ศ ลปศาสตรบ ณฑ ต ม.รามคำแหง ก.ค.ศ.ร บรอง

บรรณานกุ รม

บรรณานกุ รม

กมลชนก ผลงาม. (2556). ทฤษฎีจิตวิเคราะห์และทฤษฎบี ุคลิกภาพของ ซิกมันต์ ฟรอยด์ จติ วิทยาทัว่ ไป. กรงุ เทพฯ : อักษรสัมพนั ธ์.

กรกช อญั ชลนี ุกลู . (2548). ภาษาสรา้ งสรรค:์ การใชภ้ าพพจนใ์ นนวนิยายของโสภาค สุวรรณ. งานวจิ ยั คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกจิ บณั ฑติ ย.์

กระแสร์ มาลยาภรณ์. (2530). วรรณกรรมไทยปจั จุบนั . กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์ กุหลาบ มัลลกิ ะมาส. (2519). วรรณกรรมไทย. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. จตพุ ร จันทนะสตุ . (2543). การวิเคราะหน์ วนิยายเร่ืองร่มฉัตรของทมยนั ตี. วทิ ยานพิ นธ์

ปรญิ ญาศิลปศาสตมหาบัณฑิต. สาขาวชิ าไทยศึกษา มหาวิทยาลยั รามคำแหง. จติ รลดา สุวัตถกิ ุล. วรรณกรรมไทยรว่ มสมัย. นครปฐม, มหาวิทยาลยั ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวงั

สนามจันทร์ , ม.ป.ป. จำลอง ดษิ ยวณิช. (2544). จิตวิทยาความดบั ทกุ ข์. เชยี งใหม่ : บริษทั กลางเวียงการพิมพ์. ชญานท์ ตี วงศ์มณ.ี (2541). ศึกษาวรรณกรรมเยาวชนไทย. งานวจิ ัยคณะศิลปศาสตรแ์ ละ

วิทยาศาสตรม์ หาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑติ ย์. ชนญั ชดิ า บญุ เหาะ. (2560). ความรักชาตใิ นนริ าศที่เพ่อื สรรเสรญิ . วิทยานพิ นธ์ อกั ษรศาสตร์

มหาบณั ฑติ . สาขาวชิ าภาษาไทยศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ชยศริ ิ บุญยกลุ ศรรี ุง่ . (2553). เพศสภาพและเพศวิถชี ายรักชายในภาพยนตร์ไทย. ปรญิ ญานิพนธ์

การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย มหาวิทยาลยั ทักษิณ. ชลธิดา สตั ยาวัฒนา. (2521). วรรณกรรมไทย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, 2535. ฑิตฐติ า นาคเกษม. (2545). การศึกษาวิเคราะหน์ วนยิ ายของประภสั สร เสวิกลุ . วทิ ยานพิ นธ์

ศิลปศาสตรม์ หาบัณฑิต. สาขาวิชาไทยศกึ ษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ณรรฐวรรต จนั ทนะโสตถ.ิ์ (2546). การศึกษาวิเคราะหเ์ ชงิ สังคมในนวนยิ ายเรื่องสายโลหติ . กรงุ เทพฯ :

วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวชิ าภาษาไทย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ตรีศิลป์ บุญขจร.(2525). นวนยิ ายสังคมไทย. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : โครงการตำราอักษรศาสตร์. ทัดจนั ทร์ เกตสุ งิ หส์ ร้อย.(2554). การวเิ คราะห์สถานภาพแและบทบาทของแมใ่ นนวนิยาย ลบั แล,แกง่ คอย.

กรุงเทพฯ : วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทยจุฬาลงกรมหาวทิ ยาลัย. ธวัช ปณุ โณทก. (2525). วรรณกรรมทอ้ งถ่ิน. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ นรศิ รา โหระโซ. (2546). ความขดั แย้งในนวนิยายของทมยนั ตี. วิทยานพิ นธอ์ ักษรศาสตร์

ดุษฎบี ณั ฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . นนั ทา พฤกษ์พงษ.์ (2541). วเิ คราะหต์ ัวละครเอกฝ่ายชายในนวนิยายของ ว. วินจิ ฉัยกุล ในด้าน

กลวิธใี นการแนะนำตวั ละครและการสรา้ งตัวละครเอกฝา่ ยชาย. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . บุญศริ ิ ภิญญาธินนท.์ (2527). การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายของ ก.สรุ างคนางค์. วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญาอักษรศาสตร์มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. บุญเหลอื เทพยสุวรรณ. วิเคราะหร์ สวรรณคดไี ทย. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพาณิชย์,2517. เบญจมาศ พลอินทร. (2526). กลวธิ กี ารแต่งท่ีซบั ซ้อน:ลักษณะหลังสมยั ใหมใ่ นบนั เทิงคดีร่วม สมัยของไทย. กรงุ เทพมหานคร : วิทยานิพนธอ์ ักษรศาสตร์ดุษฎบี ัณฑติ สาขาภาษาไทย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ประมลู บญุ ปก. (2560). ความซับซ้อนของบุคลิกภาพตัวละครเอกจากนวนิยายโบต๋ันในศตวรรษ. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาอกั ษรศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ปานทิพย์ ศุภนคร.(2551). ปรัชญาเอกซิสเตนเซียลลสิ ตร์ . พมิ พค์ ร้ังท3่ี . กรุงเทพมหานคร. ปิยะลักษ์ เสยี งก้อง. (2541). ศกึ ษาวิเคราะหน์ วนิยายของ ศรีรัตน์ สถาปนวฒั น์. ศลิ ปศาสตร์ มหาบัณฑิตสาขาวิชาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. เปลอ้ื ง ณ นคร. (2535 : 191). ศิลปแหง่ การประพนั ธ์. กรุงเทพฯ : ขา้ วฟา่ ง. พรพิไล บงั ศร.ี (2542). นวนยิ ายของกงิ่ ฉตั รสะท้อนเรือ่ งราวและแนวคดิ ต่าง ๆ. สาขาวิชาภาษาไทย (กลุม่ วรรณคดี) มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. พรี พล เทพประสทิ ธ.ิ์ (2545). วเิ คราะหบ์ คุ ลกิ ภาพตวั ละครเอกตามแนวทฤษฎจี ติ วเิ คราะหใ์ นนวนยิ ายเรอื่ ง หลายชีวิต . วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บณั ฑิต สาขาไทยศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. เพญ็ แข วัจนสนุ ทร. (2555). ศึกษาวเิ คราะห์งานเขยี นเฉพาะทเี่ ปน็ นวนิยายขนาดสั้นของ ไม้ เมือง เดมิ . งานวจิ ยั คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑติ ย์.

มาโนช หล่อตระกลู . (2554). ทฤษฏีจติ วิเคราะห์. กรงุ เทพฯ : สารศึกการพมิ พ.์ ยศ สนั ตสมบัติ. (2550). ฟรอยด์และพัฒนาการของจิตวเิ คราะห์:จากความฝนั สู่ทฤษฏสี ังคม.

กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. รืน่ ฤทัย สจั จพนั ธุ์. วรรณกรรมปัจจบุ ัน. พมิ พค์ รั้งท่ี15. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550. วนั จรตั น์ เดชวิลัย. (2544). วิเคราะหต์ วั ละครทีม่ ีพฤติกรรมเปน็ ปญั หาทางสงั คม ในนวนิยายของ

ทมยันตี. ปรญิ ญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยทกั ษิณ. วิภา กงกะนนั ทน.์ วรรณกรรมปจั จบุ นั . (2533) กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ,2534. วยากร พึ่งเงนิ . (2555). เรอื่ งเล่าของตัวตนในนวนยิ ายเชงิ อัตชีวประวตั ิเรื่อง เงาสีขาว ของแดน

อรัญ แสงทอง. วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสื่อสารศึกษามหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. วลั ยา ววิ ฒั น์ศร. สายธารวรรณกรรมเพอื่ ชีวติ ของไทย. กรงุ เทพฯ : เจ้าพระยา. วลิ าวลั ย์ ตงั้ คณากลุ . (2551). การวิเคราะห์ตวั ละครเอกในนวนิยายไตรภาคของคฑาหสั ต์ บุษปะ

เกศ. วทิ ยานิพนธศ์ ิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าไทยศึกษา มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. ศรเี รอื น แกว้ กังวาน. (2554). ทฤษฏีจิตวทิ ยาบคุ ลิกภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ

สำนกั พิมพ์หมอชาวบา้ น. ศรวี นิ ธรรมรงั รอง. (2537). บุคลกิ ภาพสตรีในนวนยิ ายท่ีไดร้ ับรางวัลของ กฤษณา อโศกสนิ .

ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาไทยศึกษา มหาวิทยาลยั รามคำแหง. สายทพิ ย นกุ ูลกจิ . (2529). วรรณกรรมปจจบุ ัน. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. สุพรรณี วรทร. (2519). ประวตั ิการประพนั ธน์ วนยิ ายไทยต้งั แตส่ มัยเริ่มแรกจนถึงพ.ศ.2475.

กรงุ เทพฯ : มลู นธิ โิ ครงการตำราสังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์. สุวตั ถิกลุ . (2530 : 67-68). วรรณกรรมวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งท่ี2.กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์,2539. อัจฉรา สขุ ารมณ.์ (2524). จติ รวทิ ยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ:สถาบันวิจัยพฤติกรรม มหาวิทยาลยั

ศรีนครินทรวโิ รฒ. อารยา ผังลักษณ์. (2541). ศึกษาองคป์ ระกอบนวนยิ ายไทย. สาขาวิชาภาษาไทย (กลุ่มวรรณคด)ี

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.

อริ าวดี ไตลังคะ. นวนยิ ายกับสงั คมไทย. (2543: 44). กรุงเทพฯ : ทคี วิ พ,ี 2553. อริ วดี ไตลังคะ. ศาสตร์และศิลป์แหง่ การเลา่ เรือ่ ง. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์,2543 เอเดรยี น ทิลล.ี (1991). จติ วิทยาข้นั สงู . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ประภาสาร. Di yanni. (1986). ศาสตร์และศิลปแ์ ห่งการเลา่ เร่ือง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,2543

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ประวัติผู้แตง่ ภาคผนวก ข เนื้อเร่อื งยอ่ หมาหวั คน

ประวตั ขิ องผ้แู ต่ง วภิ าส ศรีทอง เกิดทีจ่ งั หวดั พัทลุง จบช้ันประถมจากโรงเรียนอนุบาลพัทลุง เรียนช้ันมัธยมต้นที่

โรงเรียนพัทลุง เพียงปีเศษก็ลาออกสอบเทียบและยา้ ยตามครอบครัวมาอยู่กรุงเทพฯ เข้าเรียนต่อมัธยม ปลายที่โรงเรียนสารวิทยา ลาออกจากโรงเรียนในปีถัดมา เรียนด้วยตนเองจนจบมัธยมปลายผ่าน การศึกษานอกระบบ กอ่ นสอบเอ็นทรานซ์เข้าเรยี นในคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ลาออก ในปีสุดท้ายของการศึกษา มีงานเขียนเรื่องสั้นตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2537 ทำงานเขียนและงาน ศิลปะเรื่อยมา เดือนสิงหาคมปี พ.ศ. 2545 แสดงงานศิลปะและวรรณรูป นิทรรศการวิชวลโพม บทที่ สอง ที่อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา ปัจจุบันพำนักอยู่ที่กรุงเทพฯ สมรสกับนาตาลี ชไนเดอร์ ชาวออสเตรเลยี ในปี พ.ศ. 2555 วิภาส ศรีทองได้รับรางวัลซีไรต์จากนวนิยายเรื่องคนแคระ ต่อมาปีพ.ศ. 2556 ได้รับ เชิญร่วมอภิปรายบนเวทีในงานมหกรรมวรรณกรรมคูลเลอร์ ลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และงาน มหกรรมวรรณกรรมแหง่ ชยั ปุระ ประเทศอินเดียเม่ือปพี .ศ. 2558 ซง่ึ เป็นมหกรรมวรรณกรรมทใี่ หญ่ที่สุด ในเอเชยี ผลงานเขียนในนามปากกา วิภาส ศรที อง

เร่มิ ต้นงานเขียนเรือ่ งสัน้ และบทกวี ใช้นามปากกา วิภาส ศรีทอง ร.ตะวนั และ นาตาลี ในช่วงปี พ.ศ. 2537-2545 ภายหลงั หันมาเขียนงานนวนยิ ายเปน็ สว่ นใหญ่โดยใชช้ อื่ จรงิ เร่อื งสน้ั "ดอกแก้ว" ไดร้ ับ รางวัลชนะเลิศเรื่องสั้นไทยไรเตอร์ ประจำปี พ.ศ. 2543 เรื่องสั้น "ความเรียงเรื่องวงกลม" ได้รับรางวัล ชมเชย สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 และรางวัลพิจารณ์เรื่องสั้นมหาวิทยาลัย หอการคา้ พ.ศ. 2545 เรอื่ งสน้ั "ดุษณภี าพ" ไดร้ ับรางวลั เรอ่ื งสั้น มรว.คึกฤทธิ์ ปราโมช พ.ศ. 2545

- vagabond (2543) รวมบทกว(ี ทำมือ)ภาษาองั กฤษ - รวมเรื่องส้ันแมวเกา้ ชีวิต (2545) - กราฟฟติ ิ (Graffiti) (2545) รวมบทกวีภาษาองั กฤษ - รวมเรือ่ งส้ันเวลาล่วงผา่ นอุโมงค์ (2551) - วรรณรปู ตรึงตากลบท (2554) - นวนิยายคนแคระ (2555) และเปน็ นวนยิ ายรางวลั ซีไรต์ ประจำปี 2555 - นวนิยายหมาหวั คน (2555) เข้ารอบลองลิสต์รางวลั ซีไรต์ ประจำปี 2558 - นวนิยายหลงลบลืมสูญ (2558) เขา้ รอบสุดท้ายรางวลั ซไี รต์ ประจำปี 2558

“หมาหัวคน” เริ่มเรื่องของนวนยิ าย กล่าวถึงสุนขั ตัวหน่ึง ถูกยิง ถูกรถไฟทับสยอง แต่มันยังไม่ ตาย! ซ้ำร่ายกายกลับแปรสภาพกลายเป็นชายคนหนึ่ง เขาได้อาศัยอยู่กับ “คนแคระ” เป็นเวลานาน พอสมควร ก่อนจะถูกเครือญาติและภาวะแวดล้อมบีบบังคับให้ต้องระหกระเหินไปในถิ่นกันดาร ท่ามกลางกรุ่นไอสงครามและความอดอยากแสนสาหัส บุรุษที่รู้ตัวว่าตนเคยเป็น “สุนัข” มาก่อน จะ สามารถ “ปรบั ตัว” ให้เขา้ กับสังคมมนุษย์ในชว่ งเวลาที่อารยธรรมบนโลกกำลงั เส่ือมโทรม จนกลายเป็น มนษุ ย์โดยสมบูรณ์ได้หรือไม่ นค่ี อื งานวรรณกรรมจากนักเขียนรางวลั ซไี รต์ทม่ี ีพลังสร้างสรรค์นวนิยายใน ระยะเวลาใกลเ้ คียง

ประวัตยิ อ่ ของผู้วิจัย

ช่อื นางสาวปิยะรตั น์ เกษร วนั เกิด วนั ท่ี 21 ธันวาคม พ.ศ. 2541 สถานทเ่ี กดิ บ้านคำเก่ิง ตำบลเตย อำเภอมว่ งสามสิบ จังหวดั อุบลราชธานี สถานทอี่ ยู่ปัจจุบนั 18 หมู่ 9 บา้ นคำเกิ่ง ตำบลเตย อำเภอม่วงสามสิบ จงั หวัดอุบลราชธานี ตำแหน่งหนา้ ท่ีการงาน นกั ศกึ ษาอดุ มศึกษาชั้นปีท่ี 3 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี สถานทีท่ ำงานปจั จุบนั กำลงั ศกึ ษาสาขาวชิ าภาษไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี เลขท่ี 2 ถนนราชธานี ตำบลในเมือง ประวัติการศึกษา อำเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34000

พ.ศ. 2554 จบการศึกษาระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จากโรงเรียนบา้ นคำเกิ่งหนองจกิ ตำบลเตย อำเภอม่วงสามสบิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. 2557 จบการศกึ ษาระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 จากโรงเรยี นศรนี ้ำคำศึกษา ตำบลเตย อำเภอม่วงสามสิบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. 2560 จบการศึกษาระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรยี นศรนี ้ำคำศึกษา ตำบลเตย อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัด อุบลราชธานี