ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม

เฉพาะสอนลูกไม่ต้องคำนวนให้ดู ****1 เอาไว้คำนวนการเดินทางด้วยรถเมล์หลายต่อครับ 1. ปอ. 8 ออกทุก 15 นาที 2. ลง ปอ 8 จะไปขึ้น 517 ใช้เวลาเดิน 10 นาที 3. รถสาย 517 ออกทุก 20 นาที 4. ลง 517 จะไปต่อ 1013 ใช้เวลาเดิน 5 นาที 5 .ต่อ 1013 ออกทุก 30 นาที

****2. เอาไว้ใช้เล่นดนตรี จังหวะเร็ว จังหวะช้า ต้องเล่นกี่รอบจะจบพร้อมกัน ****3. เอาไว้พาลูกดูไฟกระพริบบนตึกสูงสองตึก เมื่อไรจะดับพร้อมกัน ****4. เอาไว้คำนวนเวลาทำงานเมื่อใช้คนงานมากขึ้น ****5. เอาไว้ดูหยดน้ำเกลือบนเตียงผู้ป่วยหลายๆ คน เมื่อไรจะหยดพร้อมกัน ****6. เอาไว้นับคนแบ่งทีมเตะบอลสามคน ถ้ามีคณะจาก ร.ร. A 6 คน, ร.ร. B 9 คน, ร.ร. C 12 คน

ห.ร.ม. (หารร่วมมาก) คือ จำนวนเต็มที่มากที่สุด ซึ่งหารเลขในกลุ่มนั้นทั้งหมดได้ลงตัว ( "กลุ่ม" หมายถึง เลขตั้งแต่ 2 จำนวนขึ้นไป) หรืออาจกล่าวได้ว่า ห.ร.ม. คือ จำนวนเต็มที่มากที่สุด ที่เป็นตัวประกอบร่วมของจำนวนเหล่านั้น

ค.ร.น. (คูณร่วมน้อย) คือ จำนวนเต็มที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่งเลขในกลุ่มนั้นทั้งหมดหารมันลงตัว

วิธีการหา ห.ร.ม และ ค.ร.น มีทั้งหมด 2 วิธี ได้แก่ การแยกตัวประกอบ และ การหารสั้น

วิธีแยกตัวประกอบ

18 = 2 x 3 x 3

45 = 3 x 3 x 5

ตัวประกอบร่วม คือ 3 และ 3

ดังนั้น ห.ร.ม. คือ (3 x 3) = 9

ส่วน ค.ร.น. คือ (3 x 3 x 2 x 5) = 90 หรือ (ห.ร.ม. x 2 x 5) = 90

วิธีการหารสั้น

สำหรับการหา ห.ร.ม ด้วยวิธีการหารสั้น มีหลักที่แตกต่างจากการหา ค.ร.น ดังนี้

  • สำหรับ ห.ร.ม : จำนวนเฉพาะที่จะนำมาเป็นตัวหารจะต้องสามารถหารทุกจำนวนลงตัว หากไม่สามารถมีจำนวนเฉพาะใดๆที่หารได้แล้ว การหารสั้นนั้นจะหยุดทันที และ ห.ร.ม ที่ได้จะเกิดจากการนำ ตัวหารทุกจำนวนมาคูณกัน
  • สำหรับ ค.ร.น : จำนวนเฉพาะที่จะนำมาเป็นตัวหารต้องสามารถหารจำนวนเต็มได้ลงตัวอย่างน้อยสองจำนวนขึ้นไป หารไปเรื่อยๆจนไม่สามารถมีจำนวนเฉพาะใดๆที่หารจำนวนทั้งหมดได้แล้ว การหารสั้นนั้นจะหยุดทันที และ ค.ร.น ที่ได้จะเกิดจากการนำตัวหารทุกจำนวนและเศษทุกจำนวนมาคูณกัน

ห.ร.ม และ ค.ร.น ของ 12 18 24

ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม

ห.ร.ม = 2 × 3 = 6

ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม

ค.ร.น = 2 × 3 × 2 × 1 × 3 × 2 = 72

  • Explore Documents

    Categories

    • Academic Papers
    • Business Templates
    • Court Filings
    • All documents
    • Sports & Recreation
      • Bodybuilding & Weight Training
      • Boxing
      • Martial Arts
    • Religion & Spirituality
      • Christianity
      • Judaism
      • New Age & Spirituality
      • Buddhism
      • Islam
    • Art
      • Music
      • Performing Arts
    • Wellness
      • Body, Mind, & Spirit
      • Weight Loss
    • Self-Improvement
    • Technology & Engineering
    • Politics
      • Political Science All categories

100% found this document useful (2 votes)

423 views

47 pages

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Did you find this document useful?

100% found this document useful (2 votes)

423 views47 pages

บทที่ 1 หรม ครน และสมบัติของจำนวนนับ

เร องท 

11

.

.

ม. และ ค

.

.

.

11.

1 การหา ห

.

.

.

ตัวหารรวม

เราทราบมาแลววาตัวประกอบของจานวนใด ๆ สามารถนาไปหารจานวนนั นไดลงตัว เชน ตัวประกอบของ

12

คอ

1, 2, 3, 4, 6

และ

12

ทกตัวสามารถนาไปหาร

12

ไดลงตัว ดังนั นเราอาจเรยกตัว

ประกอบของ

12

แตละตัวน วา

เปนตัวหาร

ของ

12

ลองพจารณาตัวหารของ

8

และ

12

ตัวหารของ

8

คอ

1, 2, 4, 8

ตัวหารของ

12

คอ

1, 2, 3, 4, 6, 12

ตัวหารของ

8

และ

12

ท เหมอนกันคอ

1, 2

และ

4

เราเรยก

1, 2

และ

4

วา เปน

ตัวหารรวม

หรอ

ตัวประกอบรวม

ของ

8

และ

12

จานวนนับท หารจานวนตั งแตสองจานวนข นไปลงตัว เรยกวา

ตัวหารรวม

ของจานวนเหลานั น

ตัวอยาง

จงหาตัวหารรวมของ

9, 15

และ

21

วธทา

ตัวหารของ

9

คอ

1, 3, 9

ตัวหารของ

15

คอ

1, 3, 5, 15

ตัวหารของ

21

คอ

1, 3, 7, 21

ตัวหารรวมของ

9, 15

และ

21

คอ

1, 3

ตอบ

1

และ

3

ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม
ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม

ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม

แบบฝกหัดท 

31

จงหาตัวหารรวมของจานวนตอไปน 

(1)

12, 18 (2) 16, 24 (3) 27, 36 (4) 10, 21 (5) 8, 14, 18 (6) 10, 20, 30

ตัวหารรวมมากท สด

(

.

.

.)

ตัวหารของ

16

คอ

1, 2, 4, 8, 16

ตัวหารของ

20

คอ

1, 2, 4, 5, 10, 20

ตัวหารรวมของ

16

และ

20

คอ

1, 2, 4

ตัวหารรวมท มคามากท สดของ

16

และ

20

คอ

4

ดังนั น ตัวหารรวมมากท มากท สด หรอ ห

.

.

.

ของ

16

และ

20

คอ

4

แบบฝกหัดท 

32

จงหา ห

.

.

.

ของจานวนตอไปน 

(1)

10, 14 (2) 9, 12 (3) 14, 28 (4) 8, 27 (5) 16, 28 (6) 18, 24 (7) 6, 4, 22 (8) 10, 20, 30 (9) 18, 27, 63

เราเรยกตัวหารรวมท มคามากท สดวา ตัวหารรวมมากท สด ใชตัวยอวา ห

.

.

.

ตัวอยาง

จงหา ห

.

.

.

ของ

18

และ

27

วธทา

ตัวหารของ

18

คอ

1, 2, 3, 6, 9, 18

ตัวหารของ

27

คอ

1, 3, 9, 27

ตัวหารรวมมากท สด หรอ ห

.

.

.

ของ

18

และ

27

คอ

9

ตอบ

9

ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม
ความส มพ นธ ของ ค.ร.น ก บ ห.ร.ม

การหา ห

.

.

ม. โดยวธแยกตัวประกอบ

การหา ห

.

.

.

ของจานวนตาง ๆ เราอาจใชการแยกตัวประกอบชวยหาได โดยนาตัวประกอบท  เหมอนกันมาคณกัน ตัวอยางเชน เราจะหา ห

.

.

.

ของ

18

และ

27

เม อแยกตัวประกอบของ

18

และ

27

จะไดดังน 

18 \= 2 × 3 × 3 27 \= 3 × 3 × 3

จานวนท มคามากท สดท หาร

18

และ

27

ลงตัว คอจานวนท อย ในรป

3 × 3

นั นคอ ห

.

.

.

ของ

18

และ

27

คอ

3 × 3 = 9

ลองดตัวอยางใหม เราจะหา ห

.

.

.

ของ

40

และ

30 40 \= 2 × 2 × 2 × 5 30 \= 2 × 3 × 5

จานวนท มคามากท สดท หาร

40

และ

30

ลงตัว คอ จานวนท อย ในรป

2 × 5

นั นคอ ห

.

.

.

ของ

40

และ

30

คอ

2 × 5 = 10

แบบฝกหัดท 

33

จงหา ห

.

.

.

ของจานวนตอไปน 

(1)

16, 36 (2) 15, 25 (3) 26,34 (4) 12, 27 (5) 35, 21 (6) 42, 64 (7) 49, 56, 63 (8) 15, 30, 45 (9) 18, 27, 54

ตัวอยาง

จงหา ห

.

.

.

ของ

16, 24

และ

28

วธทา

16 \= 2 × 2 × 2 × 2 24 \= 2 × 2 × 2 × 3 28 \= 7 × 2 × 2

.

.

.

ของ

16, 24

และ

28

คอ

2 × 2 = 4

ตอบ

4