพี ท่ีตนเปน็ หน่วยหน่ึงอีกดว้ ย กวหี รือผู้เขียนยอ่ มสอดแทรกสภาพของสังคมสมยั นั้น ๆ ลงไปในวรรณกรรมท่เี ขาไดส้ รา้ งสรรค์ และ

ในฐานะที่เป็นหน่วยหน่ึงของประชาคมนั้น ย่อมจะใส่ความคิดเห็น มโนทัศน์ของตนลงไปด้วย แต่ใน ขณะเดียวกันในบทบาทของกวีหรือนักประพันธ์ จึงเสนอทัศนคติในบทบาทฐานะนั้นอีกด้วย ฉะนั้นปัจจัย ดงั กลา่ วข้างตน้ จงึ มสี ว่ นสาคัญทแี่ ยกรูปแบบของวรรณกรรมแบบฉบบั กบั วรรณกรรมท้องถนิ่ ใหแ้ ตกต่างกัน

เม่อื พิจารณารูปแบบของวรรณกรรมแบบฉบบั กบั วรรณกรรมท้องถน่ิ ท่ีแตกต่างกันไปนั้น ทาใหเ้ ห็นว่า วรรณกรรมแบบฉบับเป็นวรรณกรรมท่ีแพร่หลาย และเจริญอยใู่ นราชสานัก เรม่ิ ตั้งแต่กวีผสู้ ร้างสรรค์ ซ่งึ เป็น

ผู้คงแก่เรียน พื้นฐานการศึกษาสูง และอยู่ในฐานะเหนือกว่าทางด้านสังคม ฉะนั้นค่านิยม สภาวะของ สงั คม จนทัศนะท่ีกวีสอดแทรกในวรรณกรรมน้ันจึงเป็นมโนทัศน์ของสังคมชั้นสูง ซึ่งต่างไปจากวรรณกรรม ทอ้ งถิ่นที่กวเี ป็นชาวบ้านธรรมดาหรือภิกษุ และอยใู่ นภาวะของสงั คมแบบชาวบ้านโดยทั่วไป ฉะนั้นค่านิยม

สภาวะของสังคม และทัศนะที่กวีสอดแทรกลงไปในวรรณกรรมที่เขาสร้างสรรค์น้ันจะเป็นมโนทัศน์(คา บาลี สันสกฤต) หรือบทกวนี ิพนธ์ท่ีซบั ซอ้ น เชน่ ฉนั ท์ ส่วนใหญ่จะใช้กวนี ิพนธ์ท่ีนิยมในท้องถ่นิ นั้น ๆ

4. ประโยชน์ของการศึกษาวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ข้อมูลทางคติชนวิทยา เป็นท่ีสนใจของนักศึกษาทางด้านมานุษยวิทยามาโดยตลอด เพราะข้อมูล

เหลา่ นเ้ี ปน็ ข้อมลู เบอื้ งต้นทีส่ บื ทอดกนั มาในประชาคมท้องถ่ินตา่ งๆ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางดา้ นคติชนนน้ั ทา