กล วยอะไรเหม อนกล วยน ำว า แต ม เหล ยม

ÊèÍ× ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ÃÒÂÇÔªÒ¾×¹é °Ò¹ ผฉูส บอับน ª´Ø áÁº‹ ·Áҵðҹ ËÅѡʵ٠Ã᡹¡ÅÒ§Ï ประวัตศิ าสตร ป.๕ µÒÁËÅ¡Ñ ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢é¹Ñ ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ àÍ¡Ã¹Ô ·Ã ÊèÕÁËÒÈÒÅ ÃÈ. ´Ã.ÃبÃÔ  ÀÊÙ‹ ÒÃÐ ÊØÊôÉÔ ° ·Í§à»ÃÁ ¤³ÐºÃóҸ¡Ô ÒÃáÅмŒÙµÃǨ ÃÈ.´Ã.ÊÃÔ Ô¾ªÑ Ï à¨É®ÒÇâÔ Ã¨¹ ÃÈ.·ÑȹÕ¾ Ãó ÍØ´ÁàǪ ¼È.´Ã.ºØÞÇ´Õ Á¹µÃ¡Õ ØÅ ³ ÍÂ¸Ø ÂÒ Êѹ·¹Ò ¾Ñ¸¹ÒÇ¹Ô ¡ÁÅ ¨¹Ñ ªÅÕ Í§ พมิ พครัง้ ที่ ๑๒ สงวนลิขสทิ ธ์ติ ามพระราชบญั ญัติ รหสั สนิ คา ๑๕๔๓๐๕๓ ªèÍ× ª¹éÑ ËŒÍ§..................................................................................... ............................. ..............................

คําชี้แจงในการใชสอื่ สอ่ื การเรยี นรู แมบ ทมาตรฐาน หลกั สตู รแกนกลางฯ ประวตั ศิ าสตร ป.๕ เลม น้� จดั ทาํ ขน้ึ เพื่อใหสอดคลองกับสาระและมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ในสาระท่ี ๔ ภายในเลมนําเสนอการจัดการเรียนการสอนเปนหนวยการเรียนรูครบถวนตามมาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป และสาระการเรยี นรแู กนกลาง โดยเนน การออกแบบกจิ กรรมใหส มั พนั ธก บั ธรรมชาติ การเรียนรูข องแตล ะกลมุ สาระ และความสนใจของผูเ รียนแตล ะคน ในแตละหนวยผเู รียนจะไดรับความรู รวมท้งั ฝกปฏิบัติกิจกรรมตางๆ เพ่อื ใหเกิดความรู ความเขาใจ จนกระท�งั สามารถจัดทําช้นิ งานเพ่อื เก็บเปนหลักฐานแสดงการบรรลุตามมาตรฐาน การเรยี นรู ตวั ชว้ี ดั และประเมนิ คณุ ภาพผเู รยี นตามเกณฑข อง สมศ. ห นว๑ยการเรียน »ÃÐÇѵÈÔ Òʵ÷ ŒÍ§¶èÔ¹รทู ่ี ผฉูสบอับน เปา หมายการเรยี นรู เปาหมายการเรยี นรปู ระจำหนวยท่ี ๑ แผนผงั ความคดิ ประจำหนว ยที่ ๑ แผนผังความคดิ กําหนดระดับความรู เม่อื เรยี นจบหนว ยนแ้ี ลว ผเู รยี นจะมีความรู ประวตั ศิ าสตรท อ งถ่นิ นําเสนอขอบขาย ความสามารถของผเู รยี น ความสามารถตอ ไปนี้ สาระการเรยี นรู เมือ่ เรยี นจบหนวย ๑. สบื คน ความเปน มาของทองถ่นิ วิธีการสืบคนความเปนมา ความจริงกับขอเท็จจริง ของแตละหนว ย ของทอ งถิน่ ของเรือ่ งราวในทองถ่นิ ภาพประกอบบทเรยี น คุณภาพทีพ่ ึงประสงค โดยใชหลกั ฐานที่หลากหลาย เปน สือ่ การเรยี นการสอน ของผูเรยี น ๒. รวบรวมขอมลู จากแหลง ตา งๆ เพ่อื ตอบ การกำหนดหัวขอทส่ี นใจ ความแตกตางระหวาง กระตนุ ความสนใจ กําหนดพฤติกรรม การรวบรวมหลกั ฐาน ความจรงิ กับขอ เทจ็ จริง กอนนาํ เขา สูบทเรียน ทีค่ าดหวงั ใหเกดิ ขึ้น คำถามทางประวตั ศิ าสตรอ ยางมเี หตุผล การตรวจสอบหลกั ฐาน เก่ียวกับเร่อื งราวในทองถิน่ กบั ผเู รยี นตามตัวชว้ี ัด ๓. อธิบายความแตกตางระหวางความจรงิ กับ การตีความขอมูล ตวั อยา งหลกั ฐาน ของหลักสูตร การนำเสนอขอ มลู ประวัตศิ าสตรทแี่ สดง ขอเทจ็ จริงเกี่ยวกับเรื่องราวในทอ งถ่นิ ความจริงกับขอเท็จจรงิ คุณภาพทพี่ งึ ประสงคข องผเู รียน ๑. มีความรเู รอ่ื งทองถิน่ ของตน ในเชงิ ประวัตศิ าสตร ๒. สามารถเปรียบเทยี บเรื่องราวของทองถนิ่ จงั หวดั และภาคตางๆ ของประเทศไทย ๓. ไดร บั การพัฒนาแนวคิดทางประวัติศาสตร เพอื่ ขยายประสบการณและนำไปสกู ารทำ ความเขา ใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จากอดตี สปู จจบุ นั

๑บทที่ ÇÔ¸¡Õ ÒÃÊ׺¤¹Œ ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ·ÍŒ §¶¹èÔ ขอบขา ยสาระการเรียนรแู กนกลางรายวชิ า ประวัตศิ าสตร ชน้ั ป.๕ แสดงขอบขายสาระการเรียนรูแกนกลาง ตัวชีว้ ดั ’๕๑ ระบุมาตรฐานตัวช้ีวดั ทีเ่ ปน ตัวชีว้ ดั ช้ันป สาระพืน้ ฐาน ความรฝู ง แนนติดตัวผเู รียน มฐ. ส ๔.๑ (๑) วธิ ีการสืบคน ความเปนมา การสืบคนความเปนมาของทองถ่ิน เปาหมายการเรียนรู โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร และ สาระพ้นื ฐาน ประเดน็ เน�อ้ หาในการเรียนรู สืบคนความเปนมาของทองถนิ่ โดยใช ของทอ งถน่ิ หลกั ฐานท่หี ลากหลาย จะทำใหได ความรฝู ง แนนฯ แกน ความรทู ี่เปน ความรู หลักฐานทหี่ ลากหลาย ขอเท็จจริงทแี่ สดงความจริง มฐ. ส ๔.๑ (๒) ความเขาใจคงทนติดตัว ผเู รยี น รวบรวมขอ มูลจากแหลงตา งๆ เพื่อตอบ เน�้อหา คำถามทางประวตั ิศาสตรอยา งมีเหตุผล ครบตามหลักสูตรแกนกลาง’๕๑ นําเสนอ เหมาะสมกับการเรยี นการสอนในแตล ะ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ระดับชั้น ๑. กจิ กรรมนาํ สูการเรียน นาํ เขา สูบ ทเรยี นใชกระตนุ ความสนใจ และวัดประเมนิ ผล กอ นเรยี น ๓. กจิ กรรมพฒั นาการคิด ¨Ò»¡ÃÀÐÒ¾âª๻͏¹š ÂËÒ‹ ŧäѡð¡ÒѺ¹¡»ÒÃÃÐÈàÖ¡ÀÉ·Òãà´ÃèÍ× Ë§ÃÅÒÑ¡Ç°ã¹Ò¹·à͌˧Ŷ‹Òè¹Ô ¹éÕÁÕ วชปขธิ ัดÇรกีอเ¸Ôะาจงวร¡Õสนัตทิ่งÒิขาตÃแงอกาลปÊงางะรทร׺ๆมะศอวี¤คึกงเัตวษชถ¹Œศิา่ินนาาม¤เสนรÇตเป่ือาปÒรรงเนÁชะรซตว่ือาà่งึัวต»นถปติขือ¹šราอกะงÁกเงาๆรเรอÒารทบ¢ตาใี่จดนÍอะวปอง§ศยมดร·ึกกีวะีตษาÍŒวิธราัีตก§หดเาิขร¶ำรรื่ออเือคนÔ¹è งงกนนิรโารคากรงววาศเเารรึกหทียษ๕ล่ีเนปาาขนปนั้นปี้รใขหตะรั้นวะมอตัวตนีคอัติควนิขดวาาังอมมนเงถรี้เชียูกปุมกตนวชอมานงา มอบหมายนักเรียนฝกปฏิบัติ ๒ ประวตั ิศาสตร ๕ ๑. การกำหนดหัวขอ แสดงพฤติกรรมการเรียนรู ๒. กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู รวบยอดและประเมนิ ผลการ มอบหมายนกั เรยี นฝกปฏบิ ัติ เรยี นรตู ามมาตรฐานตวั ชวี้ ดั เพื่อพัฒนาความรูและทักษะ ๒. การรวบรวมหลักฐาน ประจาํ หนว ย ประจาํ หนว ย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ·Õè ñ ผฉสู บอับน ๑. เขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร ปพรวรอะิธวมกี ัตกาบัศิ ราทสาตงร ๑ก¡Ôิจ¨ก¡รÃรÃมÁ¾พั²Ñฒน¹ปÒารก¡ะาÒจรÃำค¤บทÔดิ´ที่ ยกตวั อยา งประกอบ ๓. การตรวจสอบหลกั ฐาน มสสฐ44./..ต11ัวช((21ี้ว))ดั แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกล่ุมสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับความเป็นมาของท้องถ่ินที่กลุ่ม ๕.นกำาเรสเรนียอบขเอรมยี งลู และ สนใจ โดยใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ และบนั ทกึ ขอ้ มลู จากนนั้ ผลดั กนั นำเสนอ ผลงานหนา้ ชน้ั ๔. การตีความขอ มลู ขน้ั ท่ี ๑ กำหนดหวั ขอ้ ทสี่ นใจ .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... หลักฐานทาง ·¡ÒŒÍç㶪Թè ÇŒ ¸Ô¢ÍÕ¡§ÒµÃ¹·Òàͧ»§Ã¹ÐÇÑ¡µÑ àÃÔÈÂÕÒʹµÊÃÒãÁ¹Òá¶ÒôÊÓàº× ¹¤¹ÔŒ¹¡¢ÒÍŒ ÃÁäÙÅ´àŒ ¡´èÕÂѧǹ¡ÑºÕé ประวตั ศิ าสตร ขัน้ ที่ ๒ รวบรวมหลักฐาน ✽ แหล่ง การเรยี นรู้ในการแสวงหาขอ้ มลู ของกลมุ่ ฉนั คือ .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…..... …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... ขอ้ มลู และหลักฐานที่กล่มุ ฉนั รวบรวมได้ มาจาก✽ .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÃÙ ³Ò¡ÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä ประวตั ิศาสตร ๕ ๓ ขนั้ ที่ ๓ ตรวจสอบหลกั ฐาน ช้นิ ที่ ๑ เรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร วธิ ตี รวจสอบข้อมลู ของกลุม่ ฉนั มดี ังน�ี้ .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…..... ๑. แบง นกั เรียนเปนกลมุ กลมุ ละ ๕-๖ คน ๒. ใหสมาชกิ แตล ะกลมุ ชว ยกันสืบคนขอ มูลเกยี่ วกับหลกั ฐาน …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... ทางประวตั ิศาสตรท ีม่ ีในทองถ่ินของตน …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... ๓. ชว ยกนั จำแนกหลักฐานตามหัวขอ ท่กี ำหนดให แลว จัดทำ ขน้ั ที่ ๔ ตีความขอ้ มูล ๒๑.๐แคกบนารงคปดกวระำลาวเัตปุมนิศรานิ สะตกใวรหาัต๕รแิคตแวลาลมะะยกเปกลนตุมมวั ใอาชยขวาอิธงงีกหทาลอรกั งทฐถาาิ่นนงทปป่ีกรระะลกวุมัอตสบิศนาแใสจล---พเตปว หอหหหรจนนเลลลลาขสำกัักกัักขกเมาฐสฐฐฐใั้นนดุ าจาาานภนั้นนทนนอาสสทชอี่ ผพมมั้นีเ่ธ๑ลปัยัยิตบพ-งนปกน๒าารตอรยนอ/ะวันขหมวอใหปั้นตับนนักลริศตอษากะกั ากชวอรฐาสตัรนั้านร/ตาศินยหราชลลส้นั ะักตรเฐรออาียง/นดทขี่ไอมงใหชลต กั วั ฐอาักนษปรระกอบ ๔. สงตวั แทนออกมานำเสนอผลงานหนา ชัน้ .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... ขั้นที่ ๕ นำเสนอขอ้ มูล .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... …...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…... .…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…..... ชิน้ ท่ี ๒ เรือ่ ง ความจริงกับขอเทจ็ จรงิ ๑. แบงนักเรียนเปน กลุม กลุมละ ๕-๖ คน 1๑๖6 ประวัติศาสตร์ ๕ ๒. ใหส มาชิกแตละกลมุ ชว ยกันคนควา ขอ มลู เกีย่ วกบั ความจรงิ ๔. กิจกรรมบูรณาการสรางสรรค กบั ขอเท็จจริงของเร่อื งตา งๆ ทม่ี ีในทองถิ่นตน เชน มฐ./ตวั ชี้วัด นักเรียนนําความรูและทักษะ ความเปน มาของช่ือทอ งถ่นิ สถานที่สำคัญใน ทสี่ าํ คญั มาจดั ทาํ ผลงานตาม ทองถนิ่ แลวบนั ทกึ ขอ มลู จดั ทำเปนผลงานกลุม ระบุ มฐ./ตัวชีว้ ดั ของกจิ กรรม ความถนดั และความสนใจเพอ่ื ๓. สง ตัวแทนออกมานำเสนอผลงานหนา ช้ัน เพือ่ สะดวกในการวัดและประเมินผล ใชเ ปน หลกั ฐานในการประเมนิ ๒๗ประวตั ิศาสตร ๕ ตนเอง

แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นประจําหนว ย ๑. แบบทดสอบระหวางเรียน เปนสารสนเทศใชบ ันทกึ ขอมลู และแสดง เปนเครอื่ งมือวัดความรูตามลําดับหัวขอ ผลการเรยี นรขู องนักเรยี นเปนรายบุคคล ความรูของแตล ะบทเรียน ๒ตาราง รายการวดั ประเมินผลตáามºเºปºาห¹Ñ ม·าÖ¡ยก¼าÅร¡เรÒียÃนàÃรÕÂู ป¹ร»ะจÃำÐห¨นÓวËย¹ท‹Çี่ ๑ ๑ ๕ ค .ก. ส . เ ตืบ รงจ ำคตื่อ.๔ า ขน.อ่ ง ร.ก ถ. า รๆภึก พ. นำ้าข เ า งผรวมแ กอ้ คค.๓ะท แี อืหนัใขอป. ด.กมี่ เงกม.ล ีสปกฐ เก.ศ นา่งขา ปามกิดร ารงรโ นกอ้ ็นะาบคเขรีม.๒กค ง าจวใข รตแ. ึ้นร ำขโดอื..กร ตัดรข. หราหหค ใ.ตหคขว. ศิีย ้อวณกนบ สขวลน บคีอื้อลง ์พาจมขา๑ านัถอ่ง้อคค วด.ขรคกัสแส ร มง้อ.ขูลข ดทเาว.ด ห้นัวตศฐอกศ ทสก .สบ้อม ีตมึกขีบา าัวรกึตกบ.านัจ็าำม ขม นขก ์ ้อขา้บวษาอขรคจนกูลอ้แาน อ้ใปรด้อ สนาร้อญัดาทิษรเมตลมเาทรปริงกแมรรชไฐกรระะลูา้ ูลจ่ีดตร ย่ีวรมลูยีเ มวางับ ะะกบภีคว่ใ นงจแ สีวกศสชกขวรท สบ ัตา่งิึกอา วว่บัออใรบใศิมษมิธดง ดบบเาจีกวขาลขม สขำ ท ธิา้อ่าอ้ าลต ้อรีก มม กี่อปรมา ลููลท์ใงร รูลห ทีส่ะ ้ ว๑ดุา คัต๐ ง ก. ิศ .จ . เ าาห กถ สรก ้อี่ย้าา้ ตแงง นวนค.ร๙ห ส กขกัคข์ . .กลม กกบั. เ้า้อว ก.่ง ร ุดาาขท ธิมก ขียางร ก ้อ กี ้อาคูลร.น้อใ๘ าใขารหงน ✗. มตด.กร รเถพ. ผ้ำภป ตอู้ลไพท. ิน่ขข ร๗้เูพม รมูงคีใงคาชระพข้อ ้อด ขยี.ก.กใ่ควรงิภะธ. ี่ย อใอชม ร.บาะาป.ป ำาดา ขวจโ ะงตกัธ่กรม ลูเงตบรตฐคสชเจึงปอ้๖ต ทคาำษาคมป.ะขมุพถตร จาอา ใ.ขตนรนร้นยีว.ร า็นอ้าดรากะญเะ นาตบพุห.าตัเบ คจเณขึกเ นมวไโจอ.งขรมนหชทิศ รงดบวขเมนั้อ คดทูลงวสคยีิภศศ ว่้ามาียร้อีถ่ใ่ใอ ์สห จร่ีถนรเยสดาิลญุชา์ คาม อกูาราสม่อืาวณวตบาคะห่ว่ือมชูลชกอนตดงจเิาสรือรนัลงสค กยเัยปบยาาอ้์ มเหฉรทกัถารอร รรนั้ขเงาทงยีล หราิ่มฐึกาไึก ดอ้ขดวท. ทะีส่งกันา ตตพ มิน.หเนีสุ่ดฐย ทุกพน้ห่อลูเ ์โาท ุด ร่พีผ งขนบด นุงี่เศาบุนอืรป้วศสบาายใร ็นรม วนา้ณา ีอลัยดนม วยากาเคัตธุยชรอ่ ำยถล ยีนแา ุกังปห ษ รงณะมว์ หตั า ศิ ราาสชต ร์ หนว ยท่ี ๑ : ๑. คคแชรตริ้นกูนู ลงำำาะหคนคนะทนดแี่มกนครีเคนะอรแจกื่อนาลงกนงหกใเตมนา็มาตรวยขาัดอร*าผงงกลกิจดำแกกาลรนับะรคสมใวรหทุปาใี่ตมผชอรลปูงก(รกKาะา)รกรป/อวรทัดบะักผกเษมลารินเะพปกื่อรระเะกเบม็บวินสนกะกาสารมรอา(Pน) / คุณลักษณะที่พึงประสงค (A) ของนักเรียน คำชีแ้ จง ๒. คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ ๓. พบกปขหัฒทารอลระทมนใักว่ีชูลาตัฐ๑วกคดาิศธิาวนบาาีกราสน/ันคามชตคทรดิิ้นเรทปวกึงสานาาขืบงมนมอครมานรขููล(าอKยงก)ปเาตรร็มเะคเรมือ่ไดงนิ มผอื ดห-ลว-า ลัดแทนสแทกักแบกับทรกัมัฐบลษะบษกัาบปะฤะปะนษสปวรรท/ะนะงัชะรเ/คเกิ้นะธกมมมางเรินด์ิินมราะนินาบผนวลนเตกกK็มาารรเ/ร(ไียPดPน)รูขด/-อา แคAนทงหบณุนค่ีพลบกัณุลึงักปปเกัฐลรรรษาียะกัะนณเสนษม/งชะณินคิ้นะงทานพ่ี งึ ประเตส็มงค คะแนนรวมดาน รายการประเมนิ (A) K/P/A ตวั ช้วี ัดช้นั ป.๕ ส ๔.๑ (๑) ได เต็ม ได สืบคนความเปนมา ของทองถิ่นโดยใช ก. หลกั ฐานทหี่ ลากหลาย ส ๔.๑ (๒) รวบรวม ทองถนิ่ ขอมูลจากแหลง ตา งๆ เพื่อตอบคำถามทาง ประวัติศาสตรอ ยางมี เหตผุ ล - แบบประเมนิ ส ๔.๑ (๓) ก. พฒั นาการคดิ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อธบิ ายความแตกตาง บทท่ี ๒ ขอ ๑ ทกั ษะสงั คม ที่พึงประสงค ระหวางความจรงิ กบั ตอบคำถามเก่ียวกับ - แบบประเมิน ขอเทจ็ จริงเกยี่ วกบั ความจรงิ กบั ขอ เทจ็ จรงิ ทกั ษะ กระบวนการ เร่อื งราวในทองถน่ิ สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรียนตามตัวชวี้ ดั สว นที่ ๒ คผเรละื่อแงงานน..น.ก..จิจ..า.ก..กร..ร.ก.ม.า.บ..ร.ูร.ป.ณ..ร..าะ..กเ..มา..ร.นิ .ฯ..ต..ท.น..ี่น.เ.ักอ...เง.ร.ข.ีย..อน...เง.ล.น..ือ.ัก.ก..เ..ร..ีย...น...... สว นที่ ๓ คกะาแรทนำนแจบาบกทกดาสรอทบดวสัดอผบลสสมัมั ฤฤททธธิป์ผิ รละปจรำะหจนำว หยนทว่ี ๑ย สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเรียนรูประจำหนวย ขอ เสนอแนะ ………………………………………………………………….. ผาน ๔ ไมผาน ดี ๒ พอใช ……………………………………………………………………………………………. ระดับคุณภาพ ➠ ดีมาก ๓ ➠ ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ซอมเสริมแลว ลงชื่อ ผูประเมนิ…………………………………………………………… / /…………………….. ……………………. …………………… ☞ หมายเหตุ คแรบสู บาบมันาทรถึกใอชื่นแทบี่คบรบูหันรือทสึกถนาี้เพนื่อศบึกันษทาจึกัดผทลกำขาึ้นรเกรีย็ไดน แตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงใน ๒๘ ประวตั ิศาสตร ๕ 17ประวตั ศิ าสตร์ ๕ ผฉสู บอับน ๒. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจ ทายเลม พอเพยี ง เปนเคร่ืองมอื วัดผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือเสริมสรางพฤติกรรมและ ทางการเรียนของนกั เรียน ปลกู ฝง คา นยิ มตามหลัก แตละคนเม่ือจบหนวยการเรยี น ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ท้ายเล่ม ¡กจภÔ¨จิุดาก¡ปรรรÃะระงÃมสาÁนงคº Ùó::: Òภ¡น๑มู๒ำÒ.๓ปิห.๔Ãแเ.ญลรกใบà.รวักนอÈญย่ีชงวเบกยปวพกÃวมาารคูกจยลขื่อÉกรวกูจบักุมอเขันม°ุบับผภันงอเขันย¡ชชมูสนใงแอุมหภุมนเปิÔ¨ำศพมชมูแขชอญ¾รรูนตลนอิปแษÍญคมลเญนฐกวàาะูล¾ะกญาี่ขยกแทมจิÕÂอวลานี่ไพรเกงุ§มดวหูใอชับหใจทลเมุชาภกพาาวชกบัูงมนียิธนกใคงิี้ไปีกนาดมนญารกราใรศาบันญปทึกรกชราอาษะามุงเนายรหปชคุสรุกลนรักนงตะาเษคใวสนชวภัตร้ีใามิูิมศนมแหาิปชลาสรญีวจะตือติัดวญรไปิเทมมคารำเาะรปอหสจายาลืบำะยาวาหคงนนันวนไิเ้ีใราทหศ ตอนที ่ ๑ : ๘๐ คะแนน ไดค้ ะแนน ๑. ๑ต)อ บวคิธำีกถาารมทตางอ่ ปไประนว้ีใตัหิศถ้ ากู สตต้อรง์ห ม(๒า๐ยถคึงะอแะนไรน )และมีขนั้ ตอนใดบา้ ...ง.... .....ค...ะ...แน๑น๐เต๐ม็ ๒) เขียนอธิบายประเภทของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร ์ มาพอเขา้ ใจ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .. . ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .. . ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ ๓) ใเชขว้ียิธนกี อาธริบทาายงวป่าร ะถวตั้าติศ้อาสงกตารร์ ตส้อืบงคป้นฏปบิ รตัะวอิ ัตยิค่าวงไารม เ(ปเข็นียมนาอขธอิบงาชยุมขช้ันนต อโนด)ย : พน๑ีเ่ำ๒.ขค๓แ๔ีย.บว(.นบน.ไปคุาจมรำนงมรคดัวขซกะอรลทบอก้ำลทูงสำรกมออุมาำเวนับูลปางคมนปม)นัญใไรหาปรสะเปูแใขมวหเตตัยีัยลนลนิศอม อะาถยใงกสหาธุ ๆลตยสยุมรทวาใมนหยสอาชงรืดบถาือั้นเคมปาสนยปนมโทข.กยัดออาธย๑ดมรนใ-ตชเ๔ูลบปนูคปุรนอชอีรหมามวีะนนปาวพังัรติว๑เสะิแพเวตือลทื่อตั กอะแาิารผนบแร ลตงลงปนูะาวน นาคดขวภอาามงพรู : : ๔) ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... . . . กจจิดุ กปรรระมสงค ภาระงาน ความจริงกบั ขอ้ เท็จจรงิ หมายถึงอะไร และมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .... .. . 107ประวตั ศิ าสตร์ ๕ ๑๑๖ ประวัติศาสตร ๕ กิจกรรมบูรณาการจติ อาสา เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกในการเสียสละ เพื่อประโยชนสวนรวมจนเปนกจิ นสิ ัย

สารบัญ ก ข วงลอ แหงการเรียนรู ค ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชีว้ ดั (ตาราง ๑) ง แบบบันทึกผลการเรียน เพอ่ื ตดั สนิ ระดบั ผลสัมฤทธิฯ์ (ตาราง ๓) ง แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ความสามารถการอา นฯ (ตาราง ๔) จ แบบบนั ทกึ ผลการปฏิบัติกิจกรรมเพ่อื สงั คมฯ (ตาราง ๔) ฉ แบบบันทึกผลการประเมนิ ดา นคณุ ธรรมของผเู รยี น (ตาราง ๕) แบบแสดงผลการประกันคุณภาพผเู รยี น ตามเปา หมายฯ (ตาราง ๖) ๑ หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ ประวัติศาสตรท อ งถิ่น ๒ ๑๘ บทที่ ๑ วธิ กี ารสบื คน ความเปนมาของทองถิน� ๒๘ บทท่ี ๒ ความจรงิ กบั ขอ เท็จจริงของเรอ่ื งราวในทอ งถนิ� แบบบันทกึ ผลการเรยี น ประจาํ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ (ตาราง ๒) ๒๙ ๓๐ หนว ยการเรยี นรูท่ี ๒ พฒั นาการของมนษุ ยชาติ ๓๙ ๔๘ ผฉสู บอบั น บทท่ี ๑ อิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดยี และจีน บทที่ ๒ อิทธิพลของอารยธรรมตางชาติ ๔๙ แบบบนั ทกึ ผลการเรยี น ประจาํ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๒ (ตาราง ๒) ๕๐ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๓ อาณาจกั รอยธุ ยาและธนบุรี ๗๑ ๘๒ บทที่ ๑ อาณาจกั รอยธุ ยา ๙๖ บทท่ี ๒ อาณาจักรธนบุรี ๑๐๖ บทที่ ๓ บคุ คลสาํ คัญในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี บทท่ี ๔ ภูมปิ ญญาไทยสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี ๑๐๗ แบบบันทกึ ผลการเรียน ประจาํ หนว ยการเรียนรูท ่ี ๓ (ตาราง ๒) ๑๑๓ ๑๑๕ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ า ยเลม ๑๑๖ กจิ กรรมประเมนิ ความสามารถการอาน คิดวเิ คราะห เขียนสอ่ื ความ ๑๑๖ โครงงานประวตั ิศาสตร กจิ กรรมบูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง กิจกรรมบูรณาการจติ อาสา

วงลอแหงการเรยี นรู ส่ือการเรียนรู ชุด แมบทมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางฯ จัดทําขึ้นบนพ้ืนฐาน ตามธรรมชาตขิ องเดก็ ซง�ึ มคี วามอยากรอู ยากเหน็ ทาํ ใหเ กดิ การเรยี นรอู ยา งสนกุ สนาน และนําความรูไปทดลองปฏิบัติ จึงเกิดการคิดเปน ทําเปน ชวยใหเกิดความเขาใจและ สามารถสรุปเปนองคความรูที่นําไปประยุกตใชในชีวิตจริงได กอใหเกิดความมั�นใจและ เหน็ คณุ คา ของตนเอง เดก็ จงึ อยากเรยี นรเู พม�ิ อกี และหมนุ เวยี นเปน วงลอ แหง การเรยี นรู ทดสดอสบอปบทวรดดั ะผสจลอาํ สมบบมัน่ั ปฤใทคจลทณุเแารธคลยิท์ียาะาตภนยนาเเคลอมง นําสกูกิจากรรเรรียมน แบแบบบทแบบ สนอใยจาใฝกเรรูอียยาก เ ็หน ผฉูสบอับน กจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู มมเปีคีปวนญาคมญนสดาุขี ก เรียนรู เหน็ นรู สนกุ สนานอเพสยี รงรค งครคววมามเขรา ู ใจ ในชาํ ใกสไนปาิจชปกมกีวราิจิตระรกกจรยถรรมุกิจิงรตกบม รูรบรณมูราณบกูราาณกราเาศรอกสราษรราฐจงกิติจอพาสา คิดแเปกนปญทําหเปาเปน น กิจกรรมพัฒนากา รคิด

๑ตาราง ÇàÔ ¤ÃÒÐËÁ ҵðҹ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃáŒÙ ÅеÇÑ ªÇéÕ ´Ñ ÃÒÂÇªÔ Ò »ÃÐÇµÑ ÈÔ ÒʵÏ ».๕ คําช้แี จง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรยี นรแู ละตวั ชีว้ ัดช้นั ปใ นขอ ใดบา ง มาตรฐาน สาระการเรยี นรู้ หนว ยที่ ๑ หนว ยท่ี ๒ หนว ยท่ี ๓ บทที่ บทท่ี บทที่ การเรยี นรู ตวั ชีว้ ดั ช้ัน ป.๕ ๑๒๑๒๑๒๓๔ สาระที่ ๔ ประวัตศิ าสตร ๑. สบื คน ความเปน มาของทอ งถน�ิ โดยใช ✓ หลกั ฐานท่หี ลากหลาย ✓ มฐ. ๒. รวบรวมขอมลู จากแหลงตางๆ เพ่ือตอบ ✓ ส ๔.๑ คาํ ถามทางประวัตศิ าสตรอ ยา งมเี หตุผล ๓. อธิบายความแตกตางระหวา งความจรงิ กับ ขอ เทจ็ จริงเกีย่ วกบั เร่ืองราวในทองถ�ิน ๑. อธบิ ายอิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดีย และจีน ผฉสู บอบั น ทีม่ ีตอ ไทย และเอเชยี ตะวนั ออกเฉ�ยงใต ✓ มฐ. โดยสงั เขป ✓ ส ๔.๒ ๒. อภปิ รายอิทธพิ ลของวฒั นธรรมตางชาติ ทีม่ ตี อสงั คมไทยปจจบุ นั โดยสงั เขป ๑. อธิบายพฒั นาการของอาณาจกั รอยธุ ยา ✓✓ และธนบรุ ีโดยสังเขป ✓ ๒. อธิบายปจ จยั ท่สี ง เสรมิ ความเจริญรุง เรือง ✓ ทางเศรษฐกิจและการปกครองของ ✓ มฐ. ๓. อาณาจักรอยธุ ยา ส ๔.๓ บอกประวตั แิ ละผลงานของบคุ คลสาํ คญั สมยั อยธุ ยาและธนบรุ ที น่ี า ภาคภมู ใิ จ ๔. อธบิ ายภูมิปญญาไทยทสี่ ําคัญสมยั อยุธยา และธนบุรี และควรคา แกการอนุรกั ษไว หมายเหตุ : ตาราง ๒ อยูท ายหนว ยฯ ของแตล ะหนวย ข

ผฉูสบอับน ค Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹à¾è×͵´Ñ Ê¹Ô ÃдѺ¼ÅÊÁÑ Ä·¸·ìÔ Ò§¡ÒÃàÃÕ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò »ÃÐÇµÑ ÈÔ ÒʵÏ ». õ (´ŒÒ¹¤ÇÒÁÌ٠·¡Ñ ÉÐ/¡Ãкǹ¡Òà ¤Ø³¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÂÔ Á) ๓ตาราง คาํ ช้แี จง : ๑. ใหผ สู อนนําขอ มูลผลการวัดผลจากตาราง ๒ ของแตละหนว ยมากรอกลงในตารางใหต รงกบั รายการประเมนิ ๒. รวมคะแนนของแตละรายการลงในชอง ๓. ตัดสินระดับผลการเรียน โดยนาํ คะแนนรวมท่ไี ดไ ปเทียบกับเกณฑ ซงึ� เปนตวั เลข ๘ ระดับ หนวยการเรียนรู หนว ยที่ หนวยที่ หนว ยที่ รวมคะแนน คาคะแนนที่ หมายเหตุ Ẻº¹Ñ ·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹à¾Í×è µ´Ñ ÊÔ¹ÃдѺ¼ÅÊÁÑ Ä·¸·Ôì Ò§¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ทีเ่ ก็บสะสม ตอ งการจรงิ รายการประเมนิ ๑ ๒ ๓ เตม็ ได เตม็ ได คาคะแนน ดา นความรู (K) ๔๐ ทีต่ องการจรงิ รวมคะแนน ที่กาํ หนดไว ๑. หลักฐาน/ชิ้นงาน ระดับผลการเรียน ๓๐ ครผู ูสอน ๒. ผลงานการประเมนิ ตนเองของนกั เรียน สามารถปรับ ๓.บทส.วัดผลสมั ฤทธ์ทิ ายเลม ๑๐ เปลี่ยนได ๒๐ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑๐๐ ๑.ทกั ษะการคิด ๒.ทักษะการแกปญหา ๓.ทกั ษะการเรยี นรู ๔.ทักษะทางสงั คม ดานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค (A) ๑.คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม สอบปลายภาค เกณฑการประเมิน ๔ หรือชวงคะแนน รอ ยละ ๘๐-๑๐๐ =ดีเยี่ยม ๓.๕ หรือชว งคะแนน รอยละ ๗๕-๗๙ = ดีมาก ๓ หรือชวงคะแนน รอยละ ๗๐-๗๔ = ดี ๒.๕ หรือชวงคะแนน รอ ยละ ๖๕-๖๙ = คอ นขางดี ๒ หรอื ชวงคะแนน รอ ยละ ๖๐-๖๔ = นาพอใจ ๑.๕ หรือชวงคะแนน รอยละ ๕๕-๕๙ = พอใช ๑ หรอื ชวงคะแนน รอ ยละ ๕๐-๕๔ = ผานเกณฑข ้นั ต่ํา ๐ หรือชวงคะแนน รอยละ ต่ํากวา ๕๐ = ตา่ํ กวาเกณฑท ่กี าํ หนด

Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍ‹Ò¹ ¤´Ô ÇÔà¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢ÂÕ ¹Êè×ͤÇÒÁ Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡Òû¯ºÔ µÑ Ô¡¨Ô ¡ÃÃÁà¾è×Í椄 ¤ÁáÅÐÊÒ¸Òó»ÃÐ⪹ ๔ตาราง ÃÒÂÇªÔ Ò »ÃÐÇµÑ ÈÔ ÒʵÏ ». õ »ÃШíÒ»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ.......................... ÃÒÂÇªÔ Ò »ÃÐÇѵÔÈÒʵÏ ». õ »ÃШíÒ»‚¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ........................... คาํ ชีแ้ จง : ๑. ใหผสู อนและนักเรยี นรวมกนั พจิ ารณาเลอื กชน้ิ งานจากผลงาน คาํ ชแี้ จง : ใหผ สู อนประเมินผลการปฏิบัติกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน ระหวา งเรียน หรอื ผลงานกิจกรรมประเมินความสามารถการอานฯ ทน่ี กั เรยี นปฏิบัติ โดยขีด ✓ ลงในชอ งผลการประเมิน (ทา ยเลม ) หรอื ผลงานท่คี รูกําหนดจํานวน ๓-๕ ช้นิ เพ่อื สะทอน ความสามารถ และใชเ ปนหลักฐานการประเมนิ รายการกิจกรรม ผลการประเมิน ผา น ไมผ าน ซอม ๒. ใหผ ูสอนประเมินผลโดยขีด ✓ ลงในชอ งระดับคุณภาพ และสรุปผล ๑. กจิ กรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การประเมนิ ช่อื งาน ภมู ปิ ญ ญาของชุมชน สมรรถภาพ หลักฐาน/ช้นิ งาน ระดบั คุณภาพ สรุปผลการประเมนิ ผลการซอ ม Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍ‹Ò¹Ï นักเรียน ภาระงาน ๓๒๑ ผาน ไมผาน áÅÐẺº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡Òû¯ºÔ ѵԡ¨Ô ¡ÃÃÁà¾èÍ× Ê§Ñ ¤ÁÏ ๒. กิจกรรมบรู ณาการจิตอาสา การอา น ดีเยีย่ ม ชอ่ื งาน พ่เี ขียนนอ งอา น คิดวิเคราะห ดี การเขียน ควรปรับปรงุ ๓. กิจกรรมอืน่ ๆ ท่ีทางสถานศกึ ษากาํ หนด ลงชื่อผูประเมิน …………………………………………………. ……………………………………………………………………………….. ………………. / …………………….. / ………………. ........................................................................................... - อานถูกตอ งตามอักขรวธิ ี - อา นจบั ใจความสําคัญ ........................................................................................... - มีนิสัยรักการอา น เกณฑก ารประเมิน ลงช่ือผปู ระเมิน …………………………………………….. ดานการอาน ………………. / ………………… / ………………. ดานการคดิ วิเคราะห - แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อานได …………………………………. - สรุปสาระสําคัญของเร่ืองทอ่ี า นได - ระบุขอ เทจ็ จรงิ และขอ คิดเห็นของเร่อื งทอ่ี า นได ดานการเขยี น - เขยี นขอ ความแสดงความรู ความคดิ และประสบการณไ ด - เลือกใชคาํ และสาํ นวนในการเขียนไดอยา งเหมาะสม ง - มีนิสัยรกั การเขียน และมีมารยาทในการเขยี น ผฉสู บอับน

๕ตาราง ผฉสู บอับน จ ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ´ŒÒ¹¤Ø³¸ÃÃÁ¢Í§¼ŒÙàÃÕ¹ »ÃШÒí »¡‚ ÒÃÈ¡Ö ÉÒ....................................... คําชแ้ี จง : ๑. ใหผสู อนสังเกตพฤติกรรมและประเมนิ คุณธรรมของนกั เรยี นในแตละภาคเรยี น โดยใสร ะดับคะแนน ๑ ถงึ ๔ ลงในชองระดับคะแนน* (๔ = ดีเยย่ี ม ๓ = ดี ๒ = ผา นเกณฑ ๑ = ไมผานเกณฑ) ๒. ใหผูสอนสรุปผลการประเมินในแตล ะภาคเรียน โดยทําเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ งระดับผลการประเมิน** ซงึ� ใชเ กณฑต ามเกณฑการประเมิน คณุ ธรรมของแตล ะกลมุ คุณธรรม*** ๓. คณุ ธรรมทม่ี ีเครอื่ งหมาย* กาํ กับ เปนคณุ ธรรมอันพึงประสงคท ่ีกําหนดไวใ นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ระดบั คะแนน* คุณธรรม ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ´ŒÒ¹¤Ø³¸ÃÃÁ¢Í§¼àŒÙ ÃÂÕ ¹ กลุมคณุ ธรรม คะแนนรวมคณุ ธรรมเพ่อื การพัฒนาตนคณุ ธรรมเพ่อื การพฒั นาการทาํ งานคณุ ธรรมเพ่อื การพัฒนาการอยรู วมกนั ในสงั คม ผลการประเมนิ รักชาติ ศาสน กษัตริย*( Learn to be )( Learn to do )( Learn to live with others ) ภาคเรยี นที่ มจี ติ สาธารณะ* ดีเยย่ี ม ความเปน ประชาธปิ ไตยดีผานไมผานดีเย่ยี มดีผาน ไมผ านดเี ยย่ี มดีผา น ไมผ าน ๑๒ ความมีมนุษยสมั พันธเกณฑเกณฑเกณฑ เกณฑเกณฑ เกณฑ ความสามคั คีและเสยี สละ๑๒ ความกตญั กู ตเวที๑๒๑๒ คะแนนรวม ความมีนาํ ใจ ความซอ่ื สตั ยสจุ รติ * ความรับผิดชอบ ความมงุ มน�ั ในการทาํ งาน* ความมีวินัย* ความประหยัด คะแนนรวม รกั ความเปน ไทย* การรักษาศีล ๕ หรอื หลกั ธรรมข้ันพื้นฐาน การอยอู ยา งพอเพียง* ความมเี หตุผลและ การเชอ่ื มน�ั ในตนเอง ความสนใจใฝเรียนร*ู รกั สะอาด ๑๒๑๒๑๒๑๒ ๑๒๑๒๑๒๑๒ ระดับผลการ ประเมนิ ** เกณฑก ารประเมินคุณธรรมของแตล ะกลมุ คณุ ธรรม*** ชวงคะแนน ระดับผลการประเมนิ ลงชอื่ ผปู ระเมนิ ………………………………………………………………..(ผสู อน) ๒๑-๒๔ ดีเยยี่ ม ลงชอ่ื ผปู กครอง……………………………………………………………….. (………………………………………………………………) (........................................................................) ………………. /………………………… /……………….. ๑๕-๒๐ ดี ………………./…………………………/……………….. ๙-๑๔ ผานเกณฑ ๖-๘ ไมผา นเกณฑ

ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃС¹Ñ ¤³Ø ÀÒ¾¼àŒÙ ÃÂÕ ¹µÒÁ໇ÒËÁÒµÇÑ ªÕéÇ´Ñ ªéѹ»‚ ๖ตาราง ÃÒÂÇÔªÒ »ÃÐÇµÑ ÔÈÒʵÏ ». õ (Performance Standard Based Evaluation) คาํ ชแี้ จง : ๑. ใหผ สู อนนําผลการประเมินคุณภาพช้ินงานระหวา งเรยี น และผลจากการสังเกตพฤติกรรมผูเ รียนตลอดปการศึกษา มาสรปุ ผลการประเมิน (Summative Evaluation) เปนระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒ หรือ ๑ โดยขดี ✓ ลงในชองตามผลการประเมินของนกั เรียนแตละคน ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾¼àÙŒ ÃÂÕ ¹µÒÁ໇ÒËÁÒµÇÑ ªÕéÇÑ´ªÑ¹é »‚ ระดับคุณภาพ ๔ = ดมี าก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ตองปรับปรงุ (เกณฑการประเมิน ข้ึนอยูกับดุลยพนิ ิจของครูผสู อน และมาตรฐานการศึกษาทโ่ี รงเรียนกําหนด) ๒. ใหผสู อนประเมนิ ผลความกาวหนา ทางการเรยี นตามลาํ ดบั มาตรฐานตัวชว้ี ัดชั้นป โดยแสดงผลเปน ระดับความกาวหนา ของนักเรยี นแตล ะคน ตามเกณฑต อไปนี้ ระดับความกาวหนา ดีมาก หมายถึง มผี ลการประเมนิ ความรคู วามเขา ใจและทกั ษะในมาตรฐานนั้น รอยละ ๘๐ ขึ้นไป ดี หมายถึง มีผลการประเมินความรูความเขาใจและทกั ษะในมาตรฐานนนั้ ต้งั แต รอ ยละ ๗๐-๗๙ ผา นมาตรฐาน หมายถงึ มีผลการประเมินความรคู วามเขาใจและทกั ษะในมาตรฐานน้นั ตง้ั แต รอ ยละ ๖๐-๖๙ ปรับปรงุ หมายถึง มีผลการประเมินความรูค วามเขา ใจและทักษะในมาตรฐานนนั้ ตํา่ กวา รอยละ ๖๐ มาตรฐานตัวช้วี ดั ชน้ั ป จดุ ประสงคการเรียนรู หนวยท่ี ระดบั คุณภาพ สรุปการประเมินระดับ ( ชั้น ป.๕ ) บทที่ หลกั ฐาน/ช้นิ งานท่แี สดงผลการเรยี นรู ของชิ้นงาน ความกา วหนาตาม ๔ ๓ ๒ ๑ มาตรฐานการเรียนรู สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร ส ๔.๑ ส ๔.๑ (๑) สืบคนความเปน มาของ - ใชวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรส บื คน หนวยที่ ๑ ก. พฒั นาการคดิ บทท่ี ๑ ทอ งถ�ินโดยใชห ลกั ฐานทหี่ ลากหลาย ความเปน มาของทองถิ�นได บทที่ ๑ - บนั ทึกขอ มูลการใชวิธีการทาง ส ๔.๑ (๒) รวบรวมขอมูลจากแหลง ตางๆ เพื่อตอบคําถามทางประวัติศาสตร ประวตั ิศาสตร สบื คน ขอ มลู ความ อยางมเี หตผุ ล เปนมาของทองถิน� ส ๔.๑ (๓) อธบิ ายความแตกตา งระหวา ง - อธิบายความแตกตา งระหวา งความจรงิ หนวยที่ ๑ ก. พัฒนาการคิด บทที่ ๒ ขอ ๑ ความจริงกับขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราว กับขอ เท็จจรงิ เกี่ยวกบั เรือ่ งราวใน บทท่ี ๒ - ตอบคําถามเกย่ี วกบั ความจรงิ กบั ในทอ งถนิ� ทองถ�นิ ได ขอเท็จจรงิ ฉ ผฉูสบอับน

ผฉูสบอับน ช มาตรฐานตวั ชีว้ ัดชัน้ ป หนวยที่ ระดบั คุณภาพ สรปุ การประเมนิ ระดบั ( ชน้ั ป.๕ ) บทที่ หลักฐาน/ชิ้นงานท่ีแสดงผลการเรียนรู ของชิน้ งาน ความกา วหนาตาม จุดประสงคการเรียนรู หนว ยที่ ๒ ก. พัฒนาการคดิ บทท่ี ๑ ขอ ๒ ๔๓๒๑ มาตรฐานการเรยี นรู ๖ตาราง บทที่ ๑ - เขียนแผนผงั ความคิดแสดงอิทธิพล ส ๔.๒ (๑) อธบิ ายอทิ ธพิ ลของอารยธรรม - อธบิ ายอทิ ธิพลของอารยธรรมอินเดีย ส ๔.๒ อนิ เดยี และจนี ท่ีมีตอไทย และเอเชีย- และจนี ท่ีมตี อ ไทย และเอเชยี - ของอารยธรรมอินเดียและจีน ตะวันออกเฉ�ยงใตโดยสงั เขป ตะวันออกเฉย� งใตโ ดยสังเขปได หนวยที่ ๒ ก. พฒั นาการคดิ บทท่ี ๒ ขอ ๒ ส ๔.๓ ส ๔.๒ (๒) อภิปรายอิทธิพลของ - อภิปรายอิทธพิ ลของวัฒนธรรม บทท่ี ๒ - อภปิ รายอิทธิพลของวฒั นธรรม วฒั นธรรมตา งชาติที่มีตอ สังคมไทย ตา งชาติท่ีมีตอสงั คมไทยปจ จบุ นั ปจจบุ ันโดยสงั เขป โดยสังเขปได ตา งชาตทิ ่ีมตี อ สังคมไทย หนวยที่ ๓ ก. พัฒนาการคิด บทท่ี ๑ ขอ ๑ ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾¼ŒÙàÃÕ¹µÒÁ໇ÒËÁÒµÇÑ ªÕéÇ´Ñ ªé¹Ñ »‚ ส ๔.๓ (๑) อธิบายพฒั นาการของ - อธิบายพัฒนาการของอาณาจักร บทท่ี ๑ - ทาํ รายงานเก่ยี วกับพฒั นาการ อาณาจกั รอยุธยาและธนบรุ โี ดยสังเขป อยุธยาและธนบุรีโดยสังเขปได บทท่ี ๒ ของอยุธยา ส ๔.๓ (๒) อธบิ ายปจจยั ทีส่ งเสรมิ ความ - อธบิ ายปจ จัยทีส่ งเสริมความเจริญ ก. พัฒนาการคดิ บทท่ี ๒ เจริญรงุ เรอื งทางเศรษฐกิจและการ รงุ เรอื งทางเศรษฐกจิ และการปกครอง - เขียนสรปุ เร่ืองพฒั นาการของ ปกครองของอาณาจกั รอยุธยา ของอาณาจักรอยธุ ยาได อาณาจักรธนบรุ ี หนว ยที่ ๓ ก. พัฒนาการคดิ บทท่ี ๑ ขอ ๒ บทที่ ๑ - ตอบคําถามที่กําหนด ส ๔.๓ (๓) บอกประวัติและผลงานของ - บอกประวัตแิ ละผลงานของบุคคล หนว ยที่ ๓ ก. พัฒนาการคดิ บทที่ ๓ ขอ ๑ บุคคลสําคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่นา สําคัญสมยั อยุธยาและธนบุรีทีน่ า บทท่ี ๓ - สืบคนผลงานของบุคคลสําคัญในสมัย ภาคภูมใิ จ ภาคภูมใิ จได ส ๔.๓ (๔) อธบิ ายภมู ปิ ญ ญาไทยทส่ี าํ คญั - อธบิ ายภมู ปิ ญ ญาไทยทส่ี าํ คญั สมยั อยุธยาและธนบุรี สมยั อยุธยาและธนบรุ ีทน่ี าภาคภูมิใจ อยุธยาและธนบุรที นี่ า ภาคภมู ใิ จ หนวยที่ ๓ ก. พัฒนาการคิด บทที่ ๔ ขอ ๑ และควรคาแกก ารอนรุ ักษ และควรคา แกการอนรุ กั ษได บทท่ี ๔ - ดภู าพภมู ิปญญาไทยแลว บนั ทึกขอมลู หมายเหตุ : ผูสอนเกบ็ รวบรวมขอมลู ผลการประเมินความกาวหนาไวประกอบการพจิ ารณารวมกบั มาตรฐานตวั ชี้วัดชน้ั ป ชั้น ป.๔ และ ป.๖ เพือ่ จดั ทาํ สารสนเทศแสดงความกา วหนา ทางการเรยี นของนกั เรียนแตละคน และจดั ทาํ สารสนเทศรายงานผลการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา

ห นว๑ยการเรียน »ÃÐÇѵÈÔ Òʵ÷ ŒÍ§¶Ôè¹รทู ่ี เปา หมายการเรยี นรปู ระจาํ หนวยท่ี ๑ แผนผังความคิดประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยนแ�้ ลว ผูเรยี นจะมีความรู ประวัติศาสตรทอ งถ�ิน ความสามารถตอไปน้� ๑. สืบคน ความเปนมาของทองถ�ิน วิธีการสืบคนความเปนมา ความจริงกับขอเท็จจริง ของทองถน�ิ ของเร่อื งราวในทองถน�ิ โดยใชหลกั ฐานทห่ี ลากหลาย ๒. รวบรวมขอ มูลจากแหลง ตางๆ เพอ่ื ตอบ การกําหนดหัวขอทส่ี นใจ ความแตกตางระหวาง การรวบรวมหลกั ฐาน ความจรงิ กบั ขอเท็จจริง คําถามทางประวตั ศิ าสตรอ ยางมเี หตผุ ล การตรวจสอบหลักฐาน เกี่ยวกบั เรือ่ งราวในทอ งถิ�น ๓. อธิบายความแตกตางระหวางความจรงิ กบั การตคี วามขอมูล ตวั อยา งหลักฐาน การนําเสนอขอมลู ประวตั ิศาสตรท ี่แสดง ขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั เรื่องราวในทอ งถนิ� ความจรงิ กับขอ เท็จจริง คุณภาพที่พงึ ประสงคของผเู รียน ผฉูสบอับน ๑. มีความรเู รือ่ งทอ งถ�นิ ของตน ในเชิงประวตั ศิ าสตร ๒. สามารถเปรยี บเทียบเรอ่ื งราวของทอ งถนิ� จงั หวัด และภาคตางๆ ของประเทศไทย ๓. ไดรบั การพัฒนาแนวคิดทางประวตั ิศาสตร เพ่อื ขยายประสบการณและนาํ ไปสูก ารทํา ความเขาใจการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม จากอดีตสปู จจบุ นั

๑บทท่ี Ç¸Ô Õ¡ÒÃÊ׺¤¹Œ ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ·ŒÍ§¶Ôè¹ ขอบขายสาระการเรยี นรแู กนกลางรายวชิ า ประวตั ศิ าสตร ช้นั ป.๕ ตัวชีว้ ดั ชั้นป สาระพนื้ ฐาน ความรูฝง แนน ตดิ ตวั ผูเรียน มฐ. ส ๔.๑ (๑) วิธกี ารสืบคน ความเปน มา การสบื คน ความเปน มาของทอ งถนิ� โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร และ สืบคนความเปน มาของทอ งถ�ินโดยใช ของทองถน�ิ หลกั ฐานท่หี ลากหลาย จะทาํ ใหได หลักฐานที่หลากหลาย ขอเท็จจริงทแี่ สดงความจรงิ มฐ. ส ๔.๑ (๒) รวบรวมขอ มูลจากแหลง ตางๆ เพื่อตอบ คําถามทางประวตั ิศาสตรอ ยา งมเี หตุผล ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒÊ¡‹Ù ÒÃàÃÂÕ ¹ ผฉูสบอบั น ¨Ò¡ÀÒ¾ ໹š ËÅ¡Ñ °Ò¹»ÃÐàÀ·ã´ ËÅ¡Ñ °Ò¹àËÅÒ‹ ¹ÁÕé Õ »ÃÐ⪹͏ ÂÒ‹ §äáºÑ ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒàÃÍ×è §ÃÒÇã¹·ÍŒ §¶¹èÔ ๒ ประวตั ศิ าสตร ๕

Ç¸Ô ¡Õ ÒÃÊ׺¤¹Œ ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ·ŒÍ§¶Ô¹è การศึกษาเร่ืองราวตางๆ ในอดีต หรือการศึกษาประวัติความเปนมา ของสิ�งตางๆ เชน ประวัติของเรา ประวัติของโรงเรียน ประวัติของชุมชน ประวัติของทองถ�ิน เปนตน การท่ีจะศึกษาเรื่องราวเหลาน้�ใหมีความถูกตอง ชัดเจน และมีความนาเชื่อถือ เราตองมีวิธีการคนควาท่ีเปนขั้นตอน เรียกวา วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร ซ�งึ ประกอบดว ยการดาํ เนินการ ๕ ข้นั ตอน ดังน�้ ๑. การกาํ หนดหวั ขอ ๒. การรวบรวมหลกั ฐาน ปวริธะวกี ตั าศิรทาสาตงร ผฉสู บอับน ๓. การตรวจสอบหลกั ฐาน ๕. การเรยี บเรยี งและ นําเสนอขอมูล ๔. การตคี วามขอมูล ¡·ÒÍŒ ç㶪ԹèŒÇ¸Ô¢Í¡Õ §ÒµÃ·¹Òàͧ»§Ã¹ÐÇÑ¡µÑ àÈÔÃÂÕÒʹµÊÃҏ Áã¹Òá¶Ò´ÃÊíÒàº× ¹¤¹Ô ¹Œ ¡¢ÒÍŒ ÃÁäÅÙ´àŒ ¡´ÂÕè ѧǹ¡ÕéºÑ ประวัตศิ าสตร ๕ ๓

๑. กําหนดหัวขอทส่ี นใจ ในขั้นตอนแรก เราตองกําหนดหัวขอที่เราสนใจจะศึกษาหรือ กาํ หนดขอบเขตของเร่อื งท่เี ราจะศึกษา โดยอาจตงั้ คําถามไวอ ยางกวางๆ ตวั อยา งเชน ● ทอ งถน�ิ ของเรามผี ูค นต้ังถนิ� ฐานมาตงั้ แตเ มอ่ื ใด ● ลกั ษณะวิถีชวี ิตและความเปน อยขู องผคู นในทองถิน� มลี กั ษณะอยางไร ● วฒั นธรรม ประเพณ� และสถานทีส่ าํ คัญในทอ งถนิ� มีอะไรบาง ● ชื่อของสถานท่สี าํ คญั ในทอ งถ�นิ มที ่มี าอยางไร ● บคุ คลสาํ คัญในทอ งถ�ินมีใครบา ง มผี ลงานสําคญั อะไร ● เหตกุ ารณสําคัญท่ีมผี ลตอวถิ ชี วี ติ ของคนในทอ งถ�นิ มีอะไรบา ง ๒. รวบรวมหลักฐาน เมื่อกําหนดหัวขอท่ีเราสนใจจะศึกษาคนควาไดแลว ขั้นตอไปคือ ผฉูสบอบั น การรวบรวมหลักฐานท่ีเก่ียวของ เพ่ือนํามาใชในการศึกษาคนหาคําตอบที่เรา สนใจ หลักฐานทางประวัติศาสตร ทีเ่ ก่ยี วกับประวัตศิ าสตรท อ งถ�นิ ไดแ ก ๑) หลักฐานช้ันตน ซ�ึงเปน หลกั ฐานรว มสมยั กบั บคุ คลหรอื เหตกุ ารณ ท่ีเกิดข้ึน หลักฐานชั้นตนเก่ียวกับความ เปนมาของทองถิ�น เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปตยกรรมรวมสมัย เชน อาคารสมัยโบราณ เรือนโบราณ  ตลาดรอยป อ.สามชกุ จ.สุพรรณบรุ ี ภาพถายเกาๆ สถานที่สําคัญในทองถ�ิน เปนตวั อยางของแหลง ขอมลู ของทองถิ�น สง�ิ ของเครอ่ื งใชข องผคู นในอดตี เปน ตน ท่ีเราสามารถไปเกบ็ ขอ มูลบางดา นมาใช ในการศกึ ษาได ๔ ประวัตศิ าสตร ๕

๒) หลักฐานช้ันรอง เปนหลักฐานที่เขียนข้ึนในภายหลัง โดยอาศัย คําบอกเลา หรือขอมูลจากหลกั ฐานช้นั ตน เชน หนงั สอื บทความ บนั ทึกความ ทรงจําที่เขียนข้นึ หลังเหตกุ ารณ อนุสาวรยี ท ่ีสรางขนึ้ หลงั เหตุการณ เปนตน ประวัติความเปนมาของทองถิ�นหลายแหงไดถูกบันทึกรวบรวม ไวเปนหนังสือ มีทั้งท่ีเขียนข้ึนโดยหนวยงานราชการและบุคคลทั�วไป หนังสือ เก่ียวกับประวัติความเปนมาของทองถ�ิน ทําใหเราสามารถคนควาเรื่องราวใน ทองถิน� ไดสะดวกขนึ้ ผฉูส บอับน  หนังสอื ที่รวบรวมขอมูลเกีย่ วกับประวัตคิ วามเปน มาของทอ งถนิ� จัดเปนหลักฐานชั้นรอง นอกจากน้�ในบางทองถิ�นอาจมีตํานานทองถ�ินหรือเรื่องที่เลา ตอๆ กันมา เกี่ยวกับความเปนมาของทองถ�ิน ท่ีมาของชื่อสถานท่ี เชน ตํานานอุรังคธาตุกลาวถึงประวัติศาสตรสรางพระธาตุพนม ตํานานจามเทวีวงศ กลาวถึงการสรางเมืองหริภุญชัย ตํานานเรื่องพระยากง พระยาพานกลาวถึง การสรางพระปฐมเจดีย เปนตน เรอ่ื งราวเกา ๆ ทเ่ี ลา สบื ตอ กนั มา ประวตั ศิ าสตร ๕ ๕

หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร นอกจากจะแบง เปน หลกั ฐานชนั้ ตน และ หลักฐานชั้นรองแลว หลักฐานทางประวัติศาสตรยังจําแนกไดเปน ๒ ลักษณะ คอื ๑) หลักฐานที่เปนตัวอักษร เชน หนังสือที่มีผูเขียนขึ้น จารึก หนงั สอื พิมพ พงศาวดาร เปนตน เรอ่ื งราวของเหตกุ ารณเ กย่ี วกบั ประเทศชาติ หรือพระมหากษตั ริยผ ูเปนประมขุ ของประเทศน้ันๆ ผฉูสบอบั น  หนงั สอื ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ทองถิ�นตา งๆ จัดเปนหลกั ฐานทเี่ ปนตวั อกั ษร ๒) หลักฐานท่ีไมใชตัวอักษร เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุใน ทองถิ�นตางๆ ส�ิงของเคร่ืองใชของคนในทองถิ�น ส�ิงกอสรางในทองถ�ินตางๆ รูปถาย สถานทีส่ ําคญั ในทองถิ�น เปนตน  สถานที่สําคญั ในทองถิน� จัดเปน หลักฐานที่ไมใชตวั อักษร ๖ ประวัติศาสตร ๕

แตละทองถ�ินมีหลักฐานทางประวัติศาสตรที่หลากหลายแตกตางกัน เพราะแตละทองถิ�นมีประวัติความเปนมาแตกตางกัน บางทองถ�ินมีผูคนอาศัย อยูมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร บางทองถิ�นมีผูคนอาศัยอยูในชวงสมัย อยุธยา บางทองถ�ินมีผูคนอาศัยอยูในชวงไมกี่ปท่ีผานมา ซ�ึงทําใหหลักฐานใน แตล ะทองถน�ิ ทพี่ บสามารถแบงไดตามชวงสมยั ประวัตศิ าสตร ไดดงั น้� ๑) หลักฐานสมัยกอนประวัติศาสตร ในสมัยกอนประวัติศาสตรนั้น เปนสมัยที่ยังไมมีตัวอักษรใช หลักฐานสมัยกอนประวัติศาสตรจึงเปนประเภท ซากโครงกระดูกมนษุ ยโบราณ ภาพเขยี นสีตามผนังถํ้าและเพงิ ผา อาวธุ ท่ที าํ มา จากหิน เคร่ืองปนดินเผา เคร่ืองมือเครื่องใชตางๆ รวมท้ังโบราณสถาน และ โบราณวตั ถุ ผฉูสบอบั น ภาพเขยี นสีทผี่ นงั ถา้ํ ผาแตม จงั หวัดอุบลราชธานี ขวานและหอกทที่ าํ จากสาํ รดิ ที่แหลงโบราณคดีบานเชียง จงั หวดั อุดรธาน� เครื่องประดับท่ที ําจากสํารดิ ทแี่ หลงโบราณคดบี า นเชยี ง จังหวัดอุดรธาน� ๗  ตัวอยางหลกั ฐานสมยั กอ นประวัติศาสตรท่พี บในบรเิ วณของประเทศไทย โลหะเจอื ชนดิ หนง่ึ สว นใหญป ระกอบดว ยทองแดงกบั ดบี กุ ประวตั ศิ าสตร ๕

๒) หลักฐานสมัยประวัติศาสตร สมัยประวัติศาสตรเปนสมัยท่ีมี ตัวอักษรใชแลว หลักฐานสมัยประวัติศาสตร เชน ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร ภาพถา ย เทปบันทกึ เหตุการณ เปนตน ผฉสู บอบั น  จารกึ ที่พบตามสถานทต่ี า งๆ ในประเทศไทย จัดเปน หลักฐานสมยั ประวัตศิ าสตร ในการคน ควารวบรวมหลกั ฐานเพอ่ื ศึกษาทองถน�ิ น้นั ตองไปคนควา จากแหลงเก็บหลักฐานท่ีสําคัญในทองถ�ิน เชน สถานที่ราชการในทองถิ�น วัด พพิ ิธภณั ฑท องถนิ� แหลงโบราณคดี โบราณสถาน เปน ตน  โบราณสถาน และพพิ ธิ ภณั ฑ เปนแหลง ขอมูลและเปน แหลงรวบรวมหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท ีส่ ําคัญ ของทองถน�ิ ๘ ประวตั ศิ าสตร ๕

ตวั อยา ง การรวบรวมขอ มูลเกยี่ วกับภูมิภาค ผฉูส บอับน เมื่อกําหนดหัวขอที่จะศึกษาเก่ียวกับเร่ือง “ประวัติความเปนมาของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรจนถึงปจจุบัน” จะเร่ิมคนควาขอมูลจากหนังสือหรือบทความทางวิชาการที่มีผูเขียนหรือ เรียบเรียงเอาไว และควรคนควาขอมูลจากการเดินทางไปดูสถานที่ตางๆ ท่ี เกยี่ วขอ ง เชน ✽ แหลง โบราณคดบี า นเชยี ง ที่ อ.หนองหาน จ.อดุ รธานี แหลงโบราณคดบี า นปราสาท ที่ อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา ✽ ภาพเขยี นสที ผ่ี นังถ้าํ ผาแตม ท่ี อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ✽ พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติขอนแกน ที่ จ.ขอนแกน พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติพิมาย ที่ จ.นครราชสมี า ✽ สถานท่ีสาํ คัญอน่ื ๆ เชน ปราสาทหินพิมาย ที่ จ.นครราชสมี า ปราสาทหนิ พนมรงุ ที่ จ.บรุ รี มั ย ปราสาทศขี รภมู ิ ท่ี จ.สรุ นิ ทร พระธาตพุ นม ที่ จ.นครพนม  แหลงโบราณคดีบานปราสาท ที่ จ.นครราชสีมา  ปราสาทศขี รภมู ิ ที่ จ.สุรนิ ทร ประวัตศิ าสตร ๕ ๙

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑. เขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร พรอ มกบั ยกตวั อยา งประกอบ (ตัวอยาง) โบราณสถาน โบราณวัตถุ หนงั สอื บทความ หลักฐานช้นั ตน หลักฐานชัน้ รอง แบง ตามชว งเวลา อนุสาวรีย พงศาวดาร ภาพเขยี นสี อาวุธจากหนิ หนังสือ หนังสือพิมพ หลักฐานทาง ตามผนังถํา ซากโครงกระดกู ประวัตศิ าสตร มนุษยโบราณ ผฉูส บอบั น หลกั ฐานทีเ่ ปน ตัวอักษร สมยั กอนประวัติศาสตร จารึก แบงตามลายลกั ษณอกั ษร แบง ตามชว งสมัยประวัตศิ าสตร ตํานาน หลักฐานทีไ่ มใชต วั อักษร หลกั ฐานสมัยประวัติศาสตร ภาพถาย โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ภาพถา ย ศิลาจารกึ จดหมายเหตุ พงศาวดาร ๒. แบงกลุม ใหแตละกลุมใชวิธีการทางประวัติศาสตร ข้ันที่ ๑-๒ ในการ คน ควา ประวตั คิ วามเปน มาของทอ งถนิ� ทก่ี ลมุ สนใจ จากนนั้ อธบิ ายขนั้ ตอน การดาํ เนนิ การ และยกตวั อยา งหลกั ฐานประกอบ แลว นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั ๑๐ ประวตั ศิ าสตร ๕ ขึน้ อยูกับดุลยพนิ ิจของผสู อน

๓. การตรวจสอบหลักฐาน คือ การวิเคราะหประเมินความนาเช่ือถือ วาหลักฐานมีความถกู ตอ ง และนาเชื่อถือเพียงใด เชน ● หลักฐานที่ไดจากผูท่ีอยูในเหตุการณยอมมีความนาเชื่อถือกวา ผูท่ีไมไดอ ยูในเหตกุ ารณ ● ถาเปนหลักฐานทางโบราณคดี ตองผานการตรวจสอบตามหลัก วิชาการแลว วา เปน หลกั ฐานท่ีเกิดขึ้นในสมัยนน้ั จรงิ ๔. การตีความขอมูล คือ การนําขอมูลท่ีปรากฏในหลักฐานมาจัดเปน ประเด็นสําคัญ และเลือกสรรวา ขอมูลใดนาเช่ือถือกวา ถูกตองกวา และมี ผลสําคัญตอเหตุการณ หรือประเด็นที่เรา ศกึ ษามากกวา กนั เพือ่ ตอบคาํ ถามทีต่ ้ังไว อยา งมเี หตผุ ล และมหี ลักฐานอา งอิง ๕. การนาํ เสนอขอ มลู คอื การนาํ ผฉสู บอบั น เสนอเรื่องราวท่ีไดศึกษาคนควาและได ตรวจสอบขอมูลแลว มานําเสนอเพื่อ อธิบายขอสงสัยหรือประเด็นท่ีตั้งไวใน ขั้นตอนแรก ในรูปแบบตางๆ เชน การ เขียนเรียงความ การจัดนิทรรศการ การ เลาใหผ อู นื่ ฟง โดยใชภาษาท่เี ขาใจงาย มี ความตอเน�อง นา สนใจ เพอ่ื ใหไ ดง านทาง  การจดั นทิ รรศการเปน การนาํ เสนอขอ มลู ประวตั ศิ าสตรท่ีมคี ณุ คาและมคี วามหมาย ทางประวตั ศิ าสตรทนี่ าสนใจวิธีการหน�งึ ๑๑ประวัตศิ าสตร ๕

ตวั อยาง การนําเสนอขอ มูล เรื่อง ประวัตคิ วามเปน มาของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ต้ังแตส มยั กอ นประวตั ิศาสตรจ นถงึ ปจ จุบัน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มพี นื้ ทสี่ ว นใหญเ ปน ทรี่ าบสงู ทยี่ กตวั สงู ทาง ตะวันตกและลาดเอียงไปทางตะวันออกลงสูแมนํ้าโขง ตอนกลางของภาคมี ลกั ษณะเปน แอง กระทะ มแี มน าํ้ มลู และแมน าํ้ ชไี หลผา น นอกจากนย้ี งั มที ร่ี าบ โลง อยหู ลายแหง เชน ทงุ กลุ ารอ งไห ทงุ หมาหวิ เปนตน และยังมแี นวเทือก เขาก้ันเปนขอบของภาคทางดา นตะวันตกและดานใต จากการศึกษาคน ควา ทางโบราณคดี พบหลกั ฐานการตงั้ ถนิ่ ฐานของ มนุษยต้ังแตสมัยกอนประวัติศาสตรในยุคหินเปนตนมา โดยชุมชนในระยะ แรกๆ ไดต ง้ั ถิน่ ฐานกระจายอยทู ัว่ ไปตามถํา้ ภเู ขา เพิงผา และรมิ น้าํ ในเขต จงั หวัดเลย หนองคาย อดุ รธานี นครพนม และนครราชสมี า ชมุ ชนเหลานี้ ผฉูสบอบั น ดํารงชีพโดยการลาสัตวและเก็บของปา ยังไมมีการเพาะปลูกและเล้ียงสัตว เคร่ืองมือสําคัญท่ีคนพบ ไดแก เคร่ืองมือหินกะเทาะ และภาพเขียนสีตาม แหลง โบราณคดีหลายแหง เชน บริเวณผาใกลถาํ้ มโหฬาร และในถ้าํ ผาฆอง ท่ี อ.ภกู ระดงึ จ.เลย เมอื่ ประมาณ ๕,๐๐๐ - ๖,๐๐๐ ป มาแลวไดป รากฏรองรอยของการ เริ่มเปนสังคมเกษตรกรรม โดยมีการคนพบหลักฐานการเพาะปลูกและเล้ียง สตั วบ างประเภทไวส าํ หรบั อปุ โภคและบรโิ ภค การทาํ ภาชนะดนิ เผา การทอผา การทาํ เครอื่ งมอื เครอื่ งใชด ว ยโลหะ และการปลกู ขา ว แหลง โบราณคดที สี่ าํ คญั ไดแก แหลง โบราณคดบี า นเชยี ง ที่ ต.บา นเชยี ง อ.หนองหาน จ.อดุ รธานี แหลง โบราณคดโี นนนกทา ที่บานนาดี ต.โคก อ.ภเู วียง จ.ขอนแกน นอกจากน้ียังพบศิลปกรรมประเภทภาพเขียนสี ในบริเวณอีกหลาย จงั หวัด เชน เลย อุดรธานี นครราชสีมา สกลนคร เปน ตน ๑๒ ประวตั ศิ าสตร ๕

ครนั้ ในราว ๒,๐๐๐ ป มาแลว ชมุ ชนโบราณภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดเรมิ่ พัฒนามาเปนสังคมเมอื ง มกี ารตดิ ตอกบั ชมุ ชนอนื่ หลักฐานทค่ี น พบ เก่ียวกับชุมชนโบราณในระยะนี้มีอยูหลายแหง เชน แหลงโบราณคดีท่ีบาน เชยี งเหยี น จ.มหาสารคาม แหลง โบราณคดโี นนชัย ต.ในเมอื ง จ.ขอนแกน  ภาพเขยี นสที ี่ผนงั ถาํ ผาแตม  ภาชนะดินเผา ท่ีแหลงโบราณคดีบานเชียง จ.อุบลราชธาน� จ.อุดรธาน� ตอมาในสมัยประวัติศาสตร ไดพบหลักฐานทางประวัติศาสตร จํานวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน จารึกโบราณ และใบเสมาหิน ผฉูสบอับน สมยั ทวารวดีลวงมาถึงปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ ไดมีการคน พบปราสาท ขนาดใหญ เชน ปราสาทหนิ พิมาย ท่ี จ.นครราชสมี า ปราสาทหินพนมรุง ท่ี จ.บรุ ีรัมย สิ่งท่ีมีลักษณะคลายใบสีมาท่ีเรียงกัน อยูบนกาํ แพงอยา งกาํ แพงเมอื ง  ปราสาทหินพมิ าย ท่ี จ.นครราชสีมา  ปราสาทหินพนมรงุ ท่ี จ.บรุ รี ัมย ชวงเวลาในรอบ ๑๐๐ ป เรมิ่ นบั ต้งั แตป ท่ีขน้ึ ตน ดว ย ๑ เปนปแรกของศตวรรษ จนถงึ ป ประวตั ิศาสตร ๕ ๑๓ ที่ ๑๐๐ ซึง่ พุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ หมายถึง ชว งเวลาระหวา ง พ.ศ. ๑๕๐๑ - พ.ศ. ๑๗๐๐

ปราสาทหนิ เหลา นี้ ยงั ไดร บั อทิ ธพิ ลของสถาปต ยกรรมแบบศลิ ปะขอม เม่ืออาณาจักรขอมเสื่อมอํานาจลง เมืองตางๆ จึงตกอยูใตอํานาจของ อาณาจกั รอยุธยา และอาณาจกั รลานชา ง ในสมยั ธนบรุ แี ละสมยั รตั นโกสนิ ทร หวั เมอื งในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อยูภ ายใตการปกครองของไทย มีเมอื งสาํ คัญ เชน นครราชสีมา ผฉสู บอับน  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว เสด็จพระราชดาํ เนนิ ไปในพิธสี รา งทางรถไฟ-นครราชสมี า เม่อื วนั ที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๓๙ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาล ท่ี ๕) มีการสรางทางรถไฟเชื่อมระหวางกรุงเทพฯ กับจังหวัดนครราชสีมา และเรม่ิ เปด ใชเ มอ่ื ป พ.ศ. ๒๔๓๙ หลงั การสรา งทางรถไฟทาํ ใหก ารเดนิ ทาง ในภูมิภาคน้ีมีความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย นอกจากน้ียังเกิดผลดี หลายดาน เชน ทําใหการปกครองของกรงุ เทพฯ กับหวั เมอื งใกลชดิ มากขึ้น ตอมามีการขยายเสนทางรถไฟไปยังหัวเมืองอื่นๆ ทําใหบานเมืองขยายตัว มากข้ึน จึงมีการจัดตั้งระบบการปกครองหัวเมืองในภาคตางๆ เปนมณฑล ขนึ้ ตรงกับกระทรวงมหาดไทย เขตปกครองท่แี บงออกเปนสว นใหญๆ ๑๔ ประวัติศาสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ๑. รว มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรใ น การสบื คน ความเปน มาของทอ งถน�ิ วา มปี ระโยชนอ ยา งไร แลว สรปุ ผลการ อภปิ ราย บนั ทกึ ขอ มลู จากนน้ั นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั (ตวั อยา ง) การใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการสืบคนความเปนมาของทองถ�ิน ผฉูส บอับน มปี ระโยชน ดังน้� …๑….……ท…ํา…ใ…ห…ส……บื …ค……น…ข…อ……ม…ลู …ข…อ…ง……ท…อ …ง…ถ……ิ่น…ไ…ด……อ …ย…า…ง…ค……ร…บ…ถ……ว…น……แ…ล……ะ…ท…ํา…ใ…ห…ไ…ด…ข…อ……ม…ลู …ท……่มี …ี ………… ความนา เช่ือถือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …๒….……ท…าํ …ใ…ห…ร…ูจ……กั …แ…ห…ล……ง …ข…อ …ม…ูล……ท…่เี …ก…่ีย…ว…ก……บั …ป……ร…ะ…ว…ัต…ศิ …า…ส……ต…ร…ใ…น……ท…อ…ง……ถ…นิ่ …ต……น…เ…อ…ง………………………… …………เพ……่มิ …ม…า…ก…ข…นึ้………ซ…ึ่ง…อ……า…จ…ก…อ…ใ…ห……เ ก……ิด…ป…ร……ะโ…ย…ช……น…ใ …น……อ…น…า…ค……ต…ไ…ด…………………………………………………… …๓….……ท…าํ …ใ…ห…ไ …ด…ข…อ……ม…ลู …เ…ก…ยี่…ว…ก……ับ…ป……ร…ะ…ว…ัต…ศิ …า…ส……ต…ร…ท……อ …ง…ถ…่นิ……ท…ม่ี……คี …ุณ……ค…า……แ…ล……ะ…ม…ีค…ว…า…ม…ห……ม…า…ย……… …………ซ…ึ่ง…จ…ะ…เ…ป…น……ป…ร…ะ…โ…ย…ช…น……ต…อ…ช…น……ร…ุน……ห…ล……งั …ต…อ …ไ…ป………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. แบงกลุม ใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายวาการตรวจสอบหลักฐานและการ ตคี วามขอ มลู มคี วามสาํ คญั อยา งไร (ตวั อยา ง) การตรวจสอบหลกั ฐาน และการตีความขอมูล มคี วามสาํ คญั คอื ………………………….. จะทําใหข อ มูลและหลักฐานท่ีไดม ีความถูกตอ งและนา เชือ่ ถือ.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. แบงกลมุ ใหแตละกลมุ สืบคนขอมูลเก่ยี วกับความเปนมาของทองถ�นิ ของตน โดยใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร แลว นาํ เสนอขอ มลู โดยวธิ กี ารตา งๆ ๑ วธิ ี เชน การเขยี นเรยี งความ การจดั นทิ รรศการ หรอื การเลา เรอ่ื งใหผ อู น่ื ฟง ข้ึนอยูก ับดุลยพินิจของผสู อน ๑๕ประวตั ศิ าสตร ๕

๑¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹ปÒร¡ะÒจÃํา¤บท´Ô ที่ แบงกลมุ ใหแตละกลมุ สืบคนขอมูลเก่ยี วกับความเปนมาของทองถ�นิ ท่กี ลมุ มฐ./ตวั ชีว้ ดั สนใจ โดยใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร และบนั ทกึ ขอ มลู จากนน้ั ผลดั กนั นาํ เสนอ ผลงานหนา ชน้ั สส44..11 ((12)) ขน้ั ที่ ๑ กาํ หนดหวั ขอ ทส่ี นใจ (ตวั อยา ง) …ป…ร…ะ…ว…ตั …ิค……ว…า…ม…เ…ป…น ……ม…า…ข…อ…ง…ภ…า…ค……ใ…ต…ต…้ัง……แ…ต…อ …ด……ีต…ถ…ึง…ป……จ…จ…ุบ……ัน………………………………………………………………… ขน้ั ท่ี ๒ รวบรวมหลักฐาน ✽ แหลงการเรียนรูในการแสวงหาขอมลู ของกลุมฉัน คือ ห…อ……ง…ส…ม…ุด……ป…ร…ะ…จ…าํ…-….. …โร……ง…เร……ีย…น……แ…ห……ล…ง …โ…บ……ร…า…ณ……ค…ด…ี…เ…ว…็บ…ไ…ซ……ต…ท…า…ง…อ……ิน…เ…ท…อ…ร……เ น……็ต……………………………………………………… ✽ ขอ มลู และหลักฐานที่กลมุ ฉันรวบรวมได มาจาก หนงั สือ…………………………………………………… บทความทางวชิ าการ ภาพถา ย…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้นั ท่ี ๓ ตรวจสอบหลกั ฐาน ผฉูสบอับน วิธีตรวจสอบขอมลู ของกลุม ฉัน มีดงั น�้ ……ห……น…ัง……ส…อื …บ……ท…ค……วา…ม……ต…า …ง…ๆ……ท……่มี …ี ……………….. …ผ…เู ร……ีย…บ…เ…ร…ีย…ง…ข…ึ้น………เ…ม…่ือ…ต…ร……ว…จ…ส…อ……บ…แ…ล…ว…พ……บ…ว…า…เ…ข…ยี …น……ข…น้ึ …โ…ด…ย……ผ…ทู …มี่ …ีค……ว…า…ม…เ…ช…ี่ย…ว…ช…า…ญ……………………… …แ…ล…ะ…ข…อ …ม…ูล……ท…ีไ่ …ด…ม……า…จ…า…ก…แ…ห……ล…ง …ต……า ง……ๆ……ม…คี …ว…า…ม…ส……อ…ด…ค……ล…อ…ง……ก…ัน…………………………………………………………… ขน้ั ท่ี ๔ ตีความขอมลู …………น…ํา…ข…อ…ม……ลู …ท…ีไ่…ด……จ …า…ก…ห……ล…ัก…ฐ…า…น……ม…า…ว…เิ …ค…ร…า…ะ…ห……ต…ีค…ว…า…ม…เ…ก…ี่ย……ว…ก…ับ……ข…อ…ม…ลู …ท……ี่ก…ล…า…ว…ถ……ึง…เร……อ่ื …ง……… …เด……ยี …ว…ก…ัน………แ…ล…ะ…ต…ัด……ข…อ…ม…ูล……ใ…น…ส……ว …น…ท…ี่ไ…ม……เก……่ยี …ว…ข…อ…ง…อ…อ……ก………………………………………………………………………… ขั้นที่ ๕ นาํ เสนอขอ มูล …………จ…า…ก…ก……า…ร…ข…ดุ …ค…น……ท…า…ง…โ…บ……ร…า…ณ……ค…ด…บี……ร…เิ …วณ……ภ……า…ค…ใ…ต…ข …อ…ง…ป……ร…ะ…เท……ศ…ไ…ท…ย……ได……พ …บ……ร…อ …ง…ร…อ…ย… …ก…า…ร…ต……้งั …ถ…น่ิ ……ฐ…า…น…ข…อ…ง……ม…น…ษุ……ย…ต…งั้……แ…ต…ส…ม……ยั …ก…อ…น……ป…ร……ะว…ตั……ศิ …า…ส……ต…ร… ……เช…น………ท……ี่แ…ห…ล……ง…โ…บ…ร…า…ณ……ค…ด… ี …ถ…ํา…ห……ล…ัง…โ…ร……ง…เ…ร…ีย…น…………แ…ห……ล…ง…โ…บ……ร…า…ณ……ค……ด…ีถ……ํา…ผ…ีห……ัว…โ…ต………จ….…ก……ร…ะ…บ……ี่ …แ……ห…ล……ง…โ…บ…ร……า…ณ……ค…ด… ี …ค…ล……อ…ง…ท…อ……ม……จ…….ก……ร…ะ…บ…่ี……ก…า…ร…ต……้งั …ห…ล……ัก…แ…ห……ล…ง…ข…อ…ง…ช……ุม…ช…น…ใ…น……ภ…า…ค……ใ…ต…จ…ะ…อ…ย……อู …า…ศ…ัย…ก……ัน…อ…ย……า…ง …ต…อ …เ…น…อ่ื…ง………ส…า…ม…า…ร…ถ……พ…ฒั ……น…า…เ…ป…น …บ……า …น…เ…ม…อื …ง……เ…ป…น……แ…ค…ว…น ………เป……น …อ…า…ณ……า…จ…กั …ร………เช…น………อ……าณ……า…จ…กั……ร ตามพรลงิ ค อาณาจักรนครศรธี รรมราช………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๖ ประวัตศิ าสตร ๕

๑Ẻ·´Êͺ·èÕ กา ✗ คาํ ตอบท่ถี กู ตอ งทส่ี ดุ ๑. ขอใดไมใ ชว ธิ กี ารประวัตศิ าสตร ๖. ขอ ใดคอื หลกั ฐานสมยั กอ นประวัติศาสตร ผฉสู บอับน ก. การตคี วามขอ มลู ก. ศิลาจารกึ พอขุนรามคําแหงมหาราช ข. การรวบรวมขอ มลู ค. การตรวจสอบขอมูล ✗ข. เครือ่ งปน ดนิ เผาบานเชยี ง ✗ง. การสรางแบบจําลอง ค. จดหมายเหตกุ รงุ ศรีอยุธยา ง. พงศาวดารไทย ๒. การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรให ๗. ขอใดไมใชห ลักฐานท่เี ปน ลายลักษณ ความสําคญั กบั สิ�งใดมากท่สี ดุ อักษร ก. ขอสนั นิษฐาน ก. จารกึ ✗ข. โบราณวตั ถุ ✗ข. ขอ เทจ็ จริง ค. ตํานาน ง. พงศาวดาร ค. ขอ ความ ๘. ขอใดเปน โบราณสถานทีพ่ บใน ง. ขอมลู ๓. ขอใดคอื ข้นั ตอนแรกของวิธกี ารทาง ภมู ิภาคตะวันออกเฉ�ยงเหนอ� ประวตั ศิ าสตร ก. พระปรางคส ามยอด ก. การตีความขอมูล ข. พระธาตหุ ริภญุ ชยั ข. การรวบรวมขอมูล ค. พระปฐมเจดีย ค. การตรวจสอบขอ มลู ✗ง. พระธาตพุ นม ✗ง. การกําหนดหวั ขอ ทจี่ ะศกึ ษา ๙. ขอใดไมใชการตรวจสอบขอมลู ดว ย ๔. ขอใดเปน แหลง ขอ มลู เก่ียวกับ วิธีการทางประวัตศิ าสตร ภาคอีสาน ก. การตีความขอมูล ข. การเปรียบเทยี บขอ มูล ✗ก. แหลงโบราณคดีบา นเชียง ✗ค. การนําขอ มลู มาเขียนบนั ทกึ ข. เมืองศรมี โหสถ ค. พระปฐมเจดีย ง. การใหผ เู ชีย่ วชาญชว ยวิเคราะห ง. ถาํ ผแี มน ขอมลู ๕. เรื่องราวที่เกิดข้ึนในอดีต และมีการเลา สบื ตอๆ กนั มา คือหลักฐานประเภทใด ๑๐. ถา นกั เรียนตอ งการคน ควา เร่อื งราว ก. จารกึ ข. พงศาวดาร เกี่ยวกับทอ งถิน� ของตนเอง ควรเริม� ตน จากแหลง ขอ มูลใด จึงจะเหมาะสมทสี่ ุด ✗ค. ตํานาน ง. บันทึก ก. รานคา ข. สถานทีร่ าชการ ✗ค. หองสมดุ ง. โบราณสถาน ๑๗ประวัติศาสตร ๕

๒บทท่ี ¤ÇÒÁ¨Ã§Ô ¡ºÑ ¢ÍŒ à·¨ç ¨Ã§Ô ¢Í§àÃèÍ× §ÃÒÇã¹·ŒÍ§¶¹èÔ ขอบขา ยสาระการเรยี นรแู กนกลางรายวชิ า ประวตั ิศาสตร ช้ัน ป.๕ ตัวชีว้ ัดชั้นป สาระพ้นื ฐาน ความรฝู งแนน ติดตัวผเู รียน มฐ. ส ๔.๑ (๓) ๑. ความแตกตางระหวางความ การศึกษาเหตุการณทางประวัติ- ศาสตรตองอาศัยหลักฐาน และหา อธบิ ายความแตกตางระหวา งความจรงิ จรงิ กบั ขอ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั ขอเท็จจริงจากหลักฐานที่มีอยู เพ่ือ กับขอ เท็จจรงิ เกย่ี วกบั เรอื่ งราวในทอ งถ�นิ เรื่องราวในทอ งถนิ� สรุปหาความจริง ซ�ึงเรื่องราวทาง ๒. ตวั อยา งหลักฐาน ประวตั ศิ าสตรส ามารถเปลยี่ นแปลงได ประวตั ศิ าสตรท่แี สดง ถามกี ารคน พบหลกั ฐานใหม ความจรงิ กับขอ เทจ็ จรงิ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ผฉสู บอบั น ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹·ÃÒºäËÁÇÒ‹ ¤ÇÒÁ¨Ã§Ô ·Õàè ¡Ô´¢é¹Ö ã¹Í´µÕ ¡ºÑ ¢ÍŒ à·¨ç ¨Ã§Ô ·Õè͸ԺÒÂàÃèÍ× §ÃÒÇã¹Í´µÕ ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ÍÂÒ‹ §äà ๑๘ ประวัตศิ าสตร ๕

๑ ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§ÃÐËÇ‹Ò§¤ÇÒÁ¨Ã§Ô ¡Ñº¢ŒÍà·ç¨¨Ã§Ô à¡ÂèÕ Ç¡ÑºàÃè×ͧÃÒÇã¹·ŒÍ§¶¹èÔ การศึกษาคนควาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร ซ�ึงเปนเรื่องราวในอดีต บางเรื่องอาจเปนความจริง บางเร่ืองอาจไมเปนจริง ตามท่ีมีการตีความของ คนในรุนหลัง เพราะคนในรุนหลังศึกษาและตีความเร่ืองราวจากหลักฐานท่ีมีอยู เทานั้น เมื่อการศึกษาคนควาทางประวัติศาสตรคือการศึกษาจากหลักฐานที่ มอี ยู และขน้ึ อยกู บั การตคี วามหลกั ฐาน นกั เรยี นจงึ ควรรคู วามแตกตางระหวาง ความจรงิ กับขอ เทจ็ จริง ดังน�้ ความจริง คือ เร่ืองราวหรือเหตุการณท่ีเกิดขึ้นจริง สามารถพิสูจนตรวจสอบได วา เปน จรงิ หรอื มอี ยจู รงิ เชน ชมุ ชนบานเชียงเคยมีผูค นอาศยั อยูในอดีต บนผืนแผนดินไทยเคยมีผูคนอาศัยอยูมากอน พอขุนรามคําแหงมหาราช ไดป ระดิษฐอ ักษรไทยข้นึ เปนตน ผฉสู บอบั น ขอ เท็จจริง คอื คาํ อธิบายเรอื่ งราวหรอื เหตุการณต า งๆ ทเ่ี กิดขึน้ วาทาํ ไมเร่อื งราว หรือเหตุการณนั้นจึงเกิดข้ึน เพราะอะไร คําอธิบายดังกลาว อาจมีหลาย ความเห็นและแตกตางกัน ดังนั้นเราจึงตองรวบรวมคําอธิบายเหลาน้ันมา เพ่ือสรุปหาความจรงิ ท่เี กิดขึ้นในอดตี จะเหน็ ไดว า ความจรงิ คอื สง�ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ สว นขอ เทจ็ จรงิ คอื คาํ อธบิ าย หรอื ขอวิเคราะหเกย่ี วกบั ความจริงน้นั ๆ ขอเท็จจริงท่ีเรารับรูหรือวิเคราะหข้ึนอยูกับขอมูลหลักฐานที่มี หากมี การคน พบหลกั ฐานขอ มลู ใหม หรอื มกี ารตคี วามหลกั ฐานขอ มลู ใหม ขอ เทจ็ จรงิ หรอื คาํ อธบิ ายเกย่ี วกบั ความจรงิ ในประวตั ศิ าสตรน น้ั ยอ มสามารถเปลย่ี นแปลงได ๑๙ประวัติศาสตร ๕

๒ µÑÇÍ‹ҧËÅÑ¡°Ò¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵÏ·èÕáÊ´§¤ÇÒÁ¨ÃÔ§¡Ñº ¢ÍŒ à·¨ç ¨ÃÔ§ ตัวอยางที่ ๑ คนไทยอาศยั อยใู นดนิ แดนประเทศไทยในปจ จบุ นั เปน ความจรงิ สว นขอ เทจ็ จรงิ มีการวิเคราะหวา คนไทยไดต ้ังถน�ิ ฐานอยูในดินแดนประเทศไทยมาต้ังแตแ รกหรือมี ถน�ิ ฐานเดมิ มาจากทใ่ี ด ซง�ึ จากขอ เทจ็ จรงิ นท้� าํ ใหเ กดิ กลมุ แนวคดิ ตา งๆ มากมาย เชน ๑. แนวคดิ ทเ่ี ชอ่ื วา ถน�ิ เดมิ ของคนไทยอยบู รเิ วณเทอื กเขาอลั ไต แนวคดิ น�้เกิด จากขอ สันนษิ ฐานทว่ี า ถ�ินกาํ เนดิ ของมนุษยอยบู รเิ วณตอนกลางของทวีปเอเชีย คอื ทางตอนใตของเทอื กเขาอัลไต ซ�ึงปจจุบันอยูในประเทศมองโกเลีย บรเิ วณนป้� รากฏ รองรอยของมนุษยตั้งแตประมาณหนึ�งแสนปมาแลว และผูคนเหลาน�้เปนพวก ผิวเหลอื งหรือมองโกลอยด ซึ�งคนไทยก็เปนพวกผิวเหลือง ผฉสู บอับน ปจจุบันแนวคิดน้�ไมไดรับการยอมรับแลว เน�องจากขาดหลักฐานที่ นาเชื่อถือและนักวิชาการไดศึกษาคนควาขอมูลตางๆ ซ�ึงไดขอสรุปวา ถ�ินกําเนิด ของชนชาติไทยไมไดอยูบริเวณเทือกเขาอัลไตดวยเหตุผลหลายประการ อาทิ ถ�ิน กําเนิดแรกเริ�มของมนุษยไมไดอยูในทวีปเอเชีย แตหลักฐานเกาที่สุดพบที่ทวีป แอฟริกา และที่สําคัญคือ หลักฐานทางโบราณคดที ่พี บในบรเิ วณเทอื กเขาอลั ไตนั้น ไมเ กย่ี วของกบั ชนชาติไทย ๒. แนวคิดที่เช่ือวาถ�ินเดิมของไทยอยูบริเวณตอนใตของจีน ทางเหน�อของ ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต ตลอดจนรัฐอัสสัมของอินเดีย แนวคิดน�้เชื่อวา คนไทยอาศัยอยูกระจายกันไปต้ังแตมณฑลกวางตุง เรื่อยไปทางตะวันตกในมณฑล กวางสี ยนู นาน กยุ โจว เสฉวน ตลอดจนรฐั อัสสมั ของอนิ เดีย โดยอาศยั ความเชอ่ื วา มผี คู นทม่ี ภี าษาและวฒั นธรรมคลา ยกบั คนไทย อยทู างตอนใตข องจีนเปนจํานวนมาก รวมทัง้ พบหลักฐานจากบันทกึ ของจีนทกี่ ลาวถงึ คนไทยสมัยแรกๆ หรือทจี่ นี เรยี กวา “ไต” มาเปนเวลากวา ๒,๐๐๐ ปแลว ๒๐ ประวตั ศิ าสตร ๕

แนวคิดนี้ไดรับการยอมรับมากท่ีสุดใน ปจ จบุ นั ดว ยเหตผุ ลหลายประการ อาทิ บรเิ วณ ทางตอนใตข องจีนแถบมณฑลกวางตงุ กวางสี ยูนนาน กุยโจว เสฉวน ในปจจุบันยังมีชน หลายเผา คือ พวกไต พวกจวง ที่มีลักษณะ รปู รา ง หนา ตา ผวิ พรรณ ภาษา และวฒั นธรรม คลายกับคนไทย ตลอดจนมีลักษณะรวมทาง วัฒนธรรมคลายกันอยูหลายอยาง เชน การ ไถนา การทํานาดํา การทดนํ้า การระบายนํ้า การสรางบานใตถุนสูง ไมสรางติดดินแบบจีน ▲ จติ ร ภมู ศิ กั ด์ิ ผทู มี่ คี วามเชอ่ื วา ถนิ� ฐานเดมิ การสักตามรางกาย เปนตน ในปจจุบันยังมี ของคนไทยอยูบริเวณตอนใตของจีนทาง ชาวไทเรียกตนเองวาไต อาศัยอยูมากในเขต เหน�อของภาคพ้ืนเอเชียตะวันออก-เฉ�ยง สิบสองปนนา เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน ใต ตลอดจนรฐั อัสสมั ของอนิ เดยี และพวกจวงอาศัยอยูในมณฑลกวางสี ผฉูสบอับน ๓. แนวคิดท่ีเชื่อวาถ่ินเดิมของคนไทยอยูบริเวณคาบสมุทรมลายูบริเวณ หมูเกาะชวา แนวคิดน้ีมาจากพ้ืนฐานความเช่ือที่วา คนไทยกับคนในหมูเกาะ อินโดนีเซีย คาบสมุทรมลายู และฟลิปปนส มีความคลายคลึงกันหลายประการ เชน มีหนาตาเหมือนกัน มีรากภาษามาจากแหลงเดียวกันและคลายคลึงกัน และ จากการศึกษาโดยอาศัยความรูดานการแพทยไดมีการวิเคราะหกลุมเลือดท่ีได จากการสุมตัวอยางกลุมเลือดของคนไทยกับคนอินโดนีเซียวามีความคลายคลึงกัน จึงเช่ือวาคนไทยอาศัยอยูแถบศูนยสูตรกอน แลวจึงอพยพข้ึนมาบนผืนแผนดิน ไทย เลยขึน้ ไปจนถงึ ตอนใตของจีน แลวจงึ อพยพลงใตม ายังดินแดนไทยในปจจบุ นั อีกครงั้ แตแนวคิดนี้ไมไ ดร ับการยอมรบั เนือ่ งจากเหตุผลไมห นกั แนนเพยี งพอ ๒๑ประวัตศิ าสตร ๕

๔. แนวคดิ ท่ีเชอื่ วาถน�ิ เดิมของคนไทยอยูบรเิ วณท่ีเปน ประเทศไทยปจ จุบัน แนวคดิ นเี้ กิดจากการขดุ คน ทางโบราณคดี ทพี่ บรอ งรอยการอยอู าศยั ของมนุษยบ น ผืนแผนดินไทยมานานถึง ๑๘๐,๐๐๐ ปมาแลว ดังไดพบเคร่ืองมือ เครื่องใชอายุ ประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ป และโครงกระดกู อายุประมาณ ๑๐,๐๐๐ ป ของผคู นสมยั โบราณในหลายจังหวัดของประเทศไทย เชน พบโครงกระดูกที่ถํ้าพระ อําเภอ ไทรโยค จงั หวัดกาญจนบรุ ี ท่ีถํ้าผีแมน จังหวดั แมฮ องสอน พบเครอ่ื งปน ดนิ เผาลาย เขียนสี เครื่องมือเครื่องใช เครื่องประดับ เคร่ืองมือหิน เมล็ดขาว ท่ีแหลง โบราณคดีบานเชียง อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี แนวคิดน้ียังไมเปนที่ ยอมรับในทางวิชาการ เพราะเหตุผลท่ีนํามาเสนอนั้นขาดหลักฐานและไมมีเหตุผล ทเ่ี พียงพอ แนวคิดตางๆ เก่ียวกับเร่ืองความเปน มาของชนชาติไทยนนั้ ยงั ไมอาจสรปุ ไดวาถ่ินกําเนิดของชนชาติไทยอยูในบริเวณใด เน่ืองจากขอมูลและหลักฐาน ผฉูส บอบั น เก่ียวกับความเปนมาของชนชาติไทยมีนอย แตจากหลักฐานทางประวัติศาสตรและ โบราณคดี แนวคิดท่ีเช่ือวาคน ไทยอยูทางตอนใตของจีนมี ความนา เชอื่ ถอื มากทสี่ ดุ เพราะ พบชนกลุมนอยท่ีอาศัยอยูทาง ตอนใตของจีน โดยเปนกลุม ชาติพันธุท่ีพูดตระกูลภาษาไท ประกอบกับมีความเช่ือและมี  เครื่องปน ดนิ เผา ทแี่ หลงโบราณคดบี านเชยี ง วฒั นธรรมทคี่ ลา ยคลงึ กบั คนไทย จ.อดุ รธาน� ในปจ จบุ นั มาก ͨÂÒ¡Ò‹ á§ä¹ÃÇ¡¤çµ´Ô ÒÍÁ×¹è ¡·ÒÕ¹è ÃÈ‹ÒàÖ¡ªÉè×Ͷҷ×͡ҧǻҋ áùÐÇÇѵ¤ÈÔÔ´ÒàÊ´ÁԵÏ¡ËçÍÒÒ¨¡Á¾¡Õ ºÒËõÅÕ¤¡Ñ Ç°ÒÒÁ¹ãÍËÒŒ Á§ä‹Í´Ô§Œ ๒๒ ประวัตศิ าสตร ๕

ตัวอยางที่ ๒ ชื่อพิธีอยางหน่ึงของพราหมณ เปนพิธีจุดโคม รบั พระเปน เจา ทาํ ในวันเพญ็ เดือน ๑๒ ในศิลาจารึกสุโขทัยกลาวถึงการที่ผูคนมีการเผาเทียนเลนไฟหรือจองเปรียง ลอยพระประทปี ซง�ึ ถกู ตีความในสมยั ปจจุบนั วา เปน ประเพณล� อยกระทง ในปจจุบันจังหวัดสุโขทัยและการทองเท่ียวแหงประเทศไทยไดสงเสริม ใหประเพณ�ลอยกระทงท่ีจังหวัดสุโขทัยเปนประเพณ�สําคัญประจําป เพ่ือดึงดูด นักทองเที่ยว มีการจัดงานลอยกระทงในอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย มีการจัด แสดงแสง สี เสียง ทม่ี ตี วั ละครนางนพมาศผถู ูกเชอ่ื วา เปนคนคดิ ประดิษฐก ระทงข้นึ เปนคนแรก งานประจําปน�้ไดรับการโฆษณาและสรางความสําคัญวาเปนประเพณ� ลอยกระทงเผาเทียนเลนไฟแบบสุโขทัย หรือยอนอดีตประเพณ�สมัยสุโขทัย น�คือ ขอ เทจ็ จริงทีเ่ กดิ ขน้ึ แตความจริงน้ันในศิลาจารึกสุโขทัยไมไดกลาวถึงประเพณ�ลอยกระทง ไมได กลาวถึงนางนพมาศ กลาวแตคําวา เผาเทียนเลนไฟ ซ�ึงถูกตีความในภายหลังวา ผฉสู บอับน เปนพิธีลอยกระทงเผาเทยี นเลนไฟ  การจัดงานแสดงแสง สี เสียง ของงานจองเปรยี งลอยพระประทีปหรือเผาเทยี นเลน ไฟ ที่ จ.สุโขทัย ๒๓ประวตั ิศาสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ แบง กลมุ กลมุ ละ ๓-๔ คน สบื คน ตวั อยา งขอ มลู จากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร ในทองถ�นิ ท่แี สดงความจริงกับขอเท็จจริง แลวบันทึกขอมูล จากน้ันนําเสนอ ผลงานหนาชัน้ ......................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ฉบับ ............................................................................................................................................................................................................................................................... ผสู อน ขน้ึ อยกู ับดลุ ยพินิจของผูสอน............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒๔ ประวตั ศิ าสตร ๕

๒¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹ปÒร¡ะÒจÃํา¤บทÔ´ที่ ๑. ตอบคาํ ถามเกย่ี วกบั ความจรงิ กบั ขอ เทจ็ จรงิ ใหถ กู ตอ ง มสฐ4./.ต1ัวช(3ี้ว)ดั ๑) ในการศกึ ษาเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร ความจรงิ คอื อะไร ความจรงิ คอื เรอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณท เ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ สามารถพสิ จู น......................................................................................................................................................................................................................................... ตรวจสอบไดวา เปนจริงหรือมีอยูจริง เชน ในปจจุบัน จ.สุโขทัย......................................................................................................................................................................................................................................... และการทองเที่ยวแหงประเทศไทยไดสงเสริมใหประเพณีลอยกระทง......................................................................................................................................................................................................................................... ที่ จ.สุโขทัย เปน ประเพณสี าํ คญั ประจําป เปนตน......................................................................................................................................................................................................................................... ๒) ในการศกึ ษาเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร ขอ เทจ็ จรงิ คอื อะไร ขอ เทจ็ จรงิ คอื คาํ อธบิ ายเรอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณต า งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ วา......................................................................................................................................................................................................................................... ทําไมเรื่องราวหรือเหตุการณนั้นจึงเกิดข้ึน เพราะอะไร ซ่ึงคําอธิบาย......................................................................................................................................................................................................................................... ดังกลาว อาจมีหลายความเห็นและแตกตางกัน ซ่ึงหากมีการคนพบ......................................................................................................................................................................................................................................... หลักฐานขอมูลใหม ขอเท็จจริงหรือคําอธิบายเก่ียวกับความจริงใน ผูสอน......................................................................................................................................................................................................................................... ฉบบั ประวตั ิศาสตรน ้ันยอมสามารถเปลี่ยนแปลงได......................................................................................................................................................................................................................................... ๓) ถา มกี ารคน พบหลกั ฐานขอ มลู ใหม หรอื มกี ารตคี วามหลกั ฐานขอ มลู ใหมท ่ี ไมต รงกบั ความคดิ หรอื ความเชอ่ื เดมิ ของตน เราควรปฏบิ ตั อิ ยา งไร (ตัวอยาง) ๑. ตรวจสอบหลกั ฐาน หรือการตคี วามหลกั ฐานขอ มูลใหม วา มีความ......................................................................................................................................................................................................................................... ถูกตอง นาเชื่อถือเพยี งใด และมคี วามเปน ไปไดม ากนอ ยเพียงใด......................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ถา หลกั ฐานขอมลู ใหม และการตคี วามหลกั ฐานขอ มูลใหม มีความ......................................................................................................................................................................................................................................... ถกู ตอ งมากกวา และนา เชอ่ื ถอื มากกวา ขอ มลู เดมิ ควรยอมรบั หลกั ฐาน......................................................................................................................................................................................................................................... ขอ มลู ใหม เพอ่ื ใหม คี วามคิดหรอื ความเชอ่ื ในเรือ่ งท่ถี ูกตอ งตอ ไป......................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเร่อื งราวตางๆ ในทองถ�นิ ของตน ๑ เร่อื ง แลวยก ตวั อยา งความจรงิ และขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งนน้ั จากนน้ั บนั ทกึ ขอ มลู และ มสฐ4./.ต1วั ช(3วี้ )ัด นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั ขึ้นอยกู ับดุลยพนิ ิจของผูส อน ๒๕ประวัติศาสตร ๕

๒Ẻ·´Êͺ·Õè กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกตองที่สดุ ใชข อ ความตอบคาํ ถาม ขอ ๑-๓ ๖. “เรอ่ื งราวประวตั ศิ าสตรส ามารถเปลย่ี นแปลง ๑) ไทยเสยี กรงุ ศรีอยุธยาครง้ั ท่ี ๒ ได ถามหี ลกั ฐานที่นา เชือ่ ถอื กวา” เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ จากขอ ความนน้� กั เรยี นมคี วามรสู กึ อยา งไร ✗ก. เหน็ ดวย ข. ไมเหน็ ดว ย ๒) กรงุ ศรอี ยุธยาแตกเพราะไมไดท าํ ค. ไมถูกตอ ง ง. รูสึกเฉยๆ สงครามมานาน ๗. การไมย อมรบั ขอ เท็จจริงใหมๆ จะสง ผลอยา งไร ๓) กรุงศรอี ยธุ ยาแตกเพราะเกิดความ ✗ก. ทาํ ใหค วามรูทางประวตั ศิ าสตร แตกแยกในราชสาํ นัก ไมง อกเงย ๔) กองทัพพมา เตรยี มพรอ มมาอยา งดี ๑. จากขอความ ขอใดคือความจริง ✗ก. ๑) ข. ๒) ข. ทาํ ใหม คี วามมั�นใจในความรูเดิม ค. ทําใหไมต องคนหาหลักฐานใหม ค. ๓) ง. ๔) ง. ทาํ ใหไมตองเสยี เวลาในการตีความ ๒. จากขอความ ขอใดคอื ขอ เท็จจริง ก. ๒) ข. ๓) ๘. การตคี วามหลักฐานขอมูลใหม ควรพจิ ารณาจากขอใด ค. ๔) ✗ง. ถกู ทกุ ขอ ก. ความพอใจของตน ๓. จากขอ ความเปนหลักฐานทีเ่ กี่ยวกบั ผฉูสบอับน รชั สมัยของพระมหากษตั ริยอ งคใด ข. คําบอกเลาจากคนอ่นื ก. สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๑ ✗ค. หลักฐานทนี่ า เช่ือถอื ท่ีสุด ง. ความพอใจของเจาของหลกั ฐาน ข. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ๙. ขอ ใดเปนปญ หาในการตีความ ค. สมเด็จพระนารายณมหาราช ✗ง. พระเจาเอกทศั ประวัตศิ าสตรท อ งถน�ิ ก. คนในทอ งถน�ิ ยอมรับหลักฐานใหมๆ ๔. ขอ ใดไมใ ชข อเท็จจรงิ อยตู ลอดเวลา ก. ในสมยั สโุ ขทัยมีประเพณล� อยกระทง ข. นางนพมาศเปน คนคดิ ประดษิ ฐ ข. การคน พบหลกั ฐานใหมๆ อยา งตอ เนอ� ง ✗ค. คนในทอ งถน�ิ ตอ ตานการตคี วาม กระทงขนึ้ เปนคนแรก หลกั ฐานใหม ✗ค. ศิลาจารกึ สโุ ขทัยกลาวถงึ การ เผาเทียนเลน ไฟ ง. นักประวตั ิศาสตรไมไ ดรบั การยอมรบั ๑๐. ขอใดไมใชก ารแบงประเภทหลกั ฐาน ง. ประเพณ�ลอยกระทงเปน ประเพณ� ทางประวตั ศิ าสตร สําคัญในสมยั สโุ ขทยั ๕. ขอ ใดกลา วถูกตอง ก. หลกั ฐานชัน้ ตน - ชั้นรอง ข. หลกั ฐานทเ่ี ปน ตัวอกั ษร - ไมเ ปน ก. ความจรงิ คอื เรอ่ื งทไ่ี มส ามารถพสิ จู นได ตัวอกั ษร ข. ขอ เทจ็ จริง คอื เร่อื งทพ่ี สิ ูจนไมไ ด ค. ขอเท็จจริง คอื เร่อื งทเี่ กดิ ข้ึนจริง ✗ค. หลกั ฐานทเ่ี กดิ ขน้ึ กอ น - เกดิ ขน้ึ ทห่ี ลงั ง. หลักฐานสมัยกอนประวตั ิศาสตร - ✗ง. ความจรงิ คอื เรื่องท่เี กิดขนึ้ จริง สมัยประวัติศาสตร ๒๖ ประวัตศิ าสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä ชน้ิ ที่ ๑ เรือ่ ง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร ผฉูสบอับน ๑. แบงนักเรียนเปน กลมุ กลมุ ละ ๕-๖ คน ๒. ใหส มาชิกแตละกลมุ ชว ยกันสืบคนขอมลู เก่ยี วกับหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตรทมี่ ีในทองถ�ินของตน ๓. ชว ยกันจาํ แนกหลักฐานตามหัวขอ ทีก่ าํ หนดให แลว จัดทํา เปน สมดุ ภาพ พรอ มบอกรายละเอยี ดของหลักฐานประกอบ พอเขา ใจ - หลกั ฐานชั้นตน / หลกั ฐานชั้นรอง - หลกั ฐานทเี่ ปนตวั อกั ษร / หลักฐานท่ีไมใชต ัวอักษร - หลักฐานสมัยกอ นประวตั ิศาสตร / หลกั ฐานสมัยประวตั ิศาสตร ๔. สงตัวแทนออกมานาํ เสนอผลงานหนาชั้น ชนิ้ ที่ ๒ เร่ือง ความจรงิ กบั ขอ เท็จจรงิ ๑. แบง นกั เรียนเปน กลุม กลมุ ละ ๕-๖ คน ๒. ใหสมาชกิ แตล ะกลมุ ชว ยกันคน ควาขอ มลู เกีย่ วกบั ความจริง กับขอ เทจ็ จรงิ ของเรอื่ งตา งๆ ที่มีในทอ งถนิ� ตน เชน ความเปนมาของช่ือทองถิน� สถานที่สําคัญใน ทองถิ�น แลวบนั ทกึ ขอ มลู จัดทําเปน ผลงานกลุม ๓. สงตวั แทนออกมานําเสนอผลงานหนาชัน้ ๒๗ประวัตศิ าสตร ๕

Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШíÒ˹Nj  รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจําหนวยที่ ๑ คาํ ช้ีแจง : ๑. ครูกําหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตองการวัดผลเพื่อเก็บสะสม ๒. ครูนําคะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะที่พึงประสงค (A) ของนักเรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชิ้นงานที่มีเครื่องหมาย * กํากับ ใหใชประกอบการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมนิ รายการเคร่อื งมอื วัดและประเมินผลการเรยี นรูข องนักเรยี น คะแนนรวมดา น ดานความรู (K) ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตัวช้วี ดั ชน้ั ป.๕ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ดา น K / P / A ส ๔.๑ (๑) ก. พัฒนาการคดิ - แบบประเมนิ - แบบประเมิน สบื คนความเปนมา บทที่ ๑ บนั ทกึ ขอ มูล ทกั ษะสงั คม คณุ ลักษณะ ของทอ งถิ�นโดยใช การใชว ิธกี ารทาง - แบบประเมิน ทีพ่ ึงประสงค หลกั ฐานทห่ี ลากหลาย ประวัตศิ าสตรสบื คน ทักษะ ขอ มลู ความเปน มาของ กระบวนการ ส ๔.๑ (๒) รวบรวม ทองถน�ิ ขอ มลู จากแหลง ตา งๆ เพอ่ื ตอบคําถามทาง ประวตั ศิ าสตรอ ยา งมี เหตผุ ล ผฉสู บอับน ส ๔.๑ (๓) ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมนิ - แบบประเมนิ อธบิ ายความแตกตา ง บทที่ ๒ ขอ ๑ ทักษะสังคม คณุ ลกั ษณะ ระหวา งความจริงกับ ตอบคําถามเกีย่ วกบั - แบบประเมนิ ทีพ่ งึ ประสงค ขอ เท็จจริงเกยี่ วกับ ความจรงิ กบั ขอ เทจ็ จรงิ ทักษะ เร่ืองราวในทอ งถน�ิ กระบวนการ สว นท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรยี นตามตวั ชี้วดั สวนท่ี ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ที่นักเรียนเลือก เรื่อง .......................................................................... สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจําหนวย การทําแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ า ยเลม สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเรียนรูป ระจาํ หนวย ขอ เสนอแนะ ………………………………………………………………….. ผาน ไมผาน ……………………………………………………………………………………………. ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงช่อื …………………………………………………………… ผูประเมิน / /…………………….. ……………………. …………………… ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงใน แบบบันทึกอื่นที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๒๘ ประวตั ศิ าสตร ๕

ห นว๒ยการเรยี น ¾Ñ²¹Ò¡ÒâͧÁ¹ÉØ ÂªÒµÔรทู ่ี เปา หมายการเรียนรปู ระจําหนวยท่ี ๒ แผนผงั ความคิดประจาํ หนว ยท่ี ๒ เม่ือเรียนจบหนวยน้�แลว ผูเรียนจะมีความรู พฒั นาการของมนษุ ยชาติ ความสามารถตอ ไปน้� ๑. อธบิ ายอทิ ธพิ ลของอารยธรรมอนิ เดีย และจีน อิทธพิ ลของอารยธรรม อทิ ธิพลของอารยธรรม อนิ เดียและจีน ตา งชาติ ทีม่ ตี อ ไทย และเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต โดยสังเขป การเขามาของอารยธรรมอินเดีย การเขามาของวัฒนธรรม ๒. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมตางชาติตอ และจีนในดินแดนไทยและภูมิภาค ตา งชาติในสังคมไทย สงั คมไทยปจ จุบัน โดยสงั เขป เอเชยี ตะวนั ออกเฉย� งใต อิทธิพลของวัฒนธรรม อทิ ธิพลของอารยธรรมอนิ เดีย ตางชาติที่มีตอสังคมไทย คณุ ภาพท่พี งึ ประสงคข องผเู รยี น และจีนที่มีตอไทยและคนใน ในปจ จบุ นั ๑. มีความรูเรือ่ งทอ งถ�นิ ของตน ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉย� งใต ผฉสู บอับน ในเชิงประวัตศิ าสตร ๒. สามารถเปรยี บเทยี บเรอื่ งราวของทอ งถน�ิ จังหวัด และภาคตางๆ ของประเทศไทย ๓. ไดร บั การพฒั นาแนวคิดทางประวตั ิศาสตร เพื่อขยายประสบการณแ ละนาํ ไปสูก ารทาํ ความเขาใจการเปล่ียนแปลงทางสงั คม จากอดตี สปู จจุบนั

๑บทท่ี Í·Ô ¸¾Ô ŢͧÍÒøÃÃÁÍ¹Ô à´ÕÂáÅШչ ขอบขายสาระการเรยี นรูแกนกลางรายวิชา ประวตั ิศาสตร ช้นั ป.๕ ตัวชวี้ ดั ชั้นป สาระพ้ืนฐาน ความรฝู งแนน ตดิ ตวั ผเู รียน มฐ. ส ๔.๒ (๑) ๑. การเขามาของอารยธรมอิน การเรียนรูเกี่ยวกับอารยธรรม อธิบายอิทธิพลของอารยธรรมอินเดยี เดยี และจนี ในดินแดนไทยและ อินเดีย และจีน ที่มีอิทธิพลตอไทย และจีนท่ีมีตอ ไทย และเอเชยี ตะวนั ออก- ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉ�ยงใต และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต เฉย� งใตโ ดยสงั เขป ๒. อิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย ทาํ ใหเ ราเขา ใจวฒั นธรรมของผคู นใน และจีนที่มีตอไทยและคนใน ภูมิภาคน้�ไดดีย�งิ ขึน้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉย� งใต ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Òí Ê¡‹Ù ÒÃàÃÕ¹ ผฉสู บอับน ¨Ò¡ÀÒ¾ ¹¡Ñ àÃÕ¹¤´Ô Ç‹Òà¡ÂèÕ Ç¡ÑºÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§ªÒµãÔ ´ áÅÐÊѧࡵ¨Ò¡Ê§Ôè ã´ ๓๐ ประวตั ิศาสตร ๕

๑ ¡ÒÃà¢ÒŒ ÁҢͧÍÒøÃÃÁÍ¹Ô à´ÂÕ áÅШ¹Õ ã¹´¹Ô á´¹ä·Â áÅÐÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÂÕ µÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©ÂÕ §ãµŒ ดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใตมีความเจริญรุงเรืองมา ต้ังแตคร้ังอดีต ผูคนในดินแดนบริเวณแถบน้�ไดมีการติดตอชาวจีนและ อินเดียมานานแลว ทําใหไดรับอารยธรรมของจีนและอินเดียมาต้ังแตคร้ังอดีต สงผลมาถึงปจจุบัน อารยธรรมบางอยางนํามาใชโดยตรง เชน ภาษา ศาสนา อาหาร บางอยางปรับเปลี่ยนใหกับวัฒนธรรมเดิม เชน วัฒนธรรมการดํารง ชีวิต รปู แบบงานศลิ ปะ อารยธรรมอินเดียและจีนไดเขามาในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชีย- ตะวนั ออกเฉ�ยงใตหลายปจ จยั ดวยกนั ดงั น�้ ๑. การตดิ ตอ คา ขาย พอ คา ชาวจนี และชาวอนิ เดยี ไดน าํ สนิ คา มาขายใน ดนิ แดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต และไดนําวัฒนธรรมของตน เขามาเผยแพร เชน วฒั นธรรมดา นภาษา การแตง กาย อาหารการกนิ เปน ตน ผฉสู บอับน สินคาท่ีพอคาชาวจีนนํามาขาย เชน ใบชา ผาไหม กระดาษ เปนตน สวนสินคาที่พอคาชาวอินเดียนํามาขาย เชน พรม ผา หินสี เคร่อื งเทศ เปนตน ของหอมฉุน และเผ็ดรอนท่ีไดมาจากตนไม สําหรับใชทํายาไทยและปรุง อาหาร เชน ลูกผกั ชี ยีห่ รา โดยมากมาจากตางประเทศ (อินเดยี ) ▲ ภาพจาํ ลองการติดตอคา ขายกบั ชาติตา งๆ ในอดตี ๓๑ประวัติศาสตร ๕

๒. การเผยแผศาสนา บริเวณภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใตไดรับ พระพุทธศาสนาจากอินเดียและศรีลังกา ไดรับศาสนาพราหมณ-ฮินดูจาก อินเดีย ไดรับศาสนาอิสลามจากพอคามุสลิม ไดรับพระพุทธศาสนานิกาย มหายานจากจนี ๓. การติดตอทางการทูต ทูตชาวจีนไดเดินทางมายังดินแดนไทยและ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉย� งใตเพือ่ ตดิ ตอ สมั พนั ธกบั ผูคนในภูมิภาคน้� จงึ ทําให เกดิ การถายทอดวัฒนธรรมใหแกกนั และกนั ๔. การเขามารบั ราชการ ของชาวอนิ เดยี ชาวจีน และการแตงงานกับ ชาวพ้ืนเมือง ทําใหมีการถายทอดวัฒนธรรมในดานตางๆ เชน การแตงกาย แบบจีน การพูดภาษาจีน การรับเอางานศิลปะในพระพุทธศาสนาจากอินเดีย เชน เจดยี ท รงลงั กา พระพทุ ธรปู การรบั เอางานวรรณกรรม เชน รามเกยี รติ์ จาก อนิ เดีย และพธิ กี รรมตางๆ ท่พี ราหมณจ ากอินเดยี นาํ มาเผยแพร เจดียรูปทรงกลม มีฐานลางเปนฐานบัวลูกแกว ผฉูสบอับน องคครรภธาตุมีรูปทรงคลายระฆังควํา ตอนบนเปน ท่ีตง้ั ของรตั นบลั ลังก มียอดประดบั ดวยปลอ งไฉน ▲ การบูชาพระพรหมเปนอทิ ธพิ ลทางศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดู ๓๒ ประวัตศิ าสตร ๕

๒ Í·Ô ¸¾Ô ŢͧÍÒøÃÃÁÍÔ¹à´ÂÕ áÅШ¹Õ ·ÕèÁµÕ ‹Íä·Â áÅФ¹ã¹ÀÁÙ ÀÔ Ò¤àÍàªÕµÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©ÂÕ §ãµŒ อารยธรรมอินเดียและจีนท่ีมีอิทธิพลตอไทยและผูคนในภูมิภาคเอเชีย- ตะวนั ออกเฉย� งใต ที่เราสงั เกตไดงาย เชน อารยธรรมดา นศาสนาและความเชอ่ื อารยธรรมดานภาษา อารยธรรมดานการแตงกาย และอารยธรรมดานอาหาร เปนตน ๑. อิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดียมีผลตอลักษณะการดําเนินชีวิตของไทยและ ผคู นในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉ�ยงใตหลายดา น เชน ๑) ดานศาสนา ผูคน พื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต ไดรับเอาศาสนาพราหมณ-ฮินดูและ พระพุทธศาสนาที่มีผลตอการสราง ผฉสู บอบั น งานศิลปะท่ีมีหลักฐานปรากฏอยู มากมาย เชน ปราสาทนครวดั นครธม ในกมั พชู า เจดยี ช เวดากองในเมยี นมา บุโรพุทโธในอนิ โดนเ� ซยี สาํ หรบั ในดนิ แดนไทย ไดรับศาสนาพราหมณ-ฮินดู และ พระพุทธศาสนามาตั้งแตสมัยโบราณ เชน ทวารวดี ในสมัยสุโขทัยรับ พระพุทธศาสนาจากนครศรีธรรมราช  เจดยี ช เวดากอง ประเทศเมยี นมา เปน สถาปต ยกรรม ทําใหพระพุทธศาสนาเปนสวนสําคัญ ท่ีไดรับอทิ ธิพลจากพระพทุ ธศาสนา ในวถิ ชี ีวติ ของคนไทย ๓๓ประวตั ิศาสตร ๕

๒) ดานการเมืองการปกครอง รับความเชื่อเรื่องสมมติเทพและ กฎหมายพระมนูธรรมศาสตรของอินเดียมาเปนแมแบบของกฎหมายใน หลายประเทศ เชน เมยี นมา กมั พูชา ไทย พระราชาแหง ธรรม คอื พระพทุ ธเจา และพระราชาผทู รงธรรม ในอดีตประเทศไทยมีการปกครองแบบพอปกครองลูก การรับ ศาสนาพราหมณทําใหมีความเชื่อเร่ืองกษัตริยเปนสมมติเทพตามแนวความเชื่อ ของอินเดีย ตอมาไดนําหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาผสมผสานเพ่ือใชใน การปกครอง พระมหากษัตริยจงึ เปน ธรรมราชาในเวลาตอมา ๓) ดานอักษรศาสตร รับภาษาบาลี สันสกฤตจากอินเดียมาใช ทําให ประเทศตา งๆ ทง้ั ไทย กมั พชู า อนิ โดนเ� ซยี มภี าษาทม่ี คี าํ ในภาษาบาลี สนั สกฤต ผสมอยูมากมาย เชน ช่ือของคนในประเทศเหลาน�้ รับวรรณคดีอินเดีย เชน มหากาพยรามายณะ ซึ�งมีอิทธิพลตอวรรณคดีของไทย เมียนมา กัมพูชา อนิ โดน�เซีย รวมถึงวรรณคดที างพระพทุ ธศาสนา เชน ชาดก ๔) ดานวิถีชีวิต คนไทยและคนท่ีอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต ผฉูสบอบั น บางสว นไดร บั วฒั นธรรมการแตง กายและวฒั นธรรมการกนิ อาหารจากอารยธรรม อินเดีย เชน รับประทานอาหารที่มีเครื่องเทศเปนสวนผสม ใสเส้ือผาแบบ ชาวอนิ เดยี เปนตน ๕) ดานกฎหมาย ไดรับ รากฐานกฎหมายจากอินเดีย คือ คมั ภรี พ ระธรรมศาสตร ซงึ� กลายเปน หลกั ของกฎหมายของประเทศตา งๆ เชน เมยี นมา กัมพูชา ไทย ๖) ดานศิลปวิทยาการ รับ รปู แบบสถาปต ยกรรมของพระพทุ ธ- ศาสนาจากอนิ เดยี ลงั กา เชน  พระปฐมเจดยี  ท่ี จ.นครปฐม เปนสถาปตยกรรม เจดยี ท รงลงั กา พระพทุ ธรปู ท่ีไดรับอทิ ธพิ ลมาจากศลิ ปะลังกา ๓๔ ประวตั ิศาสตร ๕

๒. อทิ ธพิ ลของอารยธรรมจีน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉ�ยงใต และดินแดนไทยไดรับอารยธรรม จนี มานานแลว โดยผานทางการคา การเผยแผศ าสนา การศกึ ษา อทิ ธพิ ลของ อารยธรรมจีนทม่ี ีตอโลก และเอเชียตะวนั ออกเฉย� งใตมีหลายประการ เชน วรรณกรรมจนี แพรห ลายใน ใชชาวจนี ทาํ หนาท่ีเดนิ เรือ ดินแดนน�้ เชน สามกก ไซอวิ� ใชแ บบแผนการเดินเรือจากจีน ภาษาจีนมีใชปะปนในภาษาไทย จางพอคาชาวจีนรับราชการ เชน จ้ิมกอง (ของถวาย) ในราชสํานักทําหนา ท่ีดแู ล ตนหน (ผูน าํ รอ ง) การคาขาย ดานอกั ษรศาสตร ดา นการคา และการเดนิ เรอื อทิ ธพิ ลของ ผฉสู บอบั น อารยธรรมจีน ดานศลิ ปวิทยาการ ดา นวิถีชีวติ ไทยรับอิทธิพลงาน ดานศาสนา การทาํ อาหาร เชน จิตรกรรม และการทํา การใชกระทะ การผัด เครอ่ื งปน ดนิ เผาจากจนี พระพุทธศาสนานิกาย อาหาร การใชน า้ํ มัน เวยี ดนามรบั รปู แบบ มหายานมีการเผยแผ การใชตะเกียบ สถาปตยกรรม เขามา รวมถงึ ประเพณ� กนิ อาหาร ศิลปกรรมจากจนี การไหวเจา การกินเจ การดมื่ นํา้ ชา การไหวบรรพบุรษุ ๓๕ประวัตศิ าสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠๑. สืบคนอิทธิพลของอารยธรรมของอินเดียและจีนท่เี ขามาในเอเชียตะวันออก- เฉย� งใต จากนน้ั จาํ แนกขอ ความทก่ี าํ หนดใหถ กู ตอ ง ๑) การใชภ าษาบาลสี ันสกฤต ๗) การนุงโจงกระเบน ๒) วรรณคดเี รอื่ งสามกก ๘) การใชก ระดาษ ๓) การทาํ อาหารที่ใสเ คร่ืองเทศ ๙) วรรณคดเี ร่ือง รามเกยี รติ์ ๔) การใชระบบมาตราชง�ั ตวง วัด ๑๐) ประเพณ�ไหวเจา ๕) แนวคดิ เร่อื งกษัตริยเปน สมมติเทพ ๑๑) การทําเครอ่ื งปน ดินเผา ๖) วธิ กี ารเดนิ เรอื ๑๒) การใชคําราชาศพั ท การรบั อิทธิพลจากอารยธรรมอนิ เดยี การรบั อทิ ธพิ ลจากอารยธรรมจากจนี ……๑…)……ก……า…ร…ใ…ช…ภ……า…ษ……า…บ…า…ล……สี …ัน……ส……ก…ฤ……ต…………. ๒) วรรณคดีเรอ่ื งสามกก……………………………………………………………………………………….. ผฉูสบอบั น ……๓…)……ก……า…ร…ท……ํา…อ…า…ห……า…ร…ท……่ใี …ส…เ…ค…ร……ือ่ …ง…แ…ก……ง……. ……๔…)……ก…า……ร…ใ…ช…ร…ะ…บ……บ……ม…า…ต…ร……า…ช…ัง่ ……ต……ว…ง……ว……ัด.. ๖) วธิ กี ารเดนิ เรอื……………………………………………………………………………………….. ……๕…)……แ……น…ว…ค……ดิ …เ…ร…ื่อ……ง…ก……ษ…ตั ……ร…ยิ …เ…ป…น…………………. ๘) การใชก ระดาษ……………………………………………………………………………………….. สมมติเทพ………………………………………………………………………………………. ๑๐) ประเพณไี หวเจา……………………………………………………………………………………….. ๗) การนงุ โจงกระเบน………………………………………………………………………………………. …๑…๑…)……ก…า……ร…ท…ํา…เ…ค……ร…อ่ื …ง……ป…น……ด…ิน……เ…ผ…า………………….. ……๙…)……ว…ร……ร…ณ……ค……ด…เี …ร…ือ่ ……ง……ร……า…ม…เ…ก…ีย……ร…ต…ิ์………. ๑๒) การใชค ําราชาศัพท………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………….. ๒. แบงกลุมรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นวา วัฒนธรรมอินเดียและจีนมี อทิ ธพิ ลตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทยในเรอ่ื งใดบา ง แลว สรปุ ผลการอภปิ ราย บนั ทกึ ขอ มลู แลว นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั ขึ้นอยกู บั ดุลยพินิจของผสู อน ๓๖ ประวตั ิศาสตร ๕

๑¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹ปÒร¡ะÒจÃาํ ¤บทÔ´ท่ี เขียนแผนผังความคิดแสดงอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนท่ีมีตอ เอเชยี ตะวันออกเฉ�ยงใต พรอมกบั ยกตวั อยา งประกอบ (ตวั อยา ง) มฐ./ตวั ชีว้ ดั ส4.2 (1) รบั ความเชือ่ เร่อื งสมมตเิ ทพ และกฎหมมาายเพปรนะแมมนแูธบรบรมศาสตร รับวรรณคดีตางๆ เขามา กรับารวแัฒตนงธกรามย ดานการเมือง รับภาษาบาลี-สนั สกฤต กราบั รวกัฒนิ นอธารหรามร การปกครอง มาใช การเผยแผศาสนา ดา นอักษรศาสตร ดานวิถีชวี ิต พราหมณ-ฮินดู ดา นกฎหมาย ดานศาสนา อารยธรรมอนิ เดยี รับรากฐานกฎหมาย ของอินเดียมาเปนแมแ บบ การเผยแผพระพุทธศาสนา อารยธรรมทม่ี อี ทิ ธิพล บะหมี่ ตนุ โสหุย ดา นศลิ ป ผฉูสบอับน วิทยาการ รบั คาํ ภาษาจีนมาใช ตอ เอเชียตะวันออกเฉย� งใต รบั รูปแบบ สถาปตยกรรมตางๆ ดา นอกั ษรศาสตร อารยธรรมจีน แบบแผนการเดินเรอื ดานการคาและการเดินเรอื รบั วรรณกรรมจีนเขา มา ดา นศาสนา การคา ขาย สามกก ไซอิว๋ การเผยแผ ดา นวถิ ชี ีวติ การดม่ื นํา ชา ดานศิลปวทิ ยาการ พระพทุ ธศาสนา การทําอาหาร การกินอาหาร นิกายมหายาน ประเพณถี ือ รบั การทํา ศีลกินเจ การผดั การตนุ การกนิ โดย รบั อิทธิพลงาน เคร่ืองปน ดนิ เผา ประเพณีการไหวเจา ใชตะเกยี บ จิตรกรรมตางๆ และไหวบ รรพบุรุษ ๓๗ประวตั ศิ าสตร ๕

๑Ẻ·´Êͺ·èÕ กา ✗ คาํ ตอบท่ีถกู ตอ งทสี่ ดุ ๑. อารยธรรมอินเดียและจีนไมไดเขามาใน ๖. คาํ ขอใดเปนคาํ ทีร่ บั มาจากภาษาจนี ก. พักตร เอเชยี ตะวนั ออกเฉย� งใต โดยวธิ ีใด ข. เศรษฐี ก. เผยแผศ าสนา ✗ค. เทา เตง ข. ตดิ ตอคา ขาย ง. กษาปณ ๗. การคดิ เลขแบบใดทไ่ี ดร บั อทิ ธพิ ลมาจากจนี ค. ติดตอทางการทูต ก. การใชเ ครือ่ งคดิ เลข ✗ง. ยกกองทพั เขามารุกราน ข. การนบั ถอยหลัง ๒. การกินหมากพลูของคนไทยเปน ค. การนับนว้ิ มือ อิทธิพลในดา นใด ✗ง. การใชล กู คดิ ก. ศาสนา ✗ข. วถิ ีชวี ิต ๘. ประเทศใดในเอเชยี ตะวันออกเฉ�ยงใตไดร ับ อิทธพิ ลจากอารยธรรมจีนมากท่สี ดุ ค. การปกครอง ง. ศลิ ปวิทยาการ ✗ก. เวยี ดนาม ข. ไทย ๓. จากขอ ๒ เปน อิทธพิ ลที่ไดร ับจาก ค. มาเลเซยี ง. เมียนมา ผฉูสบอบั น อารยธรรมของชาติใด ๙. จากขอ ๘ เพราะเหตุใดประเทศน้นั จึงได ก. จีน ✗ข. อนิ เดยี รับอิทธพิ ลจากอารยธรรมจนี มากทีส่ ดุ ก. มีอาณาเขตติดกับจนี ค. สรุปไมไ ด ง. ท้ัง ๒ ประเทศ ข. เคยถกู จีนปกครอง ค. ประชาชนมเี ชอ้ื สายเดยี วกนั ๔. ขอใดไมใ ชอ ิทธพิ ลทางดา นการปกครอง ✗ง. ถกู ทัง้ ขอ ก. และ ข. ของอินเดยี ๑๐. อารยธรรมใดที่ไทยไดร บั อิทธพิ ลจากจนี ก. ความเชอ่ื เร่ืองกษัตรยิ เ ปนสมมตเิ ทพ และยงั คงพบเหน็ ไดในปจจบุ ัน ข. การมคี ําราชาศัพทใชสาํ หรบั กษัตรยิ  ✗ก. การใชต ะเกยี บ ค. การจดั พระราชพธิ ขี น้ึ ครองราชสมบตั ิ ข. การใชชอ นสอม ค. การใชม ดี ห�ันเน�อ้ ✗ง. การปกครองโดยยึดหลักธรรมหรอื ง. การใชช อ นตกั ซปุ ธรรมราชา ๕. อทิ ธพิ ลดา นวถิ ชี วี ติ ในขอ ใดรบั มาจากจนี ก. การกนิ หมากพลู ข. การนุง โจงกระเบน ✗ค. การทําอาหารแบบผัด ง. การทําอาหารที่ใสเครื่องเทศ ๓๘ ประวตั ิศาสตร ๕

๒บทที่ ÍÔ·¸¾Ô ŢͧÍÒøÃÃÁµÒ‹ §ªÒµÔ ขอบขายสาระการเรยี นรแู กนกลางรายวชิ า ประวัตศิ าสตร ชั้น ป.๕ ตวั ช้ีวัดชั้นป สาระพืน้ ฐาน ความรูฝงแนน ติดตัวผูเรียน มฐ. ส ๔.๒ (๒) ๑. การเขามาของวัฒนธรรม การศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของ วัฒนธรรมตางชาติท่ีมีตอสังคมไทย อภิปรายอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรม ตางชาติในสังคมไทย ในปจจุบนั ทําใหเ ราเขาใจวฒั นธรรม ตา งชาตทิ มี่ ตี อสังคมไทยปจ จุบนั ๒. อทิ ธิพลของวฒั นธรรม ตางชาติและรูจักนํามาปรับใชในชีวิต โดยสังเขป ประจําวันของเราไดอยางเหมาะสม ตา งชาตทิ ม่ี ตี อ สังคมไทย กับวัฒนธรรมประเพณข� องไทย ในปจจุบัน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Òí Ê¡‹Ù ÒÃàÃÕ¹ ผฉูส บอับน ¨Ò¡ÀÒ¾ ¹¡Ñ àÃÕ¹¤´Ô Ç‹Ò ÁÕÍÔ·¸¾Ô ŢͧÍÒøÃÃÁ µÒ‹ §ªÒµãÔ ´ºÒŒ §·èÁÕ ÕµÍ‹ ¤¹ä·Â ๓๙ประวตั ศิ าสตร ๕

๑ ¡ÒÃࢌÒÁҢͧÇѲ¹¸ÃÃÁµÒ‹ §ªÒµÔã¹Êѧ¤Áä·Â นอกจากอารยธรรมของอินเดียและจีนที่เขามามีอิทธิพลตอสังคมไทย แลว ยังมีวัฒนธรรมของชาวตะวันตกท่ีเขามามีอิทธิพลตอสังคมไทยเปนอยาง มาก เมอ่ื ชาวตะวันตกเดินทางเขา มาสูดนิ แดนไทยไดนําเอาวฒั นธรรมตะวันตก เขา มาใชในการดําเนินชวี ติ ดวย เชน การนาํ เครอื่ งใชจากตะวันตกเขามา ภาษา การศึกษา อาหาร เส้อื ผา การแตงกาย ตลอดจนศาสนาและความเชื่อ และได มีการถา ยทอดสูส งั คมไทยมาตง้ั แตอ ดีตจนถงึ ปจจบุ นั ๒ ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§ÇѲ¹¸ÃÃÁµ‹Ò§ªÒµÔ·èÕÁÕµ‹ÍÊѧ¤Áä·Âã¹ »¨˜ ¨Øº¹Ñ วัฒนธรรมตางชาติไดเขามามีอิทธิพลตอสังคมไทยมาต้ังแตในอดีต คนไทยไดรับวัฒนธรรมจากตางชาติ เชน วัฒนธรรมตะวันตก วัฒนธรรมของ ผฉสู บอับน ประเทศใกลเคียงมาปรับใชในชีวิตประจําวัน จนวัฒนธรรมบางอยางไดถูกกลืน เปนวัฒนธรรมของไทย ปจจุบันกระแสของวัฒนธรรม ตา งชาตเิ ขามามีอิทธิพลตอสังคมไทย เปนอยางมาก วัฒนธรรมเหลาน้�มี ท้ังสว นท่ีดแี ละสว นที่ไมดี เชน สว นทด่ี ี การรบั เอาวฒั นธรรม การแตง กายทเ่ี ปน แบบสากล เชน การ ใสเส้ือเช้ิต การผูกเน็คไท การใส เสอ้ื สทู การใสช ดุ ฟอรม ทาํ งาน การใส รองเทาสนสูง การใสกระโปรง ทําให ▲ การแตง กายตามแบบสากลในการทาํ งาน จะทําให มคี วามเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย เกดิ ความเรียบรอ ยและภาพลักษณท ่ีดีตอองคกร การแตงกายของหนวยงาน หรือองคกรตางๆ ท่มี ีการ กาํ หนดวา ตอ งแตง อยา งไร เพอ่ื ใหม ลี กั ษณะเหมอื นๆ กนั ๔๐ ประวตั ิศาสตร ๕

การรับเอาวัฒนธรรมการรับประทานอาหาร เชน การใชชอนสอม รับประทานอาหาร การรับประทานอาหารของตางชาติ เชน แฮมเบอรเกอร พิซซา สลัด ขนมโดนัท เคก ไสกรอก เปนตน ทําใหวัฒนธรรมการกินเกิด ความหลากหลายขึ้น ฮอตดอก แฮมเบอรเ กอร พิซซา โดนทั ▲ อิทธพิ ลกขาองรวรฒั ับนวธัฒรรมนกธารรรรับมปรเะกท่ียานวอกาหับาเรพขอลงงชาวดตะนวันตตรกี ไดเเชผนยแพกรเ าขรามเลาในนสกงั ีตคมาไรท ยอกยลา งอรวงดชเรุดว็ ผฉสู บอับน เปยโน ไวโอลนิ หรอื การฟง เพลงสากล ทําใหส ังคมไทยไดสัมผัสกบั วัฒนธรรม การฟงเพลง การเลน ดนตรีทห่ี ลากหลาย ▲ การรบั วฒั นธรรมดา นดนตรีเขามา ทาํ ใหเ กดิ ดนตรหี ลากหลายแนวยงิ� ขึน้ ๔๑ประวัติศาสตร ๕

การรับวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม เชน การนําโทรศัพท มาใชในการติดตอส่ือสารถึงกัน ทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็ว การนําโทรทัศน มาใชเพ่ือดูขาวสารตางๆ ทําใหมีความรูเทาทันคนอ่ืน การนํารถยนตมาใชเพ่ือ เดินทางไปในท่ีตางๆ ทําใหเกิดความสะดวกสบายในการเดินทาง การนํา คอมพิวเตอรมาใชใ นการทํางาน ทําใหทํางานไดร วดเรว็ ข้นึ เปน ตน ผฉูสบอบั น ▲ การรับเอาเทคโนโลยีของตา งชาติเขา มาใชในดานการคมนาคม ทาํ ใหสามารถเดินทางไดสะดวกรวดเร็วย�งิ ขนึ้ ๔๒ ประวตั ิศาสตร ๕

การรับอิทธิพลของวัฒนธรรมตางชาติมากเกินไป อาจสงผลใหวิถีชีวิต ของคนไทยเปล่ียนแปลงไป เชน ความมีน้ําใจ ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความ เหน็ อกเหน็ ใจ มนี อ ยลง เกดิ ความแกง แยง แขง ขนั การมปี ฏสิ มั พนั ธในครอบครวั ลดนอยลง หรือการรับวัฒนธรรมบริโภคนิยม ท่ีนิยมบริโภคสินคาฟุมเฟอย การใชสินคาราคาแพงเกินฐานะ ก็ทําใหเกิดการใชจายเกินตัวและอาจนําไปสู การเกดิ หน้สี ินตามมา การรับเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช เชน การใชสมารตโฟน หากใชเพ่ือ การติดตอส่ือสาร หรือการคนหาขอมูลตาง ๆ ก็จะกอใหเกิดประโยชนตอการ ดําเนินชีวิต แตถาหากใชเพียงเพ่ือความบันเทิงเปนหลัก หรือพกพาเพ่ือใหดูดี ตามกระแสแฟชั่น ก็อาจสง ผลเสยี ทําใหสน้ิ เปลอื งเงนิ ไมเ กิดความคมุ คา การเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน เครือขายอินเทอรเน็ต หากเรา ใชอ ยา งไมเ หมาะสม เชน การเขา เวบ็ ไซตท มี่ เี นอ้ื หาลอ แหลม สอื่ ถงึ ความรนุ แรง หรือเกี่ยวกับการพนัน ยอมเปนการเสียเวลาไปโดยเปลาประโยชน อาจทําใหผฉูส บอับน สูญเสียเงิน หรือกอหน้ีสิน นอกจากน้ี การแชรขอความ รูปภาพ หรือการ แสดงความคดิ เห็นตา ง ๆ ท่ีกระทบ ตอสิทธิเสรีภาพ หรือสรางความ เสียหายแกผูอ่ืนยอมมีโทษตามท่ี กฎหมายกาํ หนดไว ดงั นนั้ การรบั เอาวฒั นธรรม ตา งชาตเิ ขา มา จงึ ควรนาํ มาปรบั ใช ใหเขากับวิถีชีวิตของคนไทย และ เรียนรูวัฒนธรรมท่ีเหมือนและ แตกตา งกนั ซงึ่ จะทาํ ใหเ ราเกดิ ความ ▲ การรบั วฒั นธรรมของตา งชาติ ควรนาํ มาประยกุ ตใช เขาใจอันดีตอกันและกัน รวมทั้ง ใหเ หมาะสมและเกิดประโยชนต อ การดาํ เนนิ ชวี ติ สามารถอยูร ว มกันไดอ ยา งสนั ติ ๔๓ประวตั ศิ าสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠๑. รว มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ภาพทกี่ าํ หนดให แลว บนั ทกึ ขอ มลู ๑) จากภาพเปนการรับวัฒนธรรมตางชาติ ในดานใด …ด…า …น…เ…ท……ค…โ…น…โ…ล……ย…แี …ล…ะ…ก……าร……ส…ือ่ …ส……า…ร………………………… วฒั นธรรมนม้ี อี ทิ ธพิ ลตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของนกั เรียนอยางไร …เป……น……ส…่ิง…ท……่ีช…ว…ย……ใ…ห…เ…ร…า…เ…ข…า…ถ……ึง…ข…อ……ม…ูล……ข…า…ว…ส……า…ร. …ต…า…ง……ๆ………ไ…ด…อ……ย…า…ง……ร…ว…ด…เ…ร…็…ว……แ……ล…ะ…ย…ัง……ช…ว…ย…ใ…ห…. …ก…า…ร……ท…ํา…ง…า……น………ก…า……ร…ศ…ึก……ษ…า……ค…น……ค…ว…า……ใ…น…เ…ร…ื่อ……ง. …ต…า…ง……ๆ……เป……น…ไ…ป…อ……ย…า…ง…ง…า …ย…ด……า…ย…………………………………. ผฉสู บอับน ๒) จากภาพเปนการรับวัฒนธรรมตางชาติ ในดา นใด ดานอาหาร……………………………………………………………………………………………… วฒั นธรรมนมี้ อี ทิ ธพิ ลตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของนกั เรียนอยางไร …ท…ํา…ใ…ห…เ…ร…า…ม……ีท…า…ง…เ…ล…ือ……ก…ใ…น……ก…า…ร…บ……ร…ิโ…ภ…ค……อ…า…ห……า…ร. …ท…่หี …ล……า…ก…ห……ล…า…ย…แ…ล……ะส……ะ…ด…ว…ก……ร…ว…ด…เ…ร…ว็ ………………………. ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ๒. สํารวจการรับวัฒนธรรมตางชาติมาใชในทองถ�ิน แลวรวมกันวิเคราะหวา เปน การรบั วฒั นธรรมมาใชไ ดถ กู ตอ งหรอื ไม จากนน้ั สรปุ บนั ทกึ ผลและนาํ เสนอ ผลงานหนาชั้น ขึ้นอยกู บั ดลุ ยพนิ ิจของผสู อน ๔๔ ประวตั ิศาสตร ๕

๒¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹ปÒร¡ะÒจÃาํ ¤บท´Ô ที่ ๑. แบงกลมุ กลุมละ ๕-๖ คน ใหแ ตละกลุม ชว ยกนั สืบคนขอมูลเกยี่ วกบั การ เขามาของวฒั นธรรมตางชาตใิ นสงั คมไทย จากแหลง เรยี นรตู างๆ มสฐ4./.ต2วั ช(2้วี )ัด ๒. แแขลบ้ึนวงอบกยันลูกุมทบัึกผดรลวลุ ลมยงกพใันนนิ อสิจภมขิปดุ อรงาจยผาอูสกิทนอธน้ันิพสลงขตอวั แงวทัฒนนนาํธเรสรนมอตผาลงงชาานตหิทนี่มาีตชอ้นั สังคมไทย ใ(นตปัวอจ จยบุางัน)ในดา นตางๆ ทีก่ ําหนดให แลวสรุปบนั ทึกผลมาพอเขาใจ มสฐ4./.ต2วั ช(2ี้ว)ัด ผลดีที่เกิดจากการรบั วัฒนธรรมตา งชาติ ผลเสยี ทเี่ กิดจากการรับวัฒนธรรมตา งชาติ ดา นการรับประทานอาหาร …-……อก…าา…ห…รา…ใร…ช…ไชด…อ…ส …นะ…ด…ส…วอ…ก…มข…ท้นึ …ํา……ใ…ห…ร…ั…บ…ป……ร…ะ…ท……า…น. -……เอ…น…าน…ห…แา…ปร…งข…อ…แ…งล…ชะ…าน…ว…าํ ตม……นะั …ว…ันก…ตา…ร…กร…สบั……วป…นร…ะใ…ทห…า…ญน……จ..ะ …-……ก…า…ร……ร…ับ…ป……ร…ะ…ท…า…น……อ…า…ห…า…ร……ต…า…ง…ช…า…ต……ิท…ํา…ใ…ห.  ……ม……า…ก…ๆ………จ…ึง…ท…ํา…ใ…ห……ม…ีผ…ล……เส……ีย…ต…อ…ส……ุข…ภ…า…พ…….. ………ม…อี …า…ห…า…ร…ร…บ…ั …ป…ร…ะ…ท…า…น……อ…ย…า …ง…ห…ล…า…ก……ห…ล…า…ย……. ……ไ…ด…ร…บ…ั …ส…า…ร…อ…า…ห…า…ร…ไ…ม…ค…ร……บ…ต…า…ม…ท…ร…่ี า… ง…ก……า…ย….. ตองการ ผฉสู บอับน ดานการแตง กาย …-……ก…า…ร…ใ…ส……เ…ส…ื้อ…เ…ช…้ิต………ส……ูท………ก…า…ง…เ…ก…ง………ห……ร…ือ. -………ก…า…ร…แ…ต…ง……ก…า…ย…ท……่เี น……น…เ…ป…ด……เผ…ย……ร…า …ง…ก…า…ย…….. ………ก…ร…ะ…โ…ป…ร……ง……ร……อ…ง…เ…ท…า…ร…ัด……ส…น………ท…ํา…ใ…ห……ด…ู …. ………จ…ะ…ด…ไู …ม…เ…ร…ยี …บ……ร…อ …ย……แ…ล……ะ…ย…งั …ส…ง…ผ……ล…ใ…ห……….. สภุ าพเรยี บรอย………………………………………………………………………………………. ………เก…ิด……ก…า…ร…ถ……กู …ล…ว…ง……ล…ะ…เม……ดิ …ท…า…ง……เพ……ศ…ไ…ด… …….. ดา นเทคโนโลยี …-……ท…ํา…ใ…ห…ช…วี…ิต……ม…ีค…ว…า…ม……ส…ะ…ด…ว…ก……ส…บ……า…ย…ข…ึน้ …………. -………ก…า…ร……จ… า…ย……เ ง……ิ น……เ พ……ื่ อ…ซ……ื้ อ…อ……ุ ป…ก……ร…ณ…… ท……า…ง.. …-……ท…ํา…ใ…ห…ม……คี …ว…า…ม…ร…เู…ท…า…ท……ัน…ค……น…อ…นื่………………………. ………เท……ค…โ…น…โ…ล……ย…ีต…า…ง…ๆ………ท…่ีม……า…ก…เ…ก…ิน……ค…ว…า…ม…….. ………จ…ํา…เป……น……ท……าํ …ให……เก……ดิ …ค……ว…าม……ฟ…มุ …เ…ฟ…อ……ย………….. ………………………………………………………………………………………. ๔๕ประวัตศิ าสตร ๕

๒Ẻ·´Êͺ·Õè กา ✗ คาํ ตอบทถี่ กู ตองท่ีสุด ๑. วฒั นธรรมใดท่ีคนไทยดัดแปลงมาจาก ๖. วฒั นธรรมตา งชาติขอ ใดท่เี หมาะสมกบั สังคมไทย ตางชาติ ก. การใสชุดเปด เผยรา งกาย ข. การทําผมสีแดง เขียว ฟา ก. การฟน ดาบ ✗ค. การใสชดุ ฟอรมทํางาน ข. การกราบไหว ง. การใสกระโปรงส้นั ค. การฟงเพลงไทยเดิม ๗. ขอ ใดคอื ประโยชนหลักของโทรศพั ท ✗ง. การใชช อนสอ มรบั ประทานอาหาร มอื ถือ ก. มขี นาดเล็ก ข. ถา ยรูปได ๒. ใครแตงกายตามวัฒนธรรมตางชาติ ค. ฟงเพลงได ✗ง. ใชต ิดตอ กัน ก. เอใสผ าถุงเสื้อลายดอก ๘. การปฏบิ ตั ิในขอใดไมถูกตอ ง ✗ข. โอใ สเ ส้ือเช้ติ ผูกเนค็ ไท ก. ซ้ือรถเพอ่ื ขับไปทํางาน ค. แอนใสเ สอื้ คอกระเชา ✗ข. ซ้อื โทรศพั ทรนุ ใหมท กุ เดือน ง. อใู สก างเกงขายาว ค. ซ้ือคอมพิวเตอรมาใชท าํ งาน ผฉสู บอับน ๓. ใครปฏบิ ตั ติ นในการอนรุ กั ษว ฒั นธรรมไทย ง. ซอ้ื โทรทศั นม าติดตามขา วสาร ✗ก. ปอ มกินขา วกับแกงเขยี วหวานไก บา นเมอื ง ๙. ใครรบั วฒั นธรรมตา งชาตทิ ี่ไมเ หมาะสม ข. แปง กนิ แฮมเบอรเ กอร มาใช ค. เปากนิ ขนมเคก ✗ก. ขาวแตง กายวาบหวิว ง. ปอ งกินพซิ ซา ข. สม ชอบรับประทานสเต็ก ๔. อาหารในขอ ใดเปน อาหารไทยแท ค. แดงใชโ ทรศัพทต ิดตอ กับทางบา น ง. เขยี วตดั ผมทรงเดียวกับนกั รองเกาหลี ก. สเต็ก ✗ข. แกงสม ๑๐. ขนมในขอ ใดเปนขนมไทยแท ค. ขาวหมกไก ง. บะหมีเ่ กี๊ยว ก. ขนมเคก ✗ข. ขนมตาล ๕. ขอ ใดกลา วถกู ตองท่ีสุด ค. ขนมโดนัท ง. ขนมทองหยิบ ✗ก. วัฒนธรรมตางชาตมิ ีทั้งสว นทดี่ ี และสวนท่ีไมด ี ข. วฒั นธรรมไทยดกี วา วฒั นธรรมตา งชาติ ค. วฒั นธรรมตางชาตไิ มมสี ว นทดี่ เี ลย ง. วฒั นธรรมตา งชาตมิ แี ตสว นทดี่ ี ๔๖ ประวตั ิศาสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁºÃÙ ³Ò¡ÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä ชนิ้ ท่ี ๑ เรอ่ื ง อารยธรรมอนิ เดยี ในไทย ผฉูสบอบั น ๑. แบง นักเรยี นเปน กลุม กลมุ ละ ๔-๕ คน ๒. ใหสมาชิกแตละกลุมชวยกันสาํ รวจวฒั นธรรมไทยท่ีไดร บั อทิ ธิพลมาจากอินเดีย จากแหลงเรียนรูตา งๆ ๓. รวบรวมขอมูลที่ไดม าจดั ทาํ เปนรายงาน พรอมติดภาพประกอบ ๔. นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั ชน้ิ ที่ ๒ เรื่อง อารยธรรมจนี ในไทย ๑. แบง นักเรยี นเปนกลมุ กลุมละ ๔-๕ คน ๒. ใหสมาชิกแตละกลมุ ชวยกันสาํ รวจวัฒนธรรมไทยที่ไดร ับ อิทธิพลมาจากอารยธรรมจนี จากแหลง เรียนรูตา งๆ ๓. รวบรวมขอ มูลที่ไดม าจดั ปา ยนิเทศ พรอมตดิ ภาพประกอบ ๔. นาํ เสนอผลงานหนาชัน้ ชิ้นท่ี ๓ เรอ่ื ง วัฒนธรรมตางชาติท่มี ีตอสงั คมไทย ๑. แบง นักเรียนเปนกลมุ กลมุ ละ ๕-๖ คน ๒. ใหสมาชิกแตล ะกลุมชว ยกนั สํารวจวฒั นธรรมไทย ที่ไดร ับอิทธิพลมาจากอารยธรรมตางชาติ จากแหลงเรียนรูต า งๆ ๓. รวบรวมขอ มลู ท่ีไดมาจัดทาํ เปน สมดุ บนั ทึกความรู ๔. ใหแตล ะกลมุ นาํ ผลงานมาแลกเปลีย่ นเรียนรูก ัน ๔๗ประวตั ิศาสตร ๕

Ẻº¹Ñ ·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÒí ˹‹Ç รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจาํ หนว ยท่ี ๒ คําช้แี จง : ๑. ครูกําหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตองการวัดผลเพื่อเก็บสะสม ๒. ครูนําคะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะที่พึงประสงค (A) ของนักเรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชิ้นงานที่มีเครื่องหมาย * กํากับ ใหใชประกอบการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมนิ รายการเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรยี นรขู องนกั เรียน คะแนนรวมดา น ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๕ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ส ๔.๒ (๑) ก. พฒั นาการคิด อธบิ ายอิทธพิ ลของ ประเมินผลสัมฤทธดิ์ าน K / P / A อารยธรรมอินเดยี บทท่ี ๑ ขอ ๒ เขียน และจนี ท่ีมตี อ ไทย แผนผงั ความคดิ แสดง - แบบประเมิน - แบบประเมิน และเอเชยี ตะวนั ออก- อทิ ธพิ ลของอารยธรรม ทกั ษะสังคม คณุ ลกั ษณะ เฉย� งใตโดยสงั เขป อินเดยี และจีนท่ีมีตอ - แบบประเมนิ ท่ีพงึ ประสงค ไทยและเอเชยี ตะวนั - ทักษะ ออกเฉย� งใต กระบวนการ ส ๔.๒ (๒) อภปิ ราย ก. พฒั นาการคิด - แบบประเมนิ - แบบประเมิน อิทธพิ ลของ บทที่ ๒ ขอ ๒ ทักษะสังคม คณุ ลักษณะ วัฒนธรรมตา งชาติที่ อภปิ รายอทิ ธพิ ลของ - แบบประเมิน ท่ีพึงประสงค มีตอสังคมไทย วฒั นธรรมตา งชาตทิ มี่ ี ทักษะ ผฉูสบอับน ปจ จบุ นั โดยสงั เขป ตอ สังคมไทย กระบวนการ สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดา นผลการเรยี นตามตวั ช้วี ดั สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรยี น ผลงานกิจกรรมบรู ณาการฯ ที่นักเรียนเลือก เรื่อง .......................................................................... สว นท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจาํ หนวย การทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ปิ ระจําหนวยที่ ๒ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการเรยี นรูประจําหนว ย ขอ เสนอแนะ ………………………………………………………………….. ผาน ไมผาน ……………………………………………………………………………………………. ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงชอ่ื …………………………………………………………… ผูประเมนิ / /…………………….. ……………………. …………………… ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงใน แบบบันทึกอื่นที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๔๘ ประวัติศาสตร ๕

ห นว๓ยการเรียน ÍÒ³Ò¨¡Ñ ÃÍÂ¸Ø ÂÒáÅи¹ºÃØ Õรทู ่ี เปา หมายการเรยี นรูป ระจําหนวยท่ี ๓ แผนผังความคิดประจําหนวยที่ ๓ เมื่อเรียนจบหนว ยนแ�้ ลว ผเู รียนจะมีความรู พฒั นาการดา นสังคม เหตกุ ารณต อนปลายสมยั ความสามารถตอไปน�้ พฒั นาการดานเศรษฐกจิ การฟนฟชู าติ ๑. อธิบายพฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา พฒั นาการดานการเมอื ง การปกครอง การสถาปนาอาณาจกั ร ปจ จัยสงเสริมความเจรญิ รงุ เรอื ง การกอบกเู อกราช และธนบรุ ี โดยสงั เขป การสถาปนาอาณาจักร ความเปนมา ๒. อธิบายปจ จัยทส่ี งเสรมิ ความเจริญรุงเรอื ง อาณาจกั รอยุธยา อาณาจกั รธนบรุ ี ทางเศรษฐกิจและการปกครองของ อาณาจกั รอยธุ ยา อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ๓. บอกประวตั แิ ละผลงานของบุคคลสาํ คัญ สมัยธนบุรที ่ีนา ภาคภมู ิใจ บคุ คลสําคัญ ภมู ปิ ญ ญาไทย ผฉูสบอับน ๔. อธิบายภูมิปญญาไทยท่ีสําคัญในสมัย สมัยอยุธยาและธนบรุ ี สมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี อยธุ ยาและธนบรุ ที น่ี า ภาคภมู ใิ จและควร คาแกก ารอนรุ กั ษไว อยุธยา อยุธยา ธนบรุ ี คุณภาพที่พึงประสงคของผูเรยี น ธนบุรี ๑. มคี วามรูเ ร่ืองทอ งถนิ� ของตน ในเชิงประวัติศาสตร ๒. ไดร บั การพัฒนาแนวคิดทางประวัตศิ าสตร เพอ่ื ขยายประสบการณแ ละนําไปสกู ารทํา ความเขาใจการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม จากอดีตสปู จ จบุ นั

๑บทท่ี ÍÒ³Ò¨¡Ñ ÃÍÂ¸Ø ÂÒ ขอบขา ยสาระการเรียนรแู กนกลางรายวิชา ประวัตศิ าสตร ชน้ั ป.๕ ตวั ชวี้ ดั ช้นั ป สาระพน้ื ฐาน ความรูฝงแนน ตดิ ตวั ผูเรยี น มฐ. ส ๔.๓ (๑) ๑. การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา การศึกษาการสถาปนาอาณาจักร ๒. ปจจัยที่สงเสริมความเจริญรุงเรือง อธิบายพฒั นาการของอาณาจักร อยุธยา ปจจัยที่สงเสริมความเจริญ อยุธยา และธนบุรโี ดยสังเขป ทางเศรษฐกิจและการเมืองการ รงุ เรอื ง และพฒั นาการดา นการเมอื ง มฐ. ส ๔.๓ (๒) ปกครองของอยธุ ยา การปกครองเศรษฐกิจ และสังคม ๓. พฒั นาการดา นการเมอื งการปกครอง สมัยอยุธยา ทําใหเรามีความรูและ อธิบายปจจยั ท่สี งเสริมความเจริญ สมัยอยุธยา ความเขาใจเก่ียวกับเร่ืองราวของ รุงเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง ๔. พฒั นาการดา นเศรษฐกจิ สมยั อยธุ ยา ราชธาน�ของไทยในอดีต ของอาณาจักรอยุธยา ๕. พฒั นาการดา นสงั คมสมยั อยุธยา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí Ê¡‹Ù ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอับน ¨Òá¡ÅÍÀÐÒÒ³À¾ÒÒ¾¨à»à¡Ñ ËÚ¹ÅãÀ´Ò‹ Ò¹¢¾ÍàÕé ͧ¡äÐÕè·äÇáºÑºŒÒ§ ๕๐ ประวัติศาสตร ๕

๑ ¡ÒÃʶһ¹ÒÍҳҨѡÃÍÂظÂÒ พระเจาอูทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเปนราชธาน� เมื่อป พ.ศ. ๑๘๙๓ ทรงพระราชทานนามพระนครวา “กรุงเทพทวาราวดศี รีอยธุ ยา” และได เสดจ็ ขน้ึ ครองราชยเ ปนปฐมกษัตริยต น ราชวงศอ ทู อง ทรงพระนามวา “สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๑” ปจจยั ที่มีผลตอการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ไดแ ก ๑. เปนท่ที ี่มคี วามอุดมสมบรู ณ เหมาะแกก ารเพาะปลูก ๒. สะดวกแกการคมนาคม เพราะต้ังอยูในเสนทางคาขาย ติดตอกับ หัวเมืองอ่ืนๆ รวมท้ังสามารถติดตอคาขายกับตางประเทศทางทะเลไดสะดวก เพราะตั้งอยูตรงที่แมนํ้าใหญหลายสายไหลมาบรรจบกัน รวมเปนแมนํ้า เจาพระยาไหลออกอาวไทย เรือเดินทะเลสามารถแลนจากปากแมนํ้าเขามา ทอดสมอไดถงึ หนา เมอื ง ทําใหก รุงศรีอยุธยาเปน ชมุ ทางการคาขายทสี่ าํ คัญ ๓. มคี วามเหมาะสมดา นยุทธศาสตร กลา วคอื เมอื่ มขี า ศึกยกทัพมาตี ผฉูส บอบั น ขาศึกจะสามารถตั้งคายลอมเมอื งไดถ งึ ฤดแู ลงเทา นนั้ เพราะเม่ือถึงฤดูนํ้าหลาก นํ้าจะหลากทวมขังบริเวณรอบตัวเมือง ซึ่งเปนอุปสรรคตอการท่ีขาศึกจะยกทัพ เขาโจมตี และทําใหขาดแคลนเสบียงอาหาร ขาศึกจึงตองถอยทัพกลบั ไป สภาพทําเลท่ีตั้งของกรุง ศรีอยุธยา ท่ีมีความเหมาะสม ดังกลาว ทําใหกรุงศรีอยุธยาเปน นครราชธาน�อันย�ิงใหญของชาติ ไทยมายาวนานตลอด ๔๑๗ ป (พ.ศ. ๑๘๙๓ - พ.ศ. ๒๓๑๐) และมี พัฒนาการทางประวัติศาสตรอยาง เห็นไดช ัด ซึง� จะไดศกึ ษาตอไป  แผนท่สี ภาพทาํ เลทต่ี ง้ั ของอาณาจกั รอยุธยาทล่ี อ มรอบ ดวยแมนาํ ทาํ ใหก รงุ ศรีอยธุ ยามีลักษณะเปนเกาะ ๕๑ประวัตศิ าสตร ๕

๒ »˜¨¨Ñ·èÕÊ‹§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÃØ‹§àÃ×ͧ·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨áÅÐ ¡ÒÃàÁÍ× §¡Òû¡¤Ãͧ¢Í§ÍÂظÂÒ ปจจัยท่ีสงเสริมความเจริญของอาณาจักรอยุธยาจากแควนเล็กๆ ที่ สรา งสมความเจรญิ จนกลายเปนอาณาจกั รท่ียง�ิ ใหญ มีความมน�ั คงทางการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ และมคี วามรงุ เรอื งทางศิลปวัฒนธรรม มีหลายประการ ดงั น�้ ดนิ แดนอนั เปน ถน่ิ ทอ่ี ยขู องมนษุ ย เดมิ หมายถงึ ประเทศ เชน แควน มคธ แควน โกศล ในปจ จบุ นั หมายถงึ เขตปกครองทเ่ี ปน สว นยอ ยของประเทศ ใหญก วา จงั หวดั เชน แควน คาตาลญู ญา ปจ จัยสงเสริม ความเจริญรุง เรืองดานตา งๆ ทเ่ี กิดข้นึ ๑. การทม่ี ผี ูน าํ ท่มี ี - ในสมยั อยธุ ยามีพระมหากษตั รยิ ทีม่ ีพระปรชี าสามารถในดานตางๆ เชน ความสามารถ ● สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๑ เปน ผสู ถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยา ● สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ ทรงขยายอาํ นาจไปเหน�อดนิ แดนเขมร ผฉสู บอับน ● สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสรางความมน�ั คงดา นการเมืองการ ปกครองใหกบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา และสง เสริมวรรณกรรมและพระพุทธศาสนา ● สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ทรงประกาศอสิ รภาพจากพมา และสรา ง ความม�นั คงใหกบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ● สมเด็จพระนารายณมหาราช ทรงสรา งความสมั พนั ธทางการทตู กบั ตางประเทศ ทรงสง เสริมกวีและงานวรรณกรรม กลาวไดวา เปน ยุคทอง ของวรรณกรรม จากการทีม่ ผี นู าํ ท่มี คี วามสามารถ ทําใหกรงุ ศรีอยธุ ยาสามารถขยายดินแดน และอํานาจไปไดก วา งไกล ทาํ ใหมคี วามเจรญิ รุงเรืองในดา นการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ ศิลปวฒั นธรรม ๒. การมที ่ตี ั้งที่เหมาะสม - กรุงศรีอยุธยาต้งั อยูในท่รี าบลมุ มแี มนาํ้ ลอมรอบทั้ง ๓ ดา น ไดแ ก แมน า้ํ ลพบรุ ีทางดานเหนอื แมน ้าํ ปา สกั ทางทศิ ตะวันออก และแมน ้าํ เจา พระยา ทางตะวันตกและทางใต ทาํ ใหม คี วามอดุ มสมบรู ณ และสามารถติดตอกับ หัวเมอื งใกลเคียงไดส ะดวก จึงมีสินคา จากหัวเมืองซง่ึ เปน สนิ คา ท่ีตางชาติ ตองการ และจากทําเลทีต่ ัง้ ท่ีใกลกับปากอาวไทย ทําใหต า งชาติเขามาตดิ ตอ คา ขายทางเรอื ไดสะดวก ทําใหก รุงศรีอยุธยาพฒั นามาเปนเมอื งทา ในการ คาขายที่สาํ คัญในภมู ิภาคน้ี ๓. การมีพ้นื ฐาน - กรงุ ศรีอยุธยาเกดิ จากการรวมตัวของสองแควน โบราณ คอื แควน สุพรรณภมู ิ วฒั นธรรม และแควนละโว-อโยธยา ทาํ ใหมีรากฐานวัฒนธรรมที่พัฒนาตอมาอยา ง สบื เน�อง และมีการรบั เอาวฒั นธรรมตา งชาติที่เขา มาตดิ ตอมาผสมผสานดว ย ๕๒ ประวัตศิ าสตร ๕

ปจจยั สงเสริม ความเจริญรุงเรอื งดา นตา งๆ ท่เี กดิ ขน้ึ ๔. การจัดระเบียบ - กรุงศรีอยธุ ยามีการจัดระเบยี บการปกครองทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ มกี ารแบง หนวย การปกครอง ราชการแผน ดนิ มคี วามมนั� คง เชน ● กรมทา ดแู ลติดตอกบั ตางชาติ ● กรมมหาดไทย ดแู ลราชการพลเรอื น ● กรมพระกลาโหม ดแู ลดา นการทหาร ● กรมเวียง ดูแลกจิ การตา งๆ ในพระนคร ● กรมนา ดแู ลดา นการเกษตร ● กรมคลัง ดูแลดา นการคลงั นอกจากนม�้ ีการออกพระไอยการหรอื กฎหมายจํานวนมาก เพ่อื ดูแล ครอบคลมุ ในดานตางๆ เพ่อื ใหเกดิ ความสงบสขุ สมเด็จพระเจาอทู อง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ผฉสู บอบั น สมเด็จพระนารายณมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ▲ การท่ีมพี ระมหากษตั รยิ ทม่ี ีพระปรีชาสามารถเปนผนู ํา และมที าํ เลที่ตั้งทเ่ี หมาะสม เปน ปจ จยั สาํ คัญท่ี สง เสรมิ ความเจริญรุงเรืองในดานการปกครองและเศรษฐกจิ ของอาณาจกั รอยุธยา ๕๓ประวัตศิ าสตร ๕

๓ ¾²Ñ ¹Ò¡ÒôŒÒ¹¡ÒÃàÁ×ͧ¡Òû¡¤ÃͧÊÁÑÂÍÂظÂÒ พัฒนาการดานการเมืองการปกครองของอาณาจักรอยุธยา แบงออก เปน ๓ ระยะ ดงั น้� พพส.ม.ตศศัยอ..ถอน๑๑งึยต๘๙ธุ น ๙๙ย๓๑า ตรงกบั รชั สมัย รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๑ (พระเจาอูทอง) จนถงึ นรา(ะเนปยนะ๙เชว๘วลงาป) รัชสมยั ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจา สามพระยา) ลักษณะการเมือง เปน ชวงแรกสถาปนาอาณาจกั ร ตองควบคุมกําลงั คนให การปกครอง เขม งวด เปนมิตรกบั เพื่อนบา น มกี ารติดตอ คา ขายกับจนี สมัยเจา สามพระยามีความมน�ั คงมากข้ึน มกี ารขยายอํานาจ ไปยงั อาณาจกั รสุโขทัย และอาณาจักรเขมร ผฉูส บอับน พพสต.ม.ศอศัย.น.ถอ๒ก๑งึยล๒๙ธุ า๙๓ยง๑า๑ ตรงกบั รัชสมยั รชั สมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ จนถึงรัชสมัย นาร(นะเปย๒นะเ๔ชวว๐ลงาป) ของสมเด็จพระนารายณม หาราช ลักษณะการเมือง เปน ชวงที่กรงุ ศรอี ยุธยามีความมน�ั คงเปนปกแผน และมี การปกครอง อํานาจมาก ขยายเขตแดนไดก วางขวาง เศรษฐกจิ เจริญ เพราะมกี ารติดตอ คาขายกับนานาชาติ พพสต..มศศอยั .น.ถอ๒ป๒ึงยล๒๓ุธา๓๑ยยา๐๑ ตรงกบั รชั สมยั รชั สมยั ของสมเด็จพระเพทราชา จนถึงรชั สมยั ของสมเดจ็ นรา(ะเนปยนะ๗เชว๙วลงาป) พระทนี่ ง�ั สุริยาสนอมรินทร (พระเจา เอกทัศ) ลักษณะการเมือง เปน ชวงทก่ี ารเมืองการปกครองไมม�นั คง เพราะเกดิ ปญ หา การปกครอง ทางการเมอื งภายในราชอาณาจกั ร ทง้ั การกบฏ การแยงชงิ ราชสมบตั ิ เศรษฐกจิ ตกตํา เพราะการตดิ ตอ คาขายกับ ตางชาติลดลง การกระทาํ ความผดิ ตอ ความมน่ั คงของรฐั ภายในราชอาณาจกั ร โดยใชก าํ ลงั หรอื ขวู า จะใชก าํ ลงั เพอ่ื ลม ลา งหรอื เปลย่ี นแปลงอาํ นาจการบรหิ ารประเทศ

การจดั ระเบียบการปกครองสมยั อยธุ ยา แบง ไดด ังน้� ๑. สมยั อยุธยาตอนตน ในสมยั นเ้� ปน สมยั ของการวางรากฐานอาํ นาจทางการเมอื งการปกครอง รวมทง้ั เสรมิ สรา งความมน�ั คงของอาณาจกั ร ซง�ึ ยงั มอี าณาเขตไมก วา งขวางมากนกั พระเจา อูทองทรงวางรากฐานการปกครองไว ดังน้� ๑.๑ การปกครองสว นกลาง (ราชธาน)� พระมหากษตั รยิ แ บง การปกครองเปน ๔ สว น เรยี กวา จตสุ ดมภ ใหแ ตล ะสว นมอี ํานาจหนาที่ ดงั น�้ ๑) กรมเวียง (กรมเมือง) มีหนาท่ีดูแลความสงบเรียบรอย ของราษฎรทว�ั ราชอาณาจกั ร เชน ปราบปรามโจรผรู า ย นาํ ตวั ผทู าํ ผดิ มาลงโทษ มีเสนาบดีตาํ แหนง ขนุ เวียง หรอื ขุนเมือง เปน หวั หนา ๒) กรมวัง มีหนาที่จัดระเบียบเกี่ยวกับราชสํานัก จัดงาน พระราชพธิ ีตางๆ พิพากษาคดคี วามของราษฎร มีเสนาบดีตาํ แหนง ขนุ วงั เปน ผูร ับผิดชอบ ผฉูสบอบั น ๓) กรมคลัง มีหนาที่ดูแลผลประโยชน รายรับ-รายจายของ แผนดิน มีเสนาบดีตําแหนง ขุนคลัง เปนผูรับผิดชอบ มีหนวยงานยอย คือ กรมทา ดูแลการติดตอกับตางชาติ ๔) กรมนา มีหนาที่ดูแลดานการทํานา และเก็บรักษาเสบียง อาหาร มเี สนาบดตี ําแหนง ขุนนา เปน ผูร ับผดิ ชอบ ๑.๒ การปกครองสว นภมู ิภาค เปน การปกครองหัวเมืองที่อยนู อกเขตราชธาน� มีดังน้� ๑) เมืองหนา ดา น (เมอื งลูกหลวง) เปน หัวเมอื งท่อี ยรู ายรอบ ราชธาน�และมีระยะทางไปมาถึงราชธาน�ไดภายใน ๒ วัน มีความสําคัญในการ ปองกันขาศึกไมใหโจมตีถึงราชธาน�ไดงาย พระมหากษัตริยจะทรงแตงตั้งให พระราชโอรส หรอื เจา นายช้นั สงู ไปปกครองแทนพระองค เพือ่ เปน การแบง เบา พระราชภาระดานการปกครอง ๕๕ประวัตศิ าสตร ๕

สพุ รรณบรุ ี ลพบรุ ี นครนายก àÃ×Íè §à¡‹Ò-ªÇ¹ÃŒÙ ในสมัยพระเจาอูทอง โปรดเกลาฯ ให อยธุ ยา พระราเมศวร ซึ�งเปนพระราชโอรสไปครอง พระประแดง เมอื งลพบรุ ี ซง�ึ เปน เมอื งหนา ดา นทางทศิ เหนอ� และโปรดเกลาฯ ใหขุนหลวงพอง�ัว ซึ�งเปน ▲ แผนภมู แิ สดงเมอื งหนา ดา นทงั้ ๔ ทศิ ซงึ� พระเชษฐาของพระมเหสไี ปครองเมอื งสพุ รรณบรุ ี เปรียบเสมอื นเมอื งปอมปราการ ซ�ึงเปน เมอื งหนา ดา นทางทศิ ตะวันตก ๒) หวั เมอื งชน้ั ใน เปน หวั เมอื งทถ่ี ดั จากเมอื งหนา ดา นออกไปอกี เปนเมอื งรายรอบตามระยะทางคมนาคม อยไู มไ กลจากราชธาน� สามารถตดิ ตอ ถึงกันไดสะดวก หัวเมืองชั้นในมีความสําคัญคือ ในยามศึกสงครามจะนํากําลัง ทหารมาสมทบ พระมหากษัตริยจะทรงแตงตั้งเจาเมือง กรมการเมือง และ ผฉูสบอับน คณะกรมการเมืองไปปกครอง โดยขึ้นตรงตอราชธาน� หัวเมืองชั้นในท่ีสําคัญ ในสมัยอยธุ ยาตอนตน มีดงั น้� ทิศเหน�อ ☞ เมืองพรหมบุรี อนิ ทรบุรี สงิ หบรุ ี ทศิ ใต ☞ เมอื งเพชรบุรี ทศิ ตะวันออก ☞ เมืองปราจีนบุรี ทิศตะวันตก ☞ เมืองราชบุรี ๓) หัวเมืองชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) เปนหัวเมืองที่มี ขนาดใหญอยูหางจากราชธาน�ออกไปตามทิศทางตางๆ หัวเมืองชั้นนอกจะเปน เมืองทค่ี อยปกปองดูแลอาณาเขตดา นที่ตงั้ อยู มีเจาเมืองเปน ผปู กครองสืบทอด ตอ ๆ กันมา แตในบางครงั้ เพ่ือความมนั� คงของราชธาน� พระมหากษัตรยิ ก ็ทรง แตงตง้ั ขนุ นางจากกรงุ ศรีอยธุ ยาไปปกครอง หัวเมืองช้นั นอกท่ีสําคญั มีดงั น�้ ๕๖ ประวัติศาสตร ๕

ทิศเหน�อ ☞ เมืองพษิ ณุโลก ทศิ ใต ☞ เมืองไชยา เมอื งนครศรีธรรมราช เมอื งพทั ลุง ทิศตะวันออก ☞ เมอื งนครราชสมี า เมืองจันทบุรี ทศิ ตะวันตก ☞ เมืองตะนาวศรี เมืองทวาย ๔) เมืองประเทศราช เปนเมืองตางชาติ ตางภาษา ท่ีขยาย อํานาจการทหารเขาไปยึดครอง มีการปกครองอิสระแกตนเอง เมืองเหลาน้ม� ี รูปแบบการปกครองตามวัฒนธรรมของตน เจานายพ้ืนเมืองมีสิทธ์ิขาดในการ ปกครองดินแดนของตน แตตองแสดงตนวายอมออนนอม โดยการสงเคร่ือง ราชบรรณาการมาถวายตามกําหนด เปนการแสดงความจงรกั ภักดี เมื่อเกิดศกึ สงครามก็สงกําลังและเสบียงอาหารมาสมทบกับฝายไทย เมืองประเทศราชใน สมยั อยุธยาตอนตน ไดแ ก เขมร มอญ มะละกา แผนผังแสดงการปกครองในสมยั อยุธยาตอนตน ผฉสู บอับน สง่ิ ทส่ี ง ไปใหพ ระมหากษตั รยิ ข องเมอื งท่ี พระมหากษตั รยิ  ปกครองเมอื งตนเองอยดู ว ยความเคารพ นบั ถอื หรอื ดว ยไมตรี การปกครองสวนกลาง การปกครองสว นภูมภิ าค จตสุ ดมภ คลัง นา ขุนคลงั เวียง วงั ขนุ นา หัวเมืองชั้นนอก ปรหะัวเทเมศอื รงาช ขุนเวยี ง ขุนวัง เจาเมอื งท่ีสบื เจา นาย เมืองหนา ดา น หัวเมอื งชัน้ ใน เช้ือสายหรือ พนื้ เมือง พระราชโอรส ขุนนาง ขุนนางทแ่ี ตงต้งั พระราชวงศท ี่ ใกลชิด ๕๗ประวตั ศิ าสตร ๕

๒. สมัยอยธุ ยาตอนกลาง ชวงเวลาตั้งแตสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถถึงสมัยสมเด็จ พระนารายณมหาราช (พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๒๓๑) สมัยน้�เปนสมัยที่อาณาจักร อยุธยามีความมั�นคงเปนปกแผน และเริ�มเปนอาณาจักรที่ย�ิงใหญ มีอํานาจ ทางการเมืองการปกครองเจริญรุงเรืองสูงสุด รวมทั้งมีสภาพทางเศรษฐกิจที่ เจรญิ รุงเรอื ง มกี ารตดิ ตอ คาขายกับตา งชาติ ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดมีการจัดระเบียบการ ปกครองโดยรวมอํานาจไวท ี่ศูนยกลาง เพอื่ ใหเ หมาะสมกับสภาพของอาณาจกั ร อยุธยาในขณะนน้ั ทขี่ ยายดนิ แดนกวางออกไป สาเหตุท่ีทําใหสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถปฏิรูปการปกครอง อาณาจกั รอยธุ ยา มีดังน�้ ๑. สืบเน�องจากการที่อยุธยาไดขยายดินแดนออกไปกวางขวาง และไดรวมเอาดินแดนของอาณาจักรสุโขทัยเขามาเปนสวนหน�ึงของอาณาจักร ผฉูสบอบั น จงึ จาํ เปน ตอ งขยายอาํ นาจและการปกครองออกไปใหค วบคมุ ดนิ แดนทง้ั หมดไวไ ด ๒. เกิดการเรียนรูวัฒนธรรมและรูปแบบการปกครองจากอาณาจักร สุโขทัย และอาณาจักรขอม ซึ�งอยูใตอํานาจของอาณาจักรอยุธยา ทําใหมีการ ปฏริ ูปการบริหารราชการแผน ดนิ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ไดจดั ระเบียบการ ปกครอง การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ใหม โดยเนน การรวมอาํ นาจสศู นู ยก ลาง และ จัดระเบียบการปกครองหัวเมืองใหม ดงั น�้ ๒.๑ การปกครองสว นกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัดแบงขุนนางและไพรพลใน ราชอาณาจักรใหม โดยแบงออกเปน ๒ ฝาย คือ ฝายพลเรือน และฝายทหาร ในยามท่ีบานเมืองสงบสุข หนาที่ของฝายพลเรือนและฝาย ทหารจะแยกจากกัน เพ่ือรับผิดชอบบริหารบานเมืองตามที่ไดรับมอบหมายให มปี ระสทิ ธิภาพ แตเม่อื ยามเกดิ สงคราม ทั้ง ๒ ฝาย จะตองรวมกําลงั กัน เพื่อ ตอสูข า ศึกศัตรูและปอ งกนั ประเทศใหมัน� คงปลอดภัย ๕๘ ประวตั ศิ าสตร ๕

ฝายทหาร มีสมุหพระกลาโหมเปนหัวหนาบังคับบัญชาดูแล ราชการ ฝายทหารท�ัวราชอาณาจักร เพ่ือเตรียมไพรพลและกําลังอาวุธไวให พรอมเพรยี ง สามารถสูรบในยามเกิดศึกสงครามได ฝา ยพลเรอื น มสี มหุ นายกเปน หวั หนา บงั คบั บญั ชาดแู ลรบั ผดิ ชอบ งานฝายพลเรือนทั�วราชอาณาจักร และคอยกํากับดูแลการทํางานของเหลา เสนาบดีจตุสดมภเดิม ซึ�งสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเปลี่ยนช่ือ และ ปรบั ปรงุ หนา ทข่ี องหนว ยงานทง้ั ๔ ใหม โดยใหม หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบบรหิ ารราชการ แผนดนิ แตกตางกันไปตามทท่ี รงมอบหมาย ดังน�้ ชอื่ หนว ยงาน หนา ที่รับผิดชอบ ผฉูสบอับน นครบาล (กรมเวยี ง) - ดแู ลความสงบเรยี บรอยของบานเมอื ง และรักษาความสงบสุข ของราษฎรในเขตราชธาน� ธรรมาธิกรณ (กรมวงั ) โกษาธิบดี (กรมคลงั ) - ดูแลรบั ผิดชอบเกีย่ วกับราชสํานกั งานราชพิธี และพพิ ากษาคดคี วาม ของราษฎร เกษตราธิการ (กรมนา) - ดแู ลรายรบั -รายจา ยและเกบ็ รกั ษาพระราชทรัพย จัดเกบ็ อากร คาธรรมเนย� มตางๆ ตดิ ตอคา ขายกบั ตา งประเทศ - ดูแลสง เสริมใหร าษฎรทําไร ทํานา เกบ็ ขา วขน้ึ ฉางหลวง เพ่ือใชเ ปน เสบียงในยามศกึ สงครามหรอื ยามเกิดขา วยากหมากแพง ๒.๒ การปกครองสว นภมู ิภาค สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางหลักเกณฑตางๆ ในการ ปกครองสว นภมู ิภาคใหม ีลกั ษณะแบบเดียวกนั กบั สวนกลาง และไดยกเลิกเมือง ลกู หลวงหรอื เมอื งหนา ดา นทง้ั ๔ ทศิ โดยแบง เขตของการปกครองเปน ๓ เขต ดงั น้� ๑) หวั เมอื งชัน้ ใน ไดแก เมืองท่อี ยูใกลร าชธาน� เชน ราชบุรี เพชรบุรี ชัยนาท นครสวรรค สพุ รรณบุรี ชลบรุ ี เปนตน เมอื งเหลา นม้� ฐี านะ เปน เมอื งจตั วา พระมหากษตั รยิ ท รงแตง ตง้ั ขนุ นางจากกรงุ ศรอี ยธุ ยาไปปกครอง ผูปกครองเมอื งเรยี กวา ผูร ัง้ ๕๙ประวัตศิ าสตร ๕

๒) หวั เมอื งชน้ั นอก ไดแ ก เมอื งทอ่ี ยหู า งไกลจากราชธานอ� อกไป แบง เปน เมอื งชน้ั เอก โท ตรี ตามขนาดและความสาํ คญั ของแตล ะเมอื ง ดงั ตอ ไปน้� - เมอื งชน้ั เอก เปน เมอื งใหญ มปี ระชาชนมาก เชน พษิ ณโุ ลก นครศรธี รรมราช - เมอื งชน้ั โท เปน เมอื งทส่ี าํ คญั รองลงมา เชน สโุ ขทยั กาํ แพงเพชร สวรรคโลก - เมืองชัน้ ตรี เปน เมืองขนาดเล็ก เชน ไชยา ชมุ พร นครสวรรค เจาเมืองเปนเจานายหรือขุนนางจากเมืองหลวง มีสมุหนายก ดแู ลฝา ยพลเรือน และสมหุ พระกลาโหมดแู ลฝา ยทหารควบคมุ อีกชนั้ หน�ง ๓) เมืองประเทศราช ไดแก เมืองข้ึนของกรุงศรีอยุธยา เชน ปตตาน� มะละกา เชียงกราน ทวาย ผูปกครองตองสงเคร่ืองราชบรรณาการ มาถวายกษัตริยที่กรุงศรีอยุธยา วิธีการปกครองยังคงใชวิธีเดียวกับสมัยอยุธยา ตอนตน ๒.๓ การปกครองสวนทองถ�นิ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงแบงการปกครองสวนทองถ�ิน ผฉสู บอับน เปนหนวยงานตางๆ เพ่ือใหการปกครองดูแลไดทั�วถึงมากขึ้น โดยเร�ิมจาก หมูบานมีผูใหญบานปกครองดูแล ตําบลมีกํานันดูแล แขวงมีหมื่นแขวงดูแล และเมืองมีเจาเมืองดูแล การปกครองทองถ�ินดังกลาวไดใชสืบทอดมาจนถึง สมยั รัตนโกสินทร แผนผังแสดงการปกครองในสมัยอยธุ ยาตอนกลาง พระมหากษตั รยิ  การปกครองสวนกลาง การปกครองสว นภมู ิภาค การปกครองสว นทอ งถิ�น ฝา ยพลเรอื น ฝา ยทหาร หัวเมอื งช้นั ใน หัวเมอื งประเทศราช เมอื ง แขวง สมหุ นายก สมุหพระกลาโหม หวั เมอื งชั้นนอก ตําบล จตสุ ดมภ หมูบ าน เมืองชั้นเอก นครบาล ธรรมาธกิ รณ โกษาธบิ ดี เกษตราธิการ เมืองชั้นโท เมอื งชัน้ ตรี ๖๐ ประวตั ศิ าสตร ๕

๓. สมัยอยธุ ยาตอนปลาย ชวงเวลาตั้งแตสมัยสมเด็จพระเพทราชาถึงสมัยสมเด็จพระที่น�ัง สุริยาสนอมรินทร หรือพระเจาเอกทัศ (พ.ศ. ๒๒๓๑- ๒๓๑๐) รูปแบบการ ปกครองในสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังคงยึดรูปแบบการปกครองตามที่สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถทรงจัดระเบียบไว แตมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ ปกครองบางสว นในสมัยสมเดจ็ พระเพทราชา ดงั น้� ๑. ยกเลิกการแยกความรับผิดชอบของอัครมหาเสนาบดีดานงาน พลเรอื นและดา นงานทหาร ๒. ใหสมุหพระกลาโหมรับผิดชอบท้ังดานทหารและดานพลเรือน ปกครองหวั เมืองฝายใตต้งั แตเพชรบรุ ลี งไป ๓. ใหสมุหนายกรับผิดชอบท้ังดานทหารและพลเรือน ปกครองหัว เมอื งฝายเหน�อและดูแลจตุสดมภในสว นกลาง ๔. ใหเสนาบดีกรมคลังรับผิดชอบท้ังดานทหารและดานพลเรือน ปกครองหัวเมืองชายฝงตะวันออก และดูแลเก่ียวกับรายไดของแผนดินและ ผฉสู บอบั น การตดิ ตอคาขายกับตางประเทศ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ·Ù èÕ ñ ๑. แบงกลมุ กลมุ ละ ๒-๓ คน ใหแ ตล ะกลมุ ชวยกันหาภาพเมอื งอยุธยามาตดิ นแลาํ เว สเขนยีอนผอลธงบิานายหกนาา รชสน้ั ถาขปน้ึนาออายณูกาจับกั ดรอุลยธยุ ยพามนิ าพจิ อขเอขางใผจ สูจาอกนนน้ั ผลดั กนั ๒. แบงกลมุ กลมุ ละ ๕-๖ คน ใหแตละกลมุ ชวยกันสืบคนขอมูลเก่ยี วกับการ ปกครองในสมยั อยธุ ยา แลว จดั ทาํ เปน รายงานกลมุ จากนน้ั ผลดั กนั นาํ เสนอ ผลงานหนา ชน้ั ข้ึนอยูก ับดลุ ยพินจิ ของผสู อน ๖๑ประวตั ศิ าสตร ๕

๔ ¾Ñ²¹Ò¡ÒôҌ ¹àÈÃÉ°¡¨Ô ÊÁÑÂÍÂظÂÒ เนอ่ื งจากกรงุ ศรอี ยธุ ยามที าํ เลทตี่ งั้ อยทู บี่ รเิ วณราบลมุ่ แมน าํ้ สาํ คญั ๓ สาย ไดแ ก แมน า้ํ ลพบรุ ี แมน า้ํ ปา สกั และแมน า้ํ เจา พระยา ทาํ ใหม พี น้ื ทอี่ ดุ มสมบรู ณ เหมาะแกการเพาะปลูก และการติดตอคาขายกับตางประเทศ เศรษฐกิจสมัย อยุธยาสว นใหญจงึ ขน้ึ อยกู ับการทาํ เกษตรกรรม และการคา ขายเปน หลกั ผฉูสบอับน ▲ แผนท่ีเมืองอยธุ ยาแสดงแหลง เกษตรกรรม หัตถกรรม แมน ้ําสาํ คัญ ที่เปนปจ จัยสงเสริมเศรษฐกจิ ใน สมัยอยธุ ยาใหม คี วามเจรญิ รงุ เรืองแมใ นปจ จุบนั ๑. การประกอบอาชีพ ในสมยั อยธุ ยา ประชาชนสว นใหญป ระกอบอาชพี การทาํ เกษตรกรรม เปน หลกั นอกจากน�้ยงั มอี าชีพหัตถกรรม และคาขาย ๖๒ ประวัติศาสตร ๕

๑.๑ การทําเกษตรกรรม การเพาะปลูกท่ีสําคัญของชาวอยุธยา ไดแก การทํานา การทาํ สวน เชน สวนมะพรา ว สวนหมาก สวนกลว ย สวนสม เสนาบดีกรมนา จะทําหนาท่ีดูแลเก่ียวกับการทํานาและการเพาะปลูกตางๆ จัดเก็บอากร คานา คา สวน รวมทง้ั จดั เกบ็ หางขา วจากราษฎรทท่ี าํ นา เพ่ือสะสมไวเปนเสบียงหลวง ในยามท่ีมีศึกสงครามหรือใชในราชการแผนดิน ขาวจึงเปนสินคาที่ควบคุม คาขายโดยเสรีไมได เพราะมผี ลตอ ความมน�ั คงของอาณาจกั ร การเพาะปลกู ในสมยั อยธุ ยามลี กั ษณะเปน แบบยงั ชพี สว นหนงึ� ใชเ ลยี้ งตนเอง และครอบครวั อกี สว นหนงึ� จา ยเปน ภาษแี ละสว ยใหแ กท างราชการ สว นทเ่ี หลอื จากการบรโิ ภคกอ็ าจจะนาํ ไปแลกเปลยี่ นกบั ผลผลติ ของผปู ระกอบการ อาชพี อ่ืนๆ ผลิตผลทางการเกษตรท่เี หลือจากการบรโิ ภคสวนหน�ึง ทาํ เปนสินคา สง ออก เพือ่ เปน การสรา งรายไดเ ขาสูอาณาจกั ร ๑.๒ การทําหัตถกรรม ในสมยั อยุธยา มกี ารทาํ หตั ถกรรมแบบงายๆ โดยนาํ วัตถุดิบที่ ผฉูสบอับน มีอยูในทองถ�ินมาประดิษฐเปนเครื่องมือเคร่ืองใชในชีวิตประจําวัน เชน หมอ เตา กระบุง ตะกรา เสื่อ มีด สวนหนึ�งไดรับการถายทอดมาจากบรรพบุรุษ และจากการฝก ฝนลงมอื ปฏิบตั ิจนเกิดความชํานาญ ผลผลิตหัตถกรรม ทส่ี าํ คญั ในสมยั นน้ั เชน เครอ่ื งปน - ดินเผา เคร่ืองสังคโลก นับเปน สิ น ค า ห ลั ก ท่ี สํ า คั ญ ข อ ง ก า ร ค า ในสมัยอยุธยา นอกจากน�้ยังมีการ ทําเคร่ืองจักสาน เครื่องประดับ เคร่ืองใชทองเหลือง อาวุธ เชน ▲ การทําเครือ่ งปน ดินเผาของชาวพระนครศรีอยธุ ยา มดี พรา ขวานท่ผี คู นทําติดตอ กันมาต้ังแตส มยั แรกสรางราชธาน� เปน เครอ่ื งปน ดนิ เผาชนดิ หนง่ึ ผลติ ทเ่ีมอื งสวรรคโลก (ปจ จบุ นั คอื เมอื งศรสี ชั นาลยั ) และเปน มรดกสบื ทอดมาจนถึงปจ จบุ ัน มที ง้ั แบบทเ่ี คลอื บผวิ และไมเ คลอื บผวิ มกี ารตกแตง ประดบั ลวดลายตา งๆ อยา ง ๖๓สวยงาม ซง่ึ คาํ วา สงั คโลก เพย้ี นมาจาก คาํ วา ปสรวระรวคัตโลศิ กาสตร ๕

๑.๓ การคา ขาย การคาขายในสมัย อยุธยามี ๒ ลกั ษณะ ดงั น้� ๑) การคาขาย ภายในอาณาจักร หรือการคาขาย ระดับชาวบาน เปนการนําผลผลิตที่ เหลือจากบริโภคในชีวิตประจําวันมา แลกเปลี่ยนกันตามตลาดในชุมชน ▲ ภาพถา ยตลาดนาํ้ สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร ซงึ่ เชอื่ วา สมยั เงินตราสมัยอยุธยาใชเงินที่ทําดวย อยุธยาลักษณะการคาขายตามตลาดชุมชน โลหะ เรียกวา เงินพดดวง และใช กค็ งมีลักษณะไมแตกตา งไปจากนี้ หอยทะเลชนิดหน�ึง เรียกวา เบี้ย เปนเงนิ ปลกี ๒) การคาขายกับ ผฉสู บอบั น ตางประเทศ เน่ืองจากทําเลท่ีต้ัง ของกรุงศรีอยุธยาสะดวกแกการ คมนาคม และการติดตอคาขายกับ ชาวตา งประเทศ เพราะตง้ั อยไู มไกล จากปากแมน าํ้ และมแี มน าํ้ สายใหญ ▲ เครือ่ งเทศเปนสนิ คาออกท่สี ําคัญในสมัยอยธุ ยา ลอ มรอบเกาะเมอื ง สง ผลใหการคาขายกบั ตา งประเทศเจรญิ รุงเรอื ง สินคา ออก ของอยุธยาทีเ่ ปน ท่ีตองการของตางประเทศ ไดแ ก เพลย้ี หอยชนดิ หนง่ึ ผลติ สารทเ่ี รยี กวา สินคาทางเกษตร เชน ขา ว เกลือ เครือ่ งเทศ นํ้าตาล (๑)ขค้ี รง่ั นาํ ไปใชป ระโยชนใ นอตุ สาหกรรม ตา งๆ หลายอยา ง (๒)ซง่ึ ครง่ั ในทน่ี ห้ี มายถงึ สินคาประเภทของปา เชน ไมกฤษณา ไมส ัก ไมฝ าง ขค้ี รง่ั นน่ั เอง สว นของเนอ้ื ไมซ ง่ึ มสี ดี าํ เกดิ เมอ่ื ตน ไม มบี าดแผล มกี ลน่ิ หอม ใชท าํ ยาได ครั�ง งาชาง หนังสัตว ตน ไมข นาดเลก็ ตน มหี นาม ดอกสเี หลอื ง เนอ้ื ไมส แี ดง ใชย อ มผา และทาํ ยาได การคาขายกับตางประเทศน้�ในระยะแรกมีลักษณะคอนขาง เสรี พอคา ชาวตางประเทศท่ีตดิ ตอคา ขายสว นใหญเ ปน พอ คา เอเชยี ดว ยกัน ๖๔ ประวตั ศิ าสตร ๕

ในระยะตอมา การคากับตางประเทศดําเนินการโดยพระมหา- กษัตริย พระราชวงศ ขุนนาง ผานหนวยงานท่ีเรียกวา “พระคลังสินคา” ซ�ึง มีหนาท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการติดตอคาขายกับตางประเทศ โดยกําหนดให สินคาบางประเภทเปนสินคาตองหามท่ีพระคลังสินคาผูกขาด เชน ขาว เกลือ งาชาง นอแรด ไมกฤษณา อาวุธ เปนตน ชาวตางชาติจะมาซื้อสินคาจาก ราษฎรโดยตรงไมได ตองติดตอผานพระคลังสินคา สวนสินคาท่ีอยุธยาส�ังซื้อ จากตางประเทศ เชน ผา แพร ผาลายทอง เครอื่ งเหล็ก ปน ปนใหญ กระสนุ ดินดาํ เปนตน กรงุ ศรอี ยธุ ยาเรม�ิ ตดิ ตอ คา ขายกบั ประเทศตะวนั ตกเปน ชาตแิ รก คือ โปรตุเกส ซึ�งเขา มาติดตอคาขายในรชั สมัยสมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๒ หลงั จากน้นั ก็มกี ารติดตอ กบั สเปน ฮอลนั ดา อังกฤษ เดนมารก และฝร�ังเศส ท่ีเขา มาติดตอคาขายตามลําดับ ทําใหการคาขายกับตางประเทศขยายตัวออกไป อยางกวา งขวาง ดังนั้น ความม�ังคั�งทางเศรษฐกิจในสมัยอยุธยาจึงเกิดจากการ ผฉสู บอับน คาขายกับตางประเทศ และจากการติดตอกับตางประเทศยังสงผลใหอยุธยามี การพัฒนาความรูเกี่ยวกับ การคา และวิทยาการสมัย ใหม เชน ไดร บั ความรูจ าก พอคาชาวจีนในเร่ืองการ ตอเรือสําเภา ไดรับความรู จากชาวตะวันตกเก่ียวกับ วิธีการรบ การผลิตอาวุธ การสรางปอ มปราการ ▲ ภาพจําลองเรือสาํ เภาในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ๖๕ประวัติศาสตร ๕

๒. รายไดข องอยุธยา รายไดของกรงุ ศรีอยธุ ยาท่ีสําคญั มดี ังน้� ราอยยไธุดยขาอง จากการเก็บคา ธรรมเนย� มจากราษฎร จังกอบ จากการคาขายโดยพระคลงั สินคา อากร สว ย ฤชา ๒.๑ รายไดจากการเกบ็ คาธรรมเน�ยมจากราษฎร รายไดของแผนดินในสมัยอยุธยาที่ไดจากการเก็บภาษีอากร แบงเปน ๔ ลกั ษณะ ดังน้� ๑) จังกอบ คือ รายไดท่ีเก็บตามดานขนอนท้ังทางบกและ ทางนาํ โดยเรียกเกบ็ เปนคา ผานดา นเวลาท่ีราษฎรนาํ สนิ คาไปขาย โดยการเก็บ ชกั สวนสินคา หรือเก็บเงนิ เปน จํานวนตามอัตราขนาดของยานพาหนะทบ่ี รรทกุ สนิ คา นาํ เขา มา เชน ขนาดของเรือ เปน ตน ผฉสู บอับน ๒) อากร คือ รายไดท่ีเกิดจากการเก็บผลประโยชนบางสวน จากการประกอบอาชพี ตางๆ ของราษฎร เชน การทํานา ทําไร ทาํ สวน และคา สมั ปทานทรี่ ัฐใหสทิ ธิแกราษฎรในการทําเหมอื งแร เก็บของปา จับปลา ๓) สวย คือ รายไดที่เกิดจากส�ิงของท่ีรัฐไดรับจากบุคคลบาง กลุมที่สงมาใหทองพระคลังแทนการสละแรงงานใหกับทางราชการ ซึ�งตองถูก เกณฑมาทํางานทุกป เชน ราษฎรที่อยอู าศยั แถบภเู ขา อาจสงมลู คา งคาวและ ของปา สวนราษฎรแถบเมืองถลางจะจัดสงดีบุกมาใหกับทางราชการ เพื่อทํา ลูกปน เปนตน นอกจากน�้ยังหมายรวมถึงเครื่องราชบรรณาการที่ตองสงมา ถวายกษัตรยิ เปน คราวๆ ตามกําหนดดวย ๔) ฤชา คือ รายไดจากคาธรรมเน�ยมที่ทางราชการเรียกเก็บ จากราษฎรท่ีมาติดตอขอรับบริการจากรัฐ หรือการที่รัฐตองอํานวยประโยชนให แกราษฎรบางคนเปนรายกรณ� เชน กรณ�ที่ราษฎรท่ีมีเร่ืองฟองรองกัน การ ออกโฉนดทีด่ ิน ๖๖ ประวตั ิศาสตร ๕

๒.๒ รายไดจ ากการคา โดยพระคลังสนิ คา รายไดจากการคาขายโดยพระคลังสินคาน�้ เปนรายไดท่ีสําคัญ ของอาณาจักรอยพธุ ยราะคลงั สนิ คา กาํ หนด ชอ่ื พรรณไมบ างชนดิ ทม่ี เี นอ้ื ไม ดอก หรอื ผลหอม ใชท าํ ยา และปรงุ เครอ่ื งหอม ใหสินคาบางชนิดเปนสินคาตองหาม ซึ�งเปนสินคาท่ีหายากและมีราคาแพง เชน ไมกฤษณา ไมจันทน ไมหอม ไมสัก ขาว เกลอื งาชา ง ดีบุก และ ไมอนุญาตใหพอคาเอกชนทําการ ซ้ือขายสินคาตองหามเหลาน้�โดยตรง กับตางประเทศ พระคลังสินคาจะ ผูกขาดซ้ือสินคาจากประชาชน และ ▲ ไมจันทน ไมก ฤษณา และรังนก จัดเปน สนิ คา ตอ งหา มในสมัยอยุธยา สงสินคา ไปขายยังตา งประเทศอีกตอหนงึ� กอ ใหเ กิดผลกําไรจากการคา ขายของ พระคลังสินคา และกลายเปนรายไดของแผนดินอีกทางหน�ึง นอกจากน�้ยังมี ผฉูส บอบั น รายไดจากการแตงสําเภาหลวงไปคาขายยังเมืองตางๆ และนําสินคาจากเมือง ตา งๆ กลบั มาจาํ หนา ยใหแกราษฎรภายในอาณาจักร ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè ò ๑. แบงกลมุ กลมุ ละ ๓-๔ คน ใหแตละกลมุ ชวยกันสืบคนขอมูลเก่ยี วกับการ ประกอบอาชพี ของผคู นในสมยั อยธุ ยา ๑-๒ อาชพี แลว บนั ทกึ ขอ มลู จากนน้ั นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั ขนึ้ อยกู บั ดลุ ยพนิ ิจของผสู อน ๒. เขยี นอธบิ ายรายไดจ ากการเกบ็ คา ธรรมเนย� ม (จงั กอบ อากร สว ย ฤชา) จาก ราษฎรในสมยั อยธุ ยามาพอเขา ใจ โดยจดั ทาํ ลงในสมดุ แลว นาํ เสนอผลงาน หนา ชน้ั ขึ้นอยูก ับดลุ ยพนิ จิ ของผูส อน ๖๗ประวัติศาสตร ๕

๕ ¾Ñ²¹Ò¡ÒôŒÒ¹Êѧ¤ÁÊÁÂÑ ÍÂظÂÒ สภาพสังคมในสมัยอยุธยา เปนแบบระบบศักดินา ซ่ึงจะเปนตัวแบง สิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบของคนในสังคม ผูที่มีศักดินาสูงก็จะมีสิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบสูง ผูท่ีมีศักดินาต่ําก็จะมีสิทธิ หนาท่ี และมี ความรับผิดชอบนอยลดหลั่นกันตามศักดินาท่ีไดรับ พระมหากษัตริยทรงเปน ผพู ระราชทานศกั ดนิ าใหแ กเ จา นาย ขนุ นาง และราษฎร เปนวิธีการลําดับศักด์ิของบุคคลต้ังแตขุนนาง ขา ราชการ ลงไปจนถงึ ไพรแ ละทาส สมเดจ็ พระบรม- สังคมในสมยั อยุธยา ไตรโลกนาถ ทรงตราพระราชกาํ หนดศกั ดนิ าขน้ึ โดย กําหนดใหบุคคลทุกประเภทในสังคมไทยมีศักดินา ดว ยกนั ทง้ั สน้ิ ยกเวน องคพ ระมหากษตั รยิ ซ ง่ึ มไิ ดร ะบุ ศกั ดนิ าไว เพราะทรงเปน เจา ของศกั ดนิ าทง้ั ปวง กลุมคนในสังคม สถาบันศาสนา ผฉูสบอับน ชนชน้ั ผูป กครอง ชนชนั้ ผถู ูกปกครอง พระสงฆ พระมหากษัตริย เปนประมุขของ ไพร เปนราษฎรท�วั ไป เปน กลุมที่ เปนชนช้ันท่มี ีสถานภาพ อาณาจักร มีจาํ นวนมากทส่ี ดุ ในสังคม ใกลเ คยี งชนชน้ั มูลนาย เจา นาย เปนพระราชวงศท่สี ืบเช้ือสาย ทาส เปนคนท่ขี าดสิทธิในแรงงาน ไดรับการยกเวน การเกณฑ จากพระมหากษัตรยิ  และชีวิตของตนเอง เปนชนช้ันที่ แรงงาน ตาํ ที่สุดของสังคมในสมยั อยธุ ยา ขนุ นาง เปน ราษฎรท่ถี วายตวั ไดร บั การยกยองใหเ ปน ผูน าํ เขารบั ราชการ และท่ีพง�ึ ทางใจ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ÙŒ Õè ó แบง กลมุ ใหแ ตล ะกลมุ สบื คน เกย่ี วกบั ไพรแ ละทาสในสมยั อยธุ ยา และบนั ทกึ ลงในสมดุ จากนน้ั สง ตวั แทนออกมารายงาน ขน้ึ อยูก บั ดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน ๖๘ ประวัตศิ าสตร ๕

๑¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹ปÒร¡ะÒจÃํา¤บท´Ô ท่ี ๑ อสแบงยตุธงัวกยแลาทมุ โนดใอหยอสแกบืตมลคาะนรกขาลยอุมงมจาูลนขัดจึ้นหทานํากอราแยาชหยูกั้นลงบั งาแกนดลาเุละกรรเ่ียยรววพยีบกนรินบัวรพมจิตู รฒัาขางอนยๆงางผกาเพนาสู รสมิ� อดงเนาตคนิมรตู าจงาๆกนขนั้อใงหสมัย มฐ./ตวั ช้วี ัด ส4.3 (1) ๒. ตอบคําถามตอ ไปน�้ มฐ./ตัวชว้ี ดั ส4.3 (2) ๑) ปจจัยสําคัญท่ีสงเสริมความเจริญรุงเรืองทางดานเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และศลิ ปวัฒนธรรมตางๆ สมยั อยุธยา มปี จ จยั ใดบา ง ๑. มีผนู าํ ที่มีความสามารถ ๒. มที าํ เลที่ต้ังท่ีเหมาะสม......................................................................................................................................................................................................................................... ๓. มพี ืน้ ฐานทางวฒั นธรรม......................................................................................................................................................................................................................................... ๔. มกี ารจดั ระเบียบการปกครองที่มีประสิทธิภาพ......................................................................................................................................................................................................................................... ๒) ปจจัยสําคัญที่สงเสริมใหกรุงศรีอยุธยาเปนอาณาจักรที่มีความมั�นคงเปน ปก แผน คอื ปจจยั ใด (ยกตัวอยางประกอบ) ผฉสู บอบั น มีการจัดระเบียบการปกครอง ซ่ึงเปนการวางรากฐานอํานาจทางการเมืองการ......................................................................................................................................................................................................................................... ปกครองท่ีมีประสิทธิภาพ โดยแบงการปกครองเปนสวนๆ และแตงตั้งบุคคลตางๆ......................................................................................................................................................................................................................................... ๓) ปจ จยั สาํ คญั ใดทส่ี ง เสรมิ ใหก รงุ ศรอี ยธุ ยามคี วามเจรญิ รงุ เรอื งทางเศรษฐกจิเ(..ป.ร...น.า...ช.ผ..ธ..ูด..า...ูแน...ล..)ี......เเ..ปพ....น.่ือ....ใ...ห๔....ป....สก....ว.ค...น.ร....อ...เ.ง.ป...ไ.น..ด...ต.ง....นา...ย....แ...ล.....ะ...เ..ห....ม....า...ะ...ส.....ม.......เ..ช....น........ก.....า...ร....แ...บ.....ง...ก.....า...ร....ป....ก.....ค....ร....อ....ง....ส....ว....น.....ก....ล.....า...ง... การมที าํ เลทตี่ งั้ ทเี่ หมาะสม เพราะกรงุ ศรอี ยธุ ยามแี มน าํ้ ลอ มรอบ ทาํ ใหต ดิ ตอ กบั......................................................................................................................................................................................................................................... ห....วั....เ.ม....อื....ง....ใ...ก....ล.....เ..ค....ีย....ง....ไ...ด....ส.....ะ...ด....ว...ก..........จ....ึง....ม....ีส....ิน.....ค.....า...จ....า...ก.....ห....ัว....เ.ม....ือ....ง.........ซ....ึ่ง....เ..ป....น.....ส.....ิน.....ค.....า...ท....ี่ต.....า...ง....ช...า...ต.....ิต....อ....ง....ก.....า...ร... แ....ล....ะ...จ....า...ก....ท.....ํา...เ..ล....ท.....ี่ต....้งั....ท....ใี่...ก.....ล....ก.....บั ....ป.....า...ก....อ....า...ว....ไ..ท.....ย.......ท....ํา...ใ...ห.....ต....า...ง....ช...า....ต....ิเ..ข...า...ม....า...ต.....ิด....ต.....อ...ค.....า...ข...า...ย....ไ...ด.....ส ....ะ...ด.....ว...ก............ ๔) การมพี น้ื ฐานวฒั นธรรมมาแตโ บราณเปน ปจ จยั สง เสรมิ ความเจรญิ รงุ เรอื ง ของกรงุ ศรีอยธุ ยาอยางไร ทาํ ใหก รงุ ศรอี ยธุ ยามกี ารพฒั นามาอยา งตอ เนอื่ ง ไมข าดชว ง การมพี น้ื ฐานวฒั นธรรม......................................................................................................................................................................................................................................... มาแตโ บราณจึงเปนปจจัยหนึ่งท่สี งเสรมิ ความรุงเรืองของกรงุ ศรีอยธุ ยา......................................................................................................................................................................................................................................... ๖๙ประวตั ิศาสตร ๕

๑Ẻ·´Êͺ·èÕ กา ✗ คําตอบทีถ่ ูกตองท่ีสดุ ๑. ขอใดท่เี ปนอทิ ธพิ ลของพระพุทธศาสนา ๕. เศรษฐกจิ หลักที่สาํ คัญของอาณาจักร อยุธยาข้นึ อยกู บั อาชพี ใด ในสมยั อยุธยา ก. อุตสาหกรรม ✗ข. เกษตรกรรม ✗ก. กษตั รยิ ท รงมีทศพิธราชธรรม ค. หัตถกรรม ง. พาณชิ ยกรรม ข. กษัตริยทรงมีฐานะเปนเจา ชีวิต ๖. ขอ ใดไมใ ชสนิ คา ตอ งหามในสมยั อยุธยา ค. กษัตริยป ระทับอยูในพระราชวงั ที่ ก. กฤษณา ✗ข. เสอ้ื ผา ถือเปน เขตศกั ด์สิ ิทธิ์ ค. งาชา ง ง. ไมส กั ๗. ชาวตะวันตกชาตแิ รกทีเ่ ขามาตดิ ตอ ง. กษตั ริยทรงมีอํานาจสงู สุดในการ คาขายกบั อยธุ ยา คือชาติใด ปกครองอาณาจักร ก. องั กฤษ ข. ฝรัง� เศส ๒. ขอ ใดเปนรูปแบบการปกครองสว น ✗ค. โปรตเุ กส ง. ฮอลนั ดา ภูมภิ าคในสมยั อยธุ ยาตอนกลาง ๘. ในสมยั อยุธยาตอนตน เมอื งลพบรุ ี ก. เวยี ง วงั คลัง นา มีฐานะเปนเมืองประเภทใด ก. หัวเมอื งชนั้ ใน ผฉูสบอับน ข. เมอื งหนาดา น หัวเมอื งช้ันใน ✗ข. เมืองหนาดา น หัวเมอื งชัน้ นอก ค. หัวเมอื งชั้นนอก ✗ค. หวั เมอื งชน้ั ใน หัวเมืองชั้นนอก ง. เมืองประเทศราช เมอื งประเทศราช ๙. การติดตอคา ขายกับตา งประเทศใน สมยั อยธุ ยาขน้ึ อยูกับหนว ยงานใด ง. เมืองลกู หลวง หัวเมืองชัน้ ใน เมอื ง ก. กรมเวยี ง ✗ข. พระคลังสินคา พระยามหานครเมอื งประเทศราช ๓. เมอื งในขอ ใดทีเ่ ปรียบเสมือนปอม- ค. สมหุ นายก ง. ธรรมาธกิ รณ ๑๐. สภาพสังคมในสมัยอยุธยามีลักษณะเปน ปราการในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาตอนตน แบบใด ก. หวั เมอื งชั้นใน ก. มฐี านะเปนตัวกําหนด ✗ข. เมืองลกู หลวง ✗ข. มรี ะบบศกั ดินาเปน ตวั กําหนด ค. หวั เมืองชัน้ นอก ค. มรี ะบบวรรณะเปน ตัวกําหนด ง. เมอื งพระยามหานคร ง. มพี ระพุทธศาสนาเปนตวั กําหนด ๔. ขอ ใดเปน รายไดข องกรงุ ศรีอยุธยาที่ เรียกเก็บเปนคา ผานดา นของสนิ คา ✗ก. จังกอบ ข. อากร ค. สวย ง. ฤชา ๗๐ ประวตั ิศาสตร ๕

๒บทท่ี ÍҳҨѡø¹ºÃØ Õ ขอบขายสาระการเรยี นรูแ กนกลางรายวิชา ประวตั ิศาสตร ชั้น ป.๕ ตัวช้วี ดั ช้ันป สาระพ้ืนฐาน ความรฝู ง แนนตดิ ตวั ผเู รียน มฐ. ส ๔.๓ (๑) ๑. ความเปนมาของกรงุ ธนบุรี หลังจากกรุงศรีอยุธยาแตกใน ๒. การกอบกเู อกราช พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจาตากสิน อธบิ ายพฒั นาการของอาณาจกั ร ๓. การสถาปนากรงุ ธนบุรเี ปนราชธาน� มหาราช ไดรวบรวมผูคนขับไล อยธุ ยาและธนบรุ ี โดยสงั เขป ๔. การฟน ฟชู าติ กองทัพพมาออกไป และสถาปนา ๕. เหตกุ ารณตอนปลายสมัยกรงุ ธนบุรี กรุงธนบรุ ีข้นึ เปนราชธาน�ใหม ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Òí ÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอบั น ã¹Í´µÕ¨Òº¡ÃÀÔàÇÒ³¾¹¹Õàé ¤Ñ¡ÂàÃà»Õ¹š¹··ÃµÕè Òé§Ñ º¢Í˧ÃÃÍ× ÒäªÁ¸‹ Ò¹ãÕ ´ ๗๑ประวัตศิ าสตร ๕

๑ ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ¡Ãا¸¹ºØÃÕ กรุงธนบุรีซึ่งแตเดิมชาวบานและชาวตางชาติเรียกวา “บางกอก” สวนในพระราชพงศาวดาร (พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๑) เรียกวา “เมืองธนบุรี ศรีมหาสมุทร” คือ ฝงพระนครและฝงธนบุรีในปจจุบัน เปนท่ีราบสามเหลี่ยม ปากแมน ้ําเจา พระยาที่อุดมสมบรู ณ มีลาํ คลองตา งๆ กระจายอยูท ั่วบรเิ วณ แมนํ้าเจาพระยาไหลคดเคี้ยวมาตั้งแตนนทบุรี ลงมายังพระนคร ในสมัยพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๗ - ๒๐๘๙) จึงไดโปรดใหขุดคลองลัด เพ่ือใหเช่ือมแมนํ้าเจาพระยาท่ีไหลออมไปทางคลองบางกอกนอย ออกทาง คลองบางกอกใหญ เมืองธนบุรีจึงเกิดขึ้นทางฝงตะวันตก หัวมุมคลอง บางกอกใหญกลายเปนเมืองที่มีความสําคัญทางยุทธศาสตร และเปนเมืองหนา ดา นทางทะเล ผฉสู บอับน เมืองธนบุรีมีการติดตอคาขายกับตางประเทศเจริญรุงเรืองท่ีสุดใน สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) และไดโปรดใหสราง ปอมท้ังสองฝงของแมน้ําเพื่อปองกันขาศึกที่มาทางทะเล พระราชทานนามวา “ปอมวิไชยเยนทร” แลวใหทหารโปรตุเกส และฝรั่งเศสมาประจํา อยูที่ปอมน้ี และเม่ือ สมเด็จพระเจาตากสิน กอบกเู อกราชไดส าํ เรจ็ จึงโปรดฯ ใหบูรณะ เมอื งธนบรุ เี ปน ราชธานี  สภาพเขตธนบุรีในปจจุบนั ที่พฒั นามาเปน ชมุ ชนขนาดใหญ เปนสวนหนึ�งของกรงุ เทพมหานคร ๗๒ ประวตั ิศาสตร ๕

๒ ¡Òáͺ¡ŒàÙ Í¡ÃÒª กอนการเสียกรุงศรีอยุธยาแกพมา ครั้งที่ ๒ พระยาตากไดครองเมือง ตากอยูในสมัยของพระเจาเอกทัศ ป พ.ศ. ๒๓๐๘ ไดถูกเรียกตัวใหเขามา ปองกันกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งใกลจะเสียกรุง พระยาตากจึงพาทหารคูใจ ประมาณ ๕๐๐ คน ตีฝาวงลอมพมา ออกมาได ทรงนาํ กาํ ลังไพรพ ลไปตั้งมั่นที่ เมอื งจันทบุรี เมอื่ พระยาตากไดรวบรวมกาํ ลงั คนไดราว ๕,๐๐๐ คน และตอเรอื รบไว ประมาณ ๑๐๐ ลํา จึงยกทัพเขาตีกองทัพพมาท่ีคายโพธ์ิสามตน ผลการตอสู สุก้ีนายกองท่ีคุมกองทัพอยูตายในท่ีรบ ทหารพมาที่เหลือก็แตกพาย และ สามารถตีคายพมาแตกทุกคายในวันศุกรท่ี ๖ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๓๑๐ ซึ่งถือวา วันน้ีเปนวันท่ีพระเจาตากกเู อกราชของไทยไดส าํ เรจ็ หลงั จากเสยี กรงุ ใหแ กพ มา เมอื่ วนั ที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ รวมเวลาที่กอบกอู ิสรภาพคืนจาก พมาเปนเวลาเพยี ง ๗ เดอื น ผฉสู บอับน  ภาพเหตกุ ารณ สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงยกกองทัพเรือ มาตคี า ยโพธ์ิสามตน ๗๓ประวัติศาสตร ๕

๓ ¡ÒÃʶһ¹Ò¡Ã§Ø ¸¹ºÃØ àÕ »¹š ÃÒª¸Ò¹Õ เม่ือพระยาตากกูเอกราชไดสําเร็จไดโปรดใหขุดพระบรมศพพระเจาเอก ทศั ขึ้นมาถวายพระเพลิงอยางสมพระเกียรติ ราษฎรตางยอมรับพระเจาตาก เปนพระเจาแผนดิน พระองคทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปนพระมหากษัตริยครอง กรุงธนบุรี เม่ือวันท่ี ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๓๑๐ ทรงพระนามวา สมเดจ็ พระบรม ราชาธิราชที่ ๔ (พระเจา กรุงธนบรุ ี) หลังจากกอบกูเอกราชไดแลว สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงมี พระราชดาํ รวิ า กรงุ ศรอี ยุธยามีสภาพทรุดโทรมมาก ไมส ามารถซอ มแซมฟน ฟู ใหกลับคนื สภาพเดมิ ได ปราสาทราชมณเฑยี ร วดั วาอารามพงั ยอยยบั จงึ ทรง ตัดสินพระทัยสรางราชธานีใหมขึ้นที่เมืองธนบุรี ซ่ึงมีขอบเขตของราชธานี ครอบคลุมสองฝง นา้ํ โดยมแี มน้าํ เจา พระยาตัดผา นกลางเมอื ง ผฉูสบอบั น สาเหตุที่ยายเมืองหลวงจากกรุงศรอี ยุธยามาอยทู ่กี รุงธนบรุ ี (๑) กรุงศรีอยุธยาชํารุดเสียหายมาก ไมสามารถบูรณปฏิสังขรณใหมี สภาพเหมือนเดิมได (๒) กําลังพลของพระองคมีนอย ไมสามารถรักษากรุงศรีอยุธยาที่เปน เมืองใหญได (๓) ขาศกึ รูท ิศทางทจ่ี ะมาตกี รงุ ศรีอยธุ ยาดีแลว (๔) เมอื งธนบรุ เี ปน เมอื งเลก็ ดแู ลปอ งกนั งา ยกวา และอยใู นจดุ ยทุ ธศาสตร ทดี่ ี เพราะอยูริมแมนา้ํ เจาพระยา และอยูไมไกลจากอาวไทย หากขาศกึ มกี าํ ลงั มากกวาหรอื สไู มไ ดก ็สามารถหนอี อกทางทะเลได ¨Ðà˹ç ÇÒ‹ ¡ÒÃàÅ×Í¡µ§éÑ àÁÍ× §·Õ¡è Ãا¸¹ºÃØ Õ ¤Òí ¹§Ö ¶Ö§»˜¨¨ÂÑ ·Ò§´ŒÒ¹¤ÇÒÁÁè¹Ñ ¤§à»¹š ËÅ¡Ñ ๗๔ ประวตั ศิ าสตร ๕

๔ ¡Òÿœ¹„ ¿ªÙ ÒµÔ เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแกพมา ผูคนจํานวนมากถูกกวาดตอนไปพมา เกิดความวุนวายโดยท่ัวไป ผูคนหลบหนีไปอยูตามปาเพ่ือหลบหนีกองทหาร พมา บา งกร็ วมตัวกนั เปน กก เปน ชมุ ชนตามหัวเมืองตา งๆ หลังจากที่สมเด็จ- พระเจาตากสินปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย พระองคมีพระราชกรณียกิจใน การฟน ฟูชาติ ดงั นี้ ๑. การปราบชุมนุมตา งๆ หลังจากที่สมเด็จพระเจาตากสินตี คา ยพมาโพธิ์สามตนไดแลว ก็ทรงปราบชมุ นุม ตางๆ ซ่ึงเปนกลุมคนไทยที่ต้ังตัวเปนใหญ โดยการรวมตัวกันเปนกกหรือชุมนุมตางๆ นอกเหนอื จากชมุ นมุ ของสมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชแลวยังมีชุมนุมเจาพิมาย ชุมนุม ผฉสู บอับน เจาพิษณุโลก ชุมนุมเจาพระฝาง ชุมนุม เจานครศรีธรรมราช ซ่ึงสมเด็จพระเจาตากสิน ทรงใชเ วลานานถงึ ๓ ป จงึ สามารถปราบชุมนุม  แผนทแี่ สดงที่ตงั้ ของชุมนมุ ตางๆ ตางๆ ได หลังการเสียกรงุ ครั้งท่ี ๒ ๒. ดา นการปกครอง รูปแบบการปกครองสมัยกรุงธนบุรี ดําเนินตามแบบแผนของสมัย กรุงศรีอยุธยา คือ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีพระมหากษัตริยเปน ประมขุ มอี าํ นาจเดด็ ขาดในการบรหิ ารบานเมอื ง ÊÁà´¨ç ¾ÃÐà¨ŒÒµÒ¡Ê¹Ô ÁËÒÃÒª·Ã§à»š¹¡ÉµÑ ÃÂÔ · ÕèÁÕ ¤ÇÒÁ໚¹Í‹ÙÍÂÒ‹ §ÊÁ¶Ð áÅзçÃѺÀÒÃÐ˹¡Ñ 㹡Òÿ¹„œ ¿ªÙ ÒµÔ ๗๕ประวตั ศิ าสตร ๕

๓. ดา นเศรษฐกจิ ชวงเวลากอนที่สมเด็จพระเจาตากสินจะทรงขึ้นครองราชยนั้น บานเมืองไมคอยสงบ สภาพเศรษฐกิจตกต่ําอยางมาก ผูคนอดอยากหิวโหย เกิดโจรผูรายชุกชุม เกิดโรคระบาด และยังเกิดภัยธรรมชาติอีกดวย ผูคน ลม ตายไปเปน จาํ นวนมาก สภาพหัวเมืองตางๆ จงึ คลา ยกับเปน เมอื งรา ง สมเด็จพระเจาตากสินทรงแกไขปญหาดวยการสละพระราชทรัพย สวนพระองคซ้ือขาวสารในราคาแพงจากพอคาตางเมือง เพ่ือนํามาแจกจายแก ราษฎร พอ คา เหลา นนั้ จงึ พากนั มาแยง กนั ขาย ทาํ ใหส นิ คา ลน ตลาด ราคาถกู ลง บรรดาราษฎรทแี่ อบซอ นอยตู ามทตี่ า งๆ กพ็ ากนั มารบั ความเมตตาจาก พระองคจ งึ พากันกลับสภู ูมลิ าํ เนาเดมิ และพากันมาขุดทรัพยสมบตั ติ างๆ ทฝี่ ง ซอ นเอาไวตั้งแตส มัยอยุธยา อนง่ึ กรงุ ธนบรุ ยี งั มรี ายไดจ ากการคา ขายกบั ตางประเทศ นอกจากนี้ ผฉูสบอับนสมเดจ็ พระเจา ตากสนิ กย็ งั ทรงสนบั สนนุ ใหม กี ารทาํ นาปล ะ ๒ ครง้ั เพอ่ื แกป ญ หา ขาดแคลนขาว ทาํ ใหป ลายสมัยธนบุรเี ศรษฐกจิ ฟน ตัว  สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราชทรงแกปญ หาการขาดแคลนอาหารดวยการส�งั ซอื้ ขา วมาแจกจายแกราษฎร ๗๖ ประวัติศาสตร ๕

๔. ดา นการศกึ ษา สมเด็จพระเจาตากสินทรงทํานุบํารุง สงเสริมการศึกษา โดยมี ศูนยกลางการศึกษาอยูท่ีวัด โดยเฉพาะผูชายสามารถมาเรียนที่วัดไดตามปกติ สว นผหู ญงิ นนั้ ศกึ ษาตามแบบแผนของกลุ สตรไี ทยโบราณ เชน การฝก อบรมงาน บานงานเรือน การทาํ อาหาร การเยบ็ ปก ถักรอย เปนตน ÊÁà´ç¨¾ÃÐà¨ŒÒµÒ¡Ê¹Ô ÁËÒÃÒª·Ã§ÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒö·Ò§¡ÇÕ´ÇŒ  ·Ã§¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹¸º·ÅФÃàÃÍè× §ÃÒÁà¡ÂÕ ÃµÔì¶Ö§ ô µÍ¹ ๕. ดานการศาสนา สมเด็จพระเจาตากสินทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเปนอยางมาก นอกจากไดทรงทํานุบํารุงบานเมืองใหเจริญรุงเรืองแลว ยังทรงร้ือฟนกิจการ พระพุทธศาสนาทเี่ ส่ือมโทรมใหดีขน้ึ สรุปไดดงั น้ี คอื (๑) จัดระเบียบสังฆมณฑล ในป พ.ศ. ๒๓๑๑ โดยเลือก พระผูใหญขึ้นเปนสมเด็จพระสังฆราชและจัดต้ังคณะสงฆใหไปปกครองตาม ผฉูสบอบั น เขตตางๆ (๒) รวบรวมพระไตรปฎกจากที่ตา งๆ (๓) บูรณปฏิสังขรณวัด เชน วัดบางย่ีเรือเหนือ (วัดราชคฤห) วัดบางหวาใหญ (วัดระฆังโฆสติ าราม) วัดแจง (วัดอรุณราชวราราม) และวัด บางย่ีเรอื ใต (วดั อนิ ทาราม) ซง่ึ สมเดจ็ - พระเจาตากสินไดยกเปนอารามหลวง ช้ันเอกพิเศษ ใหเปนวัดฝายวิปสสนา และไดทรงทําวิปสสนาท่ีวัดบางยี่เรือ  วัดอนิ ทารามเปนวดั ทส่ี มเด็จพระเจาตากสินมหาราช ใตน ้ี การฝก อบรมปญ ญาใหเ กดิ ความเหน็ แจง ในสงั ขารทง้ั หลาย โปรดใหยกฐานะข้ึนเปนพระอารามหลวงช้ันพิเศษ ฝายสมถะวปิ สสนา วา เปน ของไมเ ทย่ี ง เปน ทกุ ข เปน อนตั ตา ๗๗ประวตั ศิ าสตร ๕

๕ à˵¡Ø ÒóµÍ¹»ÅÒÂÊÁÂÑ ¡Ã§Ø ¸¹ºØÃÕ ในพระราชพงศาวดารฉบบั ตา งๆ ไดบ นั ทกึ ไวว า พระองคท รงตรากตราํ ในภารกิจของบานเมืองมากเกินไป พระองคจึงมีสติฟนเฟอนในบางคร้ังเม่ือ เกดิ กบฏทก่ี รงุ เกา (อยธุ ยา) ทรงสง พระยาสรรคไปสอบสวน กก็ ลบั ไปเขา กบั กบฏ และคุมกําลังมาตีกรุงธนบุรี พระยาสุริยอภัยไดใหสึกสมเด็จพระเจาตากสิน เปนฆราวาสแลวขังไว ในพงศาวดารกลาววา สมเด็จเจาพระยามหากษัตริย ศึกใหสําเร็จโทษสมเด็จพระเจาตากสินตามคําของขุนนางบางสวนท่ีกลาวโทษ วาพระองคทรงละสุจริตธรรมและมีพระสติฟนเฟอน ทรงถูกประหารชีวิตและ สวรรคตใน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระชนมพรรษาได ๔๘ พรรษา ซ่ึงเปนวันส้ินสุดสมัย กรงุ ธนบรุ ี ซงึ่ เปน ราชธานีอยเู พียง ๑๕ ป ผฉสู บอบั น  พระบรมรูปหลอ จาํ ลององคส มเด็จพระเจาตากสนิ มหาราช  พระบรมสาทสิ ลกั ษณของ ขณะท่ีทรงปฏบิ ัติธรรมที่วดั บางยเ่ี รอื ใต (วัดอินทารามวรวหิ าร) สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช สงิ่ ทจ่ี ารกึ อยใู นจติ ใจของคนไทยในปจ จบุ นั กค็ อื ความอดทนบากบนั่ พระ ปรชี าสามารถ เสียสละ เขมแขง็ และความเด็ดเดีย่ วของพระองค ทําใหส มเด็จ พระเจาตากสินสามารถแกไขปญหาตา งๆ ได ทาํ ใหชาวไทยผา นพน วกิ ฤตการณ ความลาํ บากยากแคน ดาํ รงความเปน เอกราชมาไดจ นถงึ ปจ จบุ นั น้ี ๗๘ ประวตั ิศาสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. รว มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั หวั ขอ ทก่ี าํ หนดให แลว สรปุ ผลการ อภปิ ราย และบนั ทกึ ขอ มลู (ตัวอยาง) ๑) ความเปน มาของกรงุ ธนบรุ ี ………………ก…ร…งุ …ธ…น……บ…รุ …เี …ป…น …เ…ม…อื …ง…ท……ม่ี …ขี …น…า…ด…ไ…ม…ใ…ห…ญ……ม …า…ก………แ…ต…เ ด……มิ …เร……ยี …ก. วา “เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร” (จากในพระราชพงศาวดาร) เปนท่รี าบสามเหล่ยี ม......................................................................................................................................................................................................................................... ปากแมน าํ เจา พระยา มลี าํ คลองกระจายอยทู ว่ั บรเิ วณ อยทู างฝง ตะวนั ตกของพระนคร......................................................................................................................................................................................................................................... (ในสมัยพระไชยราชาธิราช) เปนเมืองท่มี ีความสําคัญทางยุทธศาสตร และเปนเมือง......................................................................................................................................................................................................................................... หนา ดา นทางทะเล จงึ เปน เมอื งทม่ี คี วามสาํ คญั มากตง้ั แตอ ดตี......................................................................................................................................................................................................................................... ๒) การกอบกเู อกราช………ก……อ …น…ก……า…ร…เส……ยี …ก…ร…งุ……ศ…ร…อี …ย…ธุ…ย……า……ค…ร…ง้ั……ท…่ี …๒………ใ…น…ส……ม…ยั …ข…อ…ง…พ……ร…ะ…เจ……า เ…อ…ก……ท…ศั .. พระยาตากพาทหารประมาณ ๕๐๐ คน ตีฝาวงลอมทัพพมาท่ีลอมกรุงศรีอยุธยา......................................................................................................................................................................................................................................... ออกมาได จากนน้ั จงึ รวบรวมกาํ ลงั คนไดร าว ๕,๐๐๐ คน และตอ เรอื รบไวป ระมาณ ๑๐๐ ลาํ......................................................................................................................................................................................................................................... ฉบับ แลวจึงยกทัพกลับเขาตีกองทัพพมา และสามารถตีคายพมาแตกทุกคาย ในวันศุกรที่ผสู อน......................................................................................................................................................................................................................................... ๓) การสถาปนากรงุ ธนบรุ เี ปน ราชธาน�.ก๖....ล....พา....หฤ....าศ...ญ..จ....มิก...า.า...กย....น..........พ.......ศ............๒....๓....๑....๐........ซ....ง่ึ....น.....บั....ว..…..า..….พ..…..เร.…..ม.ะ.….่ื.ออ.…...ง.…พ...ค…...ร….เ..ป.…ะ...….นย..…...พา.…...ต…ร....…ะ.า..…ม..ก.….ห...….ก.า.…..กู.เ.…..อษ.…...….กตั...….ร.ร.…..ยิ.….า..ท.….ช..…ม่ี..ส..…ีค...ํ….า.ว.…..เา..….รม..….็.เจ..…ด...…ก.ด็..…..็ .ทเ.….ด..….ร.ีย่..…..งว.... ปราบดาภิเษกข้ึนเปนพระมหากษัตริย และทรงดําริวากรุงศรีอยุธยามีสภาพ......................................................................................................................................................................................................................................... ทรดุ โทรมมากจนยากจะซอ มแซม จงึ ตดั สนิ พระทยั สรา งราชธานใี หมท เ่ี มอื งธนบรุ ี และ......................................................................................................................................................................................................................................... .ท....ร....ง...ส.....ถ....า...ป....น.....า...ก.....ร...งุ....ธ...น.....บ.....รุ...เี..ป....น.....ร....า...ช...ธ....า...น.....ใี..ห.....ม.... ....ซ...ง่.ึ ...เ..ป....น.....เ..ร...อ่ื....ง....ท....เ่ี..ห....ม....า...ะ...ส....ม........เ..พ.....ร...า...ะ...ก....ร....งุ....ธ...น.....บ.....รุ ...อี....ย....ใู..น.... จดุ ยทุ ธศาสตรท ด่ี ี......................................................................................................................................................................................................................................... ๒. แบง กลมุ กลมุ ละ ๓-๔ คน ใหแ ตล ะกลมุ ชว ยกนั สบื คน ขอ มลู และสรปุ ขอ มลู ใน ประเดน็ ทก่ี าํ หนด แลว บนั ทกึ ผลลงในสมดุ จากนน้ั นาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั หลงั การสถาปนากรงุ ธนบรุ เี ปน ราชธานแ� ลว พระเจา ตากสนิ ไดฟ น ฟชู าติ ในดา นตา งๆ อยา งไรบา ง ขึ้นอยูก ับดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน ๗๙ประวัตศิ าสตร ๕

๒¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹ปÒร¡ะÒจÃาํ ¤บท´Ô ที่ แบงกลุม กลุมละ ๕-๖ คน ใหแตละกลุมชวยกันศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการของกรุงธนบุรี และสรุปขอมูล จากนั้นสงตัวแทนนําเสนอผลงาน มสฐ4./.ต3วั ช(1ี้ว)ดั หนาชั้น (ตัวอยาง) ผฉูสบอับน พัฒนาการของกรุงธนบรุ ี……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑. ความเปน มาของกรงุ ธนบรุ ี……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………ก…ร…ุง…ธ…น……บ…ุร……ี …ห…ร……อื ……“…เ…ม…ือ…ง…ธ……น…บ……รุ …ีศ…ร…มี……ห…า…ส…ม……ทุ …ร…”……ต……้งั …อ…ย…ูฝ……ง …ต…ะ…ว…ัน……ต…ก…ข…อ……ง…แ…ม…น……้าํ เจาพระยา เปนทีร่ าบสามเหลย่ี มปากแมน้ําและเปน เมอื งหนา ดานทางทะเล............................................................................................................................................................................................................................................. ๒. การกอบกูเ อกราช............................................................................................................................................................................................................................................. กอนเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ พระยาตากพาพวกทหาร ๕๐๐ คน ตี............................................................................................................................................................................................................................................. ฝาวงลอมพมาออกมารวบรวมกําลังพลท่ีจันทบุรี แลวเขาโจมตีพมาท่ีคาย............................................................................................................................................................................................................................................. โพธ์ิสามตน ภายในระยะเวลา ๗ เดอื น พระยาตากกอบกเู อกราชไดสาํ เรจ็............................................................................................................................................................................................................................................. ๓. การสถาปนากรงุ ธนบรุ เี ปน ราชธานี............................................................................................................................................................................................................................................. พระเจาตากสินปราบดาภิเษกขึ้นเปนกษัตริย และทรงยายราชธานีมายัง............................................................................................................................................................................................................................................. เมอื งธนบรุ ี เน่อื งจากกรุงศรีอยธุ ยาทรดุ โทรมมาก ไมส ามารถบูรณะ............................................................................................................................................................................................................................................. ปฏิสงั ขรณไ ด............................................................................................................................................................................................................................................. ๔. การฟนฟชู าติ............................................................................................................................................................................................................................................. หลังเสียกรุงศรีอยุธยา พระเจาตากสินทรงปราบปรามกลุมคนไทยท่ีต้ัง............................................................................................................................................................................................................................................. ตัวเปนใหญและแกไขปญหาสภาพสังคมและภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ทรงสละ............................................................................................................................................................................................................................................. ทรัพยสวนพระองคซ้ือขาวจากตางชาติมาแจกจายราษฎร ฟนฟูการศึกษาและ............................................................................................................................................................................................................................................. ทาํ นุบาํ รงุ ศาสนา เพ่ือใหบานเมอื งกลบั คืนสคู วามสงบสขุ............................................................................................................................................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘๐ ประวัตศิ าสตร ๕

๒Ẻ·´Êͺ·Õè กา ✗ คาํ ตอบทถี่ กู ตองทีส่ ุด ๑. พระมหากษัตริยพระองคใดเปนผูกอบกู ๖. ชุมนมุ ใด ที่ตงั้ ตนเปนใหญอยูใน เอกราชครงั้ ที่ ๒ กรุงศรีอยุธยา นครราชสีมา ก. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ✗ก. ชมุ นุมเจาพิมาย ข. สมเดจ็ พระนารายณม หาราช ข. ชมุ นมุ เจา พระฝาง ค. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ค. ชุมนมุ เจาพิษณุโลก ง. ชุมนมุ เจา นครศรธี รรมราช ✗ง. สมเดจ็ พระเจาตากสินมหาราช ๗. พระยาตากปราบดาภิเษกข้ึนเปน พระมหากษัตรยิ ทรงพระนามวาอะไร ๒. หลังจากที่กรุงศรอี ยธุ ยาแตก พระยาตาก ✗ก. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๔ นาํ ไพรพ ลไปต้งั ม�ันอยทู เี่ มืองใด ข. สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช ค. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ก. เมืองเพชรบุรี ✗ข. เมอื งจนั ทบุรี ง. สมเด็จพระชัยราชาธิราช ๘. นับแตกรุงสโุ ขทยั มา ราชธาน�แหง ที่ ๓ ค. เมอื งระยอง ง. เมืองชลบุรี ของไทยคืออาณาจักรใด ๓. ปจ จัยใดเปน ปจ จัยทีท่ ําใหเ ลอื ก ✗ก. อาณาจกั รธนบุรี ผฉสู บอับน กรุงธนบรุ เี ปน ราชธาน�ใหม ข. อาณาจักรอยุธยา ค. อาณาจกั รสโุ ขทยั ✗ก. ความมั�นคง ข. เศรษฐกจิ ง. อาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร ๙. เพราะเหตใุ ดสมเดจ็ พระเจาตากสนิ ทรง ค. ศลิ ปวฒั นธรรม ง. ศาสนา ไมใชกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปนราชธาน�เชนเดิม ๔. ขอ ใดไมใชสาเหตุท่ีสถาปนากรงุ ธนบุรี ก. ตอ งการสรางพระราชวงั ที่ใหม ข. กรุงศรีอยุธยาต้งั อยูในชยั ภมู ทิ ่ีไมด ี เปน ราชธาน� ✗ค. กรงุ ศรีอยุธยาถูกขาศึกทําลาย ก. กรงุ ศรีอยธุ ยาถกู เผาทําลายมาก เสยี หายมาก ง. ตอ งการขยายราชธาน�ใหมให ✗ข. เปน แหลงรวมศลิ ปวฒั นธรรม กวางขวางกวา เดิม ๑๐. กรุงธนบรุ เี ปน ราชธาน�ของไทยอยูกป่ี  ค. กาํ ลังพลท่ีจะรักษากรงุ ศรอี ยุธยา ก. ๑๐ ป ไมเ พียงพอ ✗ข. ๑๕ ป ค. ๒๐ ป ง. อยูใกลปากนาํ ออกทะเลไดง าย ง. ๒๒ ป ๕. ขอใดเปนพระราชกรณ�ยกิจของสมเด็จ พระเจา ตากสนิ ดา นความมน�ั คงของราช อาณาจกั ร ก. สละพระราชทรัพยเ พ่ือชวยเหลือ ราษฎร ข. สงเสริมการศกึ ษาโดยใหวดั เปน ศูนยกลาง ค. ใชร ูปแบบการปกครองเหมอื น สมัยอยุธยา ✗ง. ปราบปรามชุมนุมตางๆ ๘๑ประวัติศาสตร ๕

๓บทท่ี ºØ¤¤ÅÊÒí ¤ÞÑ ã¹ÊÁÂÑ ÍÂ¸Ø ÂÒáÅи¹ºØÃÕ ขอบขายสาระการเรียนรแู กนกลางรายวชิ า ประวตั ศิ าสตร ชนั้ ป.๕ ตัวช้วี ัดชัน้ ป สาระพ้ืนฐาน ความรูฝงแนนตดิ ตวั ผเู รยี น การเรยี นรปู ระวตั แิ ละผลงานของ มฐ. ส ๔.๓ (๓) ๑. ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญ บอกประวัติและผลงานของบคุ คล ในสมยั อยุธยา บุคคลสําคัญในสมัยอยุธยา และ สําคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีทนี่ า - สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๑ ธนบุรีทําใหเราเกิดความรักชาติและ ภาคภมู ิใจ (พระเจาอูท อง) ภาคภูมิใจในบรรพบุรุษของเรา ซึ�ง - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แสดงวีรกรรมในดานการเสียสละ - สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เพื่อชาติบานเมือง และการสราง - สมเด็จพระนารายณมหาราช ความกาวหนาแกชาติบานเมือง - ชาวบา นบางระจัน เปนแบบอยางท่ีดีที่คนรุนหลังควร ๒. ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญ ปฏิบัตติ าม ในสมยั ธนบรุ ี - สมเด็จพระเจาตากสนิ มหาราช ผฉูสบอับน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ¨Ò¡ÀÒ¾ ¹Ñ¡àÃÕ¹·ÃÒºËÃÍ× äÁÇ‹ ‹Ò໹š ͹ØÊÒÇÃՏ ·èÊÕ ÃÒŒ §¢éÖ¹à¾èÍ× ÃÐÅÖ¡¶Ö§ÇÃÕ ¡ÃÃÁ¢Í§·Ò‹ ¹ã´ ๘๒ ประวัตศิ าสตร ๕

๑ »ÃÐÇѵáÔ Åмŧҹ¢Í§ºØ¤¤ÅÊíÒ¤ÑÞã¹ÊÁÂÑ ÍÂظÂÒ บรรพบุรุษไทยในสมัยอยุธยามีมากมายหลายทานท่ีไดสรางคุณงาม ความดีใหแกชาติบานเมือง มีประวัติท่ีนาสนใจ ควรนํามาศึกษาเพื่อนําไปเปน แบบอยางในการดําเนนิ ชวี ติ ประจําวนั ดังตอ ไปน้� สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๘๙๓ - พ.ศ. ๑๙๑๒) (พ.ศ. ๑๙๙๑ - พ.ศ. ๒๐๓๑) ประวัตแิ ละผลงาน ผฉูส บอับน ของบคุ คลสาํ คัญ ในสมยั อยธุ ยา สมเด็จพระนารายณมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙ - พ.ศ. ๒๒๓๑) (พ.ศ. ๒๑๓๓ - พ.ศ. ๒๑๔๘) ชาวบา นบางระจนั (ปลายสมัยกรงุ ศรีอยุธยา) ๘๓ประวตั ศิ าสตร ๕

๑. สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๑ (พระเจาอูทอง) สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ หรือพระเจา- อูทองทรงเปนปฐมกษัตริยแหงอาณาจักรอยุธยา ไม ปรากฏหลักฐานที่แนชัดวา พระองคสืบเช้ือสายมา จากราชวงศใด หรือมีถน�ิ กําเนิดอยู ณ เมอื งใด มีแต ขอสันนิษฐานซ�ึงพยายามจะบอกท่ีมาของพระเจา อทู องแตกตา งกันออกไป พระราชกรณย� กจิ ทีส่ ําคญั พระราชกรณ�ยกิจท่ีสําคัญของสมเด็จ  พระบรมราชานุสาวรียของ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (อูทอง) สวนใหญจะเนนหนักไป สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ ทางดานการเมืองการปกครอง ที่เห็นเดนชัด คือ (พระเจาอูท อง) ผฉสู บอับน ท่ี จ.พระนครศรอี ยุธยา การท่ีพระองคไดสถาปนากรุงศรีอยุธยาเปนราชธาน� ของอาณาจกั รอยธุ ยาในป พ.ศ. ๑๘๙๓ พระองคท รงรบั เอาลัทธิแบบเทวราชา จากเขมรมาดัดแปลงใหสอดคลองกับลักษณะวัฒนธรรมของคนไทยท่เี รียกวา “สมมตเิ ทพ” นอกเหนอ� จากความเปนธรรมราชา เพ่อื ทาํ ใหพ ระมหากษัตรยิ ได กลายเปนสถาบันทางการเมืองที่สําคัญของไทย นับแตนั้นมาสถาบันพระมหา- กษัตริยไดกลายเปนศูนยรวมแหงอํานาจ และเปนหลักยึดเหน�ยวทางดานจิตใจ ของราษฎรตลอดมา นอกจากน้� พระองคยังไดทรงนําเอารูปแบบการปกครองแบบ จตุสดมภจากเขมรมาใชในการบริหารราชการแผนดิน ทําใหการปกครอง อาณาจักรมีระบบและแบบแผนทีร่ ดั กมุ ยง�ิ ขน้ึ ๘๔ ประวัติศาสตร ๕

๒. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เปนพระราชโอรสของสมเด็จพระบรม- ราชาธิราชที่ ๒ (เจาสามพระยา) แหง อยุธยา พระมารดาเปนเจาหญิงแหง ราชวงศสุโขทัย เมื่อพระมหาธรรมราชา ท่ี ๓ แหงสุโขทัย เสด็จสวรรคต เกิด เหตุการณความไมสงบขึ้นภายในสุโขทัย สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถจงึ เสดจ็ ขน้ึ ไป ประทบั อยทู ่ีเมอื งพษิ ณุโลก ซึง� เปนเมือง หลวงของอาณาจักรสุโขทัยในขณะน้ัน  พระบรมราชานุสาวรยี  สมเดจ็ พระบรม- ผฉสู บอบั น ทําใหอาณาจักรสุโขทัยถูกผนวกรวมเขา ไตรโลกนาถ ที่หนาศาลากลางจังหวัด เปน สว นหนง�ึ ของอาณาจกั รอยุธยาอยาง พระนครศรีอยธุ ยา สมบรู ณ พระราชกรณ�ยกจิ ทส่ี ําคญั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองใหเหมาะสมกับ สภาพบา นเมอื งของอยธุ ยาในขณะนน้ั โดยทรงแตง ตง้ั ตาํ แหนง สมหุ พระกลาโหม ดูแลกิจการฝายทหารท�ัวราชอาณาจักร และตําแหนงสมุหนายก ดูแลฝาย กิจการพลเรอื นท�ัวราชอาณาจักร และการทาํ งานของหนว ยงานจตุสดมภ นอกจากน้� ยังทรงยกเลิกเมืองลูกหลวง และทรงจัดแบงหัวเมือง ออกเปนหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองช้ันนอก และหัวเมืองประเทศราช ทรงจัด ระเบียบกฎเกณฑของสังคม โดยทรงตราพระราชกําหนดศักดินา เพื่อแสดง อํานาจ หนาที่ และสถานะของคนในสังคม ซ�ึงมีผลทําใหการควบคุมไพรและ ๘๕ประวตั ิศาสตร ๕ ราษฎรดาํ เนนิ ไปดว ยความสงบเรียบรอ ย

๓. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเปนพระมหากษัตริยผูมีบทบาทและมี ความสาํ คญั ในการกอบกอู สิ รภาพใหแ กก รงุ ศรอี ยุธยาในการเสยี กรุงครั้งท่ี ๑ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเปนพระราชโอรสของสมเด็จพระมหา- ธรรมราชากับพระวิสุทธิกษัตรี ซ่ึงเปน พระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ กบั สมเด็จพระสรุ โิ ยทยั ทรงมพี น่ี อ งรว มพระ ราชมารดาเดียวกัน ๒ พระองค ไดแ ก พระ  พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวร- สพุ รรณกลั ยา ซงึ่ เปน พระพน่ี าง และสมเดจ็ มหาราช ท่ีอนสุ รณด อนเจดยี  จ.สุพรรณบรุ ี พระเอกาทศรถ พระอนุชา ผฉูสบอับน พระราชกรณียกิจที่สําคัญ สมเด็จพระนเรศวรทรงเปนกษัตริยนักรบที่มีพระปรีชาสามารถ พระองคไดประกาศอิสรภาพใหแกกรงุ ศรอี ยุธยาทีเ่ มอื งแครง เม่ือครง้ั ที่พระองค ยงั ทรงดาํ รงตําแหนง พระมหาอุปราชแหงกรุงศรีอยธุ ยา หลังจากท่ีพระองคเ สด็จข้ึนครองราชยแลว ในป พ.ศ. ๒๑๓๕ เม่ือ พระมหาอุปราชาทรงยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรทรงเปน จอมทัพนํากองทัพไทยไปตั้งรับกองทัพพมาท่ีตําบลหนองสาหราย แขวงเมือง สุพรรณ พระองคท รงกระทาํ ยุทธหัตถชี นะพระมหาอปุ ราชา ทาํ ใหก องทพั พมา แตกพา ยไปในทสี่ ดุ ทาํ ใหพ มา ไมก ลา สง กองทพั มารกุ รานกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน เวลา นาน ¨Ò¡¾ÃÐÃÒª¡Ã³Õ¡Ԩ´Ñ§·Õè¡Å‹ÒÇÁÒ ¹Ñºä´ŒÇ‹Ò ÊÁà´ç¨¾ÃйàÃÈÇà ÁÍÒ˳ÒÃÒ¨Òª¡Ñ ·ÃÃçÇÁÁÕº··Ñé§ÊºÃҌҷ§Ê¤ÇíÒÒ¤ÁÑÞÁãèѹ¹¤¡§Òàû¡š¹Í»º¡ƒ ¡áٌͼÔʹ‹ ÃãÀËÒጾ¡á‹ºÅÒŒ й»àéÍÁ§Í× ¡§Ñ¹¾ÃÐÃÒª ๘๖ ประวตั ิศาสตร ๕

๔. สมเด็จพระนารายณมหาราช สมเด็จพระนารายณมหาราช ทรงเปน พระราชโอรสของสมเด็จพระเจาปราสาททอง ใน สมัยสมเด็จพระนารายณเปนชวงที่กรุงศรีอยุธยามี การติดตอและเจริญสัมพันธไมตรีกับตางประเทศ โดยเฉพาะชาตติ ะวนั ตก เชน โปรตเุ กส สเปน ฮอลนั ดา องั กฤษ ฝรงั่ เศส ทาํ ใหเ กดิ ผลดแี กเ ศรษฐกจิ และการ คา ของไทยเปน อยา งมาก พระราชกรณยี กิจทีส่ ําคัญ พระองคทรงดําเนินนโยบายทางการทูต ดว ยความรอบคอบ ทรงตดิ ตอ ทางการทตู และการคา กับฝรง่ั เศส เพ่ือใหฝร่ังเศสเปนพันธมิตรกับไทย เพอ่ื ถว งดลุ อาํ นาจกบั ฮอลนั ดา ซงึ่ มที า ทคี กุ คามไทย พระองคไดโปรดเกลาฯ ใหพระวิสุทธสุนทร (ปาน)  พระบรมราชานสุ าวรยี  ผฉสู บอบั น สมเดจ็ พระนารายณมหาราช เปนหัวหนาราชทูตไทยไปเจริญสัมพันธไมตรีกับ ท่ี จ.ลพบุรี ฝร่ังเศส ในสมยั ของพระเจา หลุยสท่ี ๑๔ การท่ีไทยเจริญสัมพันธไมตรกี บั ฝร่งั เศสทําใหร ับวิทยาการตางๆ จาก ฝรง่ั เศส เชน ทางดา นการแพทย การพยาบาล การศกึ ษา และการกอ สรา ง ซง่ึ เหน็ ไดจ ากการกอ สรา งพระราชวงั นารายณร าชนเิ วศน ทลี่ พบรุ ี และการกอ สรา งปอ ม ปราการตา งๆ ของเมืองบางกอก นอกจากนี้ สมเด็จพระนารายณทรงสนพระทัยวรรณกรรมเปน อยางมาก พระองคทรงพระราชนิพนธหนังสือไวหลายเลม และไดโปรดเกลาฯ ใหพระโหราธิบดีแตงหนังสือจินดามณี ซ่ึงนับเปนแบบเรียนเลมแรกของไทย ในสมยั น้ีถือวา เปน ยคุ ทองของวรรณกรรม ๘๗ประวตั ิศาสตร ๕

๕. ชาวบา นบางระจัน ชาวบานบางระจัน เปนกลุมบุคคลท่ีถือเปนตัวอยางบุคคลสําคัญใน ภาคกลาง ซง่ึ ไดรบั การยกยอ งวา กลา หาญและเสยี สละชีวิตแกชาติบานเมอื ง นายแทน นายอนิ นายโชติ นายทองเหม็น วรี กรรมทส่ี ําคญั ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ขนุ สรรค ตอนปลาย กอ นจะเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยา ครงั้ ที่ ๒ พระเจามงั ระกษัตรยิ พ มา ไดยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาโดยได นายทอง ยกกองทัพมา ๒ ทาง คือ ทาง แสงใหญ เมืองกาญจนบุรีและทางเมืองตาก  อนุสาวรียวีรชนชาวบา นบางระจนั ที่ จ.สิงหบรุ ี โดยมีเนเมียวสีหบดีและมังมหา- นรธาเปนแมทัพ โดยทัพแรกใหเนเมียวสีหบดีเปนแมทัพยกมาตีหัวเมืองฝาย เหนือของกรุงศรอี ยุธยา แลวใหย อ นกลับมาตีกรงุ ศรีอยุธยา สว นทัพท่ี ๒ มอบ ผฉสู บอับน ใหมังมหานรธาเปนแมทัพยกมาตีเมืองทวายและกาญจนบุรี แลวใหยกกองทัพ มาสมทบกบั เนเมยี วสหี บดีเพื่อลอมกรงุ ศรีอยุธยาพรอมกัน ทัพของเนเมียวสีหบดีไดมาต้ังคายอยูท่ีเมืองวิเศษไชยชาญ แลว ใหท หารออกปลนสะดมทรัพยสมบตั ิ เสบียงอาหาร และขมเหงราษฎรไทย จน ชาวเมืองวิเศษไชยชาญไมสามารถอดทนตอการขมเหงของพวกพมาได กลุม ชาวบา นทบี่ างระจนั ประกอบดว ย นายแทน นายโชติ นายอนิ นายเมอื ง นายดอก และนายทองแกว จึงไดรวบรวมชาวบานตอสูกับพมา โดยไดเชิญพระอาจารย ธรรมโชติจากสํานักวัดเขานางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี ซ่ึงชาวบานให ความเคารพศรัทธา ใหมาชวยคุมครองและมารวมใหกําลังใจ และไดมีบุคคล ชั้นหัวหนาเพ่ิมข้ึน ไดแก ขุนสรรค นายจันหนวดเขี้ยว นายทองเหม็น นายทองแสงใหญ และพนั เรอื ง เม่อื มชี าวบา นอพยพเขามามากขึน้ จงึ ชว ยกนั ต้งั คายบางระจันข้นึ เพื่อตอ สขู ดั ขวางการรกุ รานของพมา ๘๘ ประวัตศิ าสตร ๕

ชาวบานบางระจันรวบรวมชาวบานไดจํานวนมากจึงต้ังคายสูรบ กับพมา โดยมีกลุมผูนํารวม ๑๑ คน พมาไดพยายามเขาตีคายบางระจันถึง ๗ ครัง้ แตก ็ไมส าํ เร็จ ในท่ีสุดสุก้ีซึ่งเปนพระนายกองของพมาไดอาสามาปราบชาวบาน บางระจนั โดยต้ังคายประชิดคายบางระจัน แลว ใชปน ใหญยงิ เขา ไปในคายแทน การสรู บกนั กลางแจง ทาํ ใหช าวบานเสียชวี ิตไปจาํ นวนมาก ชาวบานบางระจันไมมีปนใหญยิงตอบโตฝายพมา จึงมีใบบอก ไปทางกรุงศรีอยุธยาใหสงปนใหญมาให แตทางกรุงศรีอยุธยาไมกลาสงมา ให เพราะเกรงวาจะถูกฝายพมาดักปลนระหวางทาง แตไดสงขุนนางจาก กรุงศรีอยุธยาใหมาชวยชาวบานหลอปนใหญ โดยบริจาคของใชทุกอยางที่ทํา ดวยทองเหลอื งมาหลอ ปนไดส องกระบอก แตพอทดลองนําไปยิง ปนกแ็ ตกราว จนใชการไมได ถึงแมไมมีปนใหญ ชาวบานบางระจันยังคงยืนหยัดตอสูกับพมา ผฉสู บอับน ตอไป จนกระทั่งวนั แรม ๒ ค่าํ เดือน ๘ พ.ศ. ๒๓๐๙ คา ยบางระจนั กถ็ ูกทหาร พมาตีแตกและสามารถยึดคายไวได หลังจากท่ียืนหยัดตอสูกับขาศึกมานานถึง ๕ เดอื น และสรู บกบั กองทพั พมา ถึง ๘ คร้งั จากวีรกรรมของชาวบานบางระจันทําใหไดรับการยกยองวา เปน วรี กรรมของคนไทยทมี่ คี ณุ คา อยา งยง่ิ ในการเสยี สละชวี ติ ใหแ กช าตบิ า นเมอื ง และ แสดงใหเห็นถึงความสามัคคีและความกลาหาญของคนไทยในการตอสูกับขาศึก และถอื เปน แบบอยา งทดี่ ขี องอนชุ นรนุ หลงั ทางราชการจงึ ไดส รา งอนสุ าวรยี ว รี ชน คายบางระจันเปนรูปหลอของวีรชนท่ีเปนหัวหนาทั้ง ๑๑ คน ขึ้นบริเวณหนา คายบางระจนั อ.บางระจัน จ.สิงหบ ุรี เพื่อเปน อนสุ รณส บื ตอไป ÇÕáÃÃÁ¢Í§ªÒǺҌ ¹ºÒ§ÃШ¹Ñ áÊ´§¶Ö§¤ÇÒÁàÊÂÕ ÊÅзèÂÕ Ôè§ãËÞ‹ ๘๙ ·»èÕ ÃЪҪ¹ÁµÕ ‹ÍºÒŒ ¹à¡´Ô àÁ×ͧ¹Í¹ ประวตั ศิ าสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷèÕ ñ ศกึ ษาประวตั บิ คุ คลสาํ คญั ในสมยั อยธุ ยาทน่ี กั เรยี นชอบและประทบั ใจ แลว บนั ทกึ ขอ มลู พรอ มตดิ ภาพประกอบ (ตวั อยา ง) ๑) บคุ คลสาํ คญั ในสมยั อยธุ ยา ทา นน้� คอื ………………ส…ม…เ…ด…จ็ …พ……ร…ะ…บ…ร…ม…ไ…ต…ร…โ…ล……ก…น…า…ถ………………… ๒) มปี ระวตั โิ ดยยอ ดงั น้� ……………ส……ม…เ…ด…็จ……พ…ร…ะ…บ……ร…ม…ไ…ต……ร…โ…ล…ก……น…า…ถ………ท……ร…ง…เ…ป…น……พ…ร……ะ…โ…อ…ร…ส……ข…อ…ง. เจาสามพระยาและมพี ระมารดาเปน เจา หญงิ จากราชวงศส โุ ขทยั พระองคไ ดถ กู สง ขน้ึ ไป......................................................................................................................................................................................................................................... ครองเมอื งพษิ ณโุ ลก (ซึ่งเปน ศูนยกลางการปกครองของอาณาจกั รสุโขทยั สมยั น้ัน)......................................................................................................................................................................................................................................... และเม่ือพระราชบิดาสวรรคต พระองคท รงครองราชยเ ปนกษัตริยข องอยุธยา......................................................................................................................................................................................................................................... ๓) ผลงานทสี่ าํ คญั ไดแ ก ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑. ทรงปฏิรปู การปกครองของอยธุ ยาดว ยการต้งั ระบบศักดินา และจดั ระบบขนุ นาง......................................................................................................................................................................................................................................... ผฉูส บอับน ใหเปน ๒ ฝา ย คอื กลาโหม และมหาดไทย......................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ทรงรวมอาณาจกั รสโุ ขทยั ใหเปน.............................................................................................. อันหน่งึ อันเดียวกบั อยุธยา.............................................................................................. ๓. ทรงบูรณะฟน ฟวู ดั ตา งๆ.............................................................................................. ๔. ทรงตัง้ กฎมณเฑยี รบาลขึ้น.............................................................................................. ๔) ฉนั ประทับใจบคุ คลสาํ คัญ ภาพสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทา นน้� เพราะ ……ส……ม…เด……จ็ …พ…ร…ะ…บ……ร…ม.- ไตรโลกนาถทรงเปนกษัตรยิ ท ่ีมี.............................................................................................. คณุ ธรรม จริยธรรมอนั ดงี าม และ.............................................................................................. ยงั เปน กษตั ริยทีป่ กครองไพรฟา.............................................................................................. ประชาชนทกุ คนเปน อยางดี.............................................................................................. (ติดภาพประกอบ) .............................................................................................. ๙๐ ประวตั ิศาสตร ๕

๒ »ÃÐÇµÑ áÔ Åмŧҹ¢Í§º¤Ø ¤ÅÊÒí ¤ÞÑ ã¹ÊÁÂÑ ¸¹ºÃØ Õ สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช (สมเด็จ พระเจากรุงธนบุรี) มีพระนามเดิมวา สิน เปนบุตร ของนายไหฮอง ซ่งึ เปน คนจนี ท่ีเขา มาทาํ มาหากินอยู ในกรุงศรีอยุธยากับนางนกเอี้ยง เกิดเม่ือวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๒๗๗ เม่ือครั้งเปนเด็กเจาพระยา- จักรีไดขอตัวเด็กชายสินไปเลี้ยงเปนบุตรบุญธรรม ทําใหมีโอกาสไดเลาเรียน และไดถวายตัวเปน  พระบรมสาทิสลกั ษณของ มหาดเล็กในเวลาตอมา และไดรับราชการอยูในสมัย สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช พระเจาอยูหัวบรมโกศ ไดรับความดีความชอบจึงได เล่ือนยศขึ้นเปนพระยาวชิรปราการ เจาเมืองตาก ราษฎรจึงขนานนามพระองควา พระยาตาก ผฉูสบอบั น พระราชกรณียกจิ ท่ีสาํ คัญ มดี ังนี้ ๑. การกูเอกราช เม่ือป พ.ศ. ๒๓๐๙ พมา ยกทพั มาตกี รงุ ศรีอยุธยา ในสมัยพระเจา เอกทศั และ ไดเสียกรุงแกพมาเปนครั้งท่ี ๒ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เหตุการณในกรุงศรีอยุธยาขณะนั้นเกิดความระสํ่า- ระสาย ทหารพมา ไดล อ มกรงุ ศรอี ยธุ ยาไว พระยาตาก เห็นวาคงสูพมาไมไดแลว จึงนําทหารจํานวนหนึ่งตี ฝาวงลอมพมาออกมา และไดรวบรวมกําลังอยูที่ เมืองจันทบุรี แลวยกทัพกลับไป ตีพมาที่กรุงศรี-  พระบรมราชานสุ าวรยี ข อง อยุธยา ทัพของพระยาตากสามารถตีทัพพมาจนแตก สมเด็จพระเจา ตากสินมหาราช พายไป พระยาตากสามารถรวบรวมผูคนกอบกูกรุง ที่หนากองบญั ชาการกองทพั เรือ (พระราชวังเดมิ กรงุ ธนบรุ )ี กรุงเทพมหานคร ศรอี ยธุ ยากลบั คืนมาจากพมา ไดภายในเวลา ๗ เดอื น ๙๑ประวตั ิศาสตร ๕

๒. การสรางและสถาปนากรุงธนบุรีเปนเมืองหลวง หลังจากไดกอบกู กรุงศรีอยุธยากลับคืนจากพมาไดแลว พระองคทรงเห็นวากรุงศรีอยุธยา ถูกพมาเผาผลาญเสียหายมากและยากที่จะฟนฟูใหเจริญเหมือนเดิมได พระองคจึงยายเมืองหลวงมาอยูท่ีกรุงธนบุรี แลวทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปน พระมหากษตั รยิ  ทรงพระนามวา พระบรมราชาธริ าชท่ี ๔ ครองกรงุ ธนบรุ อี ยู ๑๕ ป นบั วา เปน กษตั ริยพระองคเ ดยี วที่ปกครองกรุงธนบรุ ี ๓. พระราชกรณียกิจอื่นๆ นอกจากจะทรงกูเอกราชและทรงสถาปนา กรุงธนบรุ เี ปนเมืองหลวงแลว พระองคย ังไดขยายอาณาเขตโดยตเี วียงจนั ทนได และอัญเชิญพระแกวมรกตมาประดิษฐานไวที่เมืองหลวง ทรงทํานุบํารุงศาสนา และทรงสงเสริมใหคนแตงหนังสือตางๆ ข้ึน เพราะหนังสือตําราอันมีคาถูกพมา เผาไปเกือบหมด ทรงเอาใจใสดูแลทุกขสุขของราษฎรเปนอยางดีแมวาจะตอง ทาํ สงครามกับพมา ตลอดเวลาก็ตาม พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ข อ ง ผฉสู บอับน ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ  า ต า ก สิ น ม ห า ร า ช ท่ีพระองคไดทรงกระทํา ลวนเปน พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ต  อ พ ส ก นิ ก ร ชาวไทยอยางหาที่สุดมิได ดวยเหตุน้ี ชาวไทยจึงไดถวายพระสมัญญานาม ใหแกพ ระองคว า “มหาราช” ปจจุบนั มีพระบรมราชานุสาวรียของพระองค ปรากฏอยูในหลายท่ี เชน ท่ีพระราช- วังเดิม ท่ีวงเวียนใหญ เขตธนบุรี  พระบรมราชานสุ าวรีย สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ กรุงเทพมหานคร ที่จังหวัดจันทบุรี มหาราช ทวี่ งเวียนใหญ กรงุ เทพมหานคร เปนตน ๙๒ ประวัตศิ าสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ Õè ò สืบคนขอมูล พระราชประวัติของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช พรอมท้ัง วเิ คราะหค ุณธรรมของพระองค และบันทกึ ขอมูล (ตัวอยาง) พระราชประวตั ขิ องสมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช มีพระนามเดิมวา สิน ประสูติในสมัย............................................................................................................................................................................................................................................. ผฉสู บอบั น อยุธยา ยุคแผนดินสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ บิดาเปนชาวจีน มารดาช่ือ............................................................................................................................................................................................................................................. นกเอี้ยง............................................................................................................................................................................................................................................. พระองคเคยเปนมหาดเล็กในสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ ตอมาสมัย............................................................................................................................................................................................................................................. สมเด็จพระเจาอยูหัวเอกทัศ ทรงเปนหลวงยกกระบัตรท่ีเมืองตากและไมนาน............................................................................................................................................................................................................................................. ก็ไดเ ปน พระยาตาก............................................................................................................................................................................................................................................. เม่ือพมา ยกทพั มาอยุธยา ทรงยกทัพมาชวย แตขาศกึ มจี าํ นวนมาก จงึ ทรง............................................................................................................................................................................................................................................. ไปต้ังมั่นท่ีจันทบุรี แลวตอมาจึงกูชาติสําเร็จ ทรงสถาปนากรุงธนบุรีเปน............................................................................................................................................................................................................................................. ราชธานี และทรงรบั ภาระหนกั ในการฟน ฟูชาติ............................................................................................................................................................................................................................................. คณุ ธรรมของสมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช ๑) ทรงมีความกลาหาญ และมีความเสยี สละ............................................................................................................................................................................................................................................ ๒) ทรงมคี วามอดทนตอ ความยากลําบาก............................................................................................................................................................................................................................................. ๓) ทรงมพี ระเมตตาตอคนทว่ั ไป............................................................................................................................................................................................................................................. ๔) ทรงมคี วามมกั นอ ย สันโดษ............................................................................................................................................................................................................................................. ๕) ทรงมีความใฝธรรม............................................................................................................................................................................................................................................ แหลง การเรยี นรู www.wikipedia (สารานกุ รมเสรี)……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙๓ประวตั ิศาสตร ๕

๓¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹ปÒร¡ะÒจÃํา¤บทÔ´ท่ี ๑. สืบคนประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญในสมัยอยุธยาและสมัยธนบุรีท่ตี น มสฐ4./.ต3ัวช(3ีว้ )ัด สนใจ ๑-๒ ทา น แลวจัดทาํ เปน รายงาน ขนึ้ อยูกับดุลยพินิจของผูสอน ๒. นาํ ขอความทก่ี าํ หนดเติมลงในตารางใหถูกตอ ง มฐ./ตัวช้ีวดั ๑) เปนผสู ถาปนากรงุ ธนบรุ ีเปน ราชธาน� ๒) รวมตวั กันตอตานกองทัพพมา ส4.3 (3) ๓) กอบกเู อกราชของกรุงศรอี ยธุ ยาครง้ั ที่ ๒ ๔) กอบกเู อกราชของกรงุ ศรีอยุธยาคร้งั ท่ี ๑ ๕) มีบทบาทสาํ คัญในการรวมอาณาจักร ๖) สงราชทูตไปเจริญสมั พันธไมตรกี ับ สโุ ขทัยเขากับอยธุ ยา ฝรั�งเศส ๗) กาํ หนดศกั ดินาของบุคคลในสงั คม ๘) วางระเบียบการปกครองแบบจตุสดมภ ๙) สถาปนากรงุ ศรอี ยุธยาเปนราชธาน� ๑๐) กระทาํ ยุทธหตั ถชี นะพระมหาอุปราชา บคุ คลสําคญั ผลงานสาํ คัญ ผฉสู บอบั น พระเจาอทู อง …๘……) …ว…า…ง…ร…ะ…เบ…ีย……บ…ก…า…ร…ป…ก…ค……ร…อ…ง…แ…บ…บ……จ…ต…สุ …ด…ม……ภ… ……………………………….. …๙……) …ส…ถ…า…ป…น……า…ก…ร…งุ …ศ…ร…ีอ…ย……ุธ…ย…า…เป…น……ร…า…ช…ธ…าน……ี ……………………………………….. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ …๕……)…ม…ีบ…ท……บ…า…ท…ส…าํ…ค…ัญ……ใ…น…ก…า…ร…ร…ว…ม…อ…า…ณ……า…จ…ัก…ร…ส……ุโข…ท……ยั …เข…า …ก…ับ…อ……ย…ุธ…ย.า. …๗……) …ก…ํา…ห…น……ด…ศ…ัก…ด……ิน…า…ข…อ…ง…บ…คุ …ค……ล…ใ…น…ส…ัง…ค……ม………………………………………….. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช …๔……) …ก…อ…บ……ก…เู อ…ก……ร…า…ช…ข…อ…ง…ก…ร…งุ …ศ…ร…อี…ย…ธุ…ย……าค……ร…ัง้ …ท…่ี ……๑…………………………….. ๑…๐……) …ก…ร…ะ…ท…าํ…ย…ทุ ……ธ…ห…ตั …ถ…ีช…น……ะพ……ร…ะ…ม…ห…า…อ…ุป…ร…า…ช…า……………………………………….. สมเดจ็ พระนารายณม หาราช …๖……) …ส…ง …ร…า…ช…ท…ตู……ไป……เจ…ร…ญิ……ส…ัม…พ……นั …ธ…ไ…ม…ต…ร…กี …ับ……ฝ…ร…งั่ …เ…ศ…ส………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………….. สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช …๑……) …เป……น …ผ…ูส…ถ……า…ป…น…า…ก…ร…งุ…ธ…น……บ…รุ …ีเ…ป…น…ร…า…ช…ธ…า…น…ี…………………………………….. …๓……) …ก…อ…บ……ก…เู อ…ก……ร…า…ช…ข…อ…ง…ก…ร…ุง…ศ…ร…อี…ย…ธุ…ย……าค……ร…้งั …ท…่ี ……๒…………………………….. ชาวบา นบางระจนั …๒……) …ร…ว…ม…ต…ัว…ก…ัน……ต…อ …ต…า…น……ก…อ…ง…ท…พั …พ……ม…า…………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙๔ ประวัติศาสตร ๕

๓Ẻ·´Êͺ·Õè กา ✗ คําตอบที่ถกู ตอ งที่สุด ๑. พระมหากษัตริยพระองคใดทรงนําการ ๖. พระราชกรณย� กจิ ทสี่ ําคญั ของสมเดจ็ ปกครองแบบจตุสดมภม าใชเปน พระบรมไตรโลกนาถ คอื ขอ ใด พระองคแ รก ✗ก. การปฏริ ปู การปกครอง ก. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ข. การทําศึกสงครามกับพมา ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ค. การทํานุบาํ รุงพระพุทธศาสนา ง. การเจริญสัมพนั ธไมตรีกับตางประเทศ ✗ค. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๑ ๗. พระราชกรณ�ยกิจทส่ี าํ คัญของสมเดจ็ พระนารายณมหาราช คอื ขอใด ง. สมเดจ็ พระนารายณ ก. การศาสนา ๒. กษตั รยิ อ งคใดมีบทบาทสาํ คัญในการ ข. การปกครอง ✗ค. การตา งประเทศ รวมสุโขทัยเขา เปนสวนหน�ึงของอยุธยา ง. การสาธารณสขุ ก. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๑ ๘. เหตุการณบ า นบางระจนั เกิดขึ้นในชวงใด ข. สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๒ ก. เมอื่ ป พ.ศ. ๒๓๐๑ ผฉูสบอบั น ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ✗ข. เมือ่ ป พ.ศ. ๒๓๐๙ ✗ง. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ค. เม่ือป พ.ศ. ๒๓๑๐ ง. เมอื่ ป พ.ศ. ๒๓๙๐ ๓. บคุ คลใดท่ถี ูกนําตัวไปเปนตวั ประกัน ๙. ผลดีจากสงครามยทุ ธหตั ถี คือขอใด ที่กรงุ หงสาวดีในครงั้ สงครามชางเผอื ก ก. การคา ขายกบั ตา งชาตเิ จรญิ รงุ เรือง ก. สมเด็จพระมหนิ ทราธิราช ข. กรุงหงสาวดียอมออ นนอ มตออยธุ ยา ข. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ✗ค. พมาไมกลา สงกองทัพมารกุ รานไทย ง. ชาตติ ะวนั ตกเขามาเจรญิ สมั พันธไมตรี ✗ค. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ๑๐. พระมหากษัตรยิ พ ระองคใด กอบกูเอกราชครง้ั ท่ี ๒ ใหแ กไ ทย ง. สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ก. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ๔. จากขอ ๓ มผี ลทําใหเ กดิ เหตกุ ารณใด ข. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ค. สมเดจ็ พระนารายณมหาราช ✗ก. เจาเมืองพษิ ณุโลกยอมออ นนอ ม ✗ง. สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช ตอกรงุ หงสาวดี ข. อยธุ ยาสรา งสมั พนั ธไมตรกี บั ลา นชา ง ค. การประกาศอิสรภาพทเี่ มืองแครง ง. การกระทาํ สงครามยทุ ธหัตถี ๕. กษตั ริยพ มาองคใดคอื “ผชู นะสบิ ทิศ” ก. ตะเบง็ ชเวตี้ ✗ข. บุเรงนอง ค. นนั ทบเุ รง ง. มังระ ๙๕ประวตั ิศาสตร ๕

๔บทที่ ÀÁÙ Ô»˜ÞÞÒä·ÂÊÁÂÑ ÍÂ¸Ø ÂÒáÅи¹ºØÃÕ ขอบขายสาระการเรยี นรูแกนกลางรายวิชา ประวัติศาสตร ชน้ั ป.๕ ตวั ชีว้ ัดช้นั ป สาระพน้ื ฐาน ความรูฝ ง แนนตดิ ตวั ผูเ รยี น มฐ. ส ๔.๓ (๔) ๑. ภมู ปิ ญ ญาไทยสมยั อยธุ ยา การเรียนรูเกี่ยวกับภูมิปญญาไทย ๒. ภูมปิ ญญาไทยสมัยธนบุรี ในสมัยอยธุ ยา และสมยั ธนบุรี ทําให อธิบายภูมปิ ญญาไทยทสี่ าํ คัญสมยั เราไดรับรูถึงภูมิปญญาตางๆ และ อยธุ ยาและธนบรุ ที น่ี าภาคภมู ิใจและ เห็นคณุ คา ของภมู ิปญ ญาไทย ควรคาแกการอนุรักษไว ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Òí Ê‹Ù¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ผฉสู บอบั น ¨Ò¡ÀÒ¾ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹·ÃÒºËÃÍ× äÁÇ‹ Ò‹ ໹š ÀÁÙ Ô»˜ÞÞÒä·Â´ŒÒ¹ã´ ã¹ÊÁÂÑ ã´ ๙๖ ประวตั ิศาสตร ๕

๑ ÀÙÁ»Ô ˜ÞÞÒä·ÂÊÁÂÑ ÍÂظÂÒ ภูมิปญญาไทยในสมัยอยุธยามีอยูมากมาย เปนภูมิปญญาท่ีมีคุณคา และควรศกึ ษา เชน ๑. ภูมิปญ ญาดา นศิลปกรรม กรุงศรีอยุธยาเปนราชธาน�ของไทยเปนเวลายาวนานถึง ๔๑๗ ป ทําใหเกิดผลงานการสรางสรรคดานศิลปกรรมมากมาย ซึ�งสวนใหญเกี่ยวของ เปน เจดยี ท น่ี าํ องคป ระกอบและรปู ทรงของเจดยี  กบั พระพุทธศาสนา ทรงกลม มาปรบั เปน เจดยี  ๔ เหลย่ี มยอ มมุ ๑) สถาปตยกรรม ไดแ ก วังและวัด ในสมัยอยุธยาตอนตน จะสราง พระปรางคแบบขอม เพราะไดรับอิทธิพลจากเขมร เชน พระปรางคที่ วัดพุทไธศวรรย ตอมาจึงไดปรับปรุงเปล่ียนแปลงจนเกิดเปนรูปทรงที่เปน ลักษณะเฉพาะของอยุธยา คือ เจดียเหล่ียมยอมุม เชน เจดียวัดสวนหลวง ผฉูสบอับน สง่ิ กอ สรา งมยี อดสงู ขน้ึ ไป มรี ปู ทรงคลา ย สบสวรรค เปน ตน ฝก ขา วโพด และมฝี ก เพกาปก อยขู า งบน ๒) จิตรกรรม หมายถึง ภาพ เขียน ซ�ึงในสมัยอยุธยาตอนตนยังคงไดรับ อิทธพิ ลจากศลิ ปะแบบลพบุรี ทวารวดี และ ลังกาผสมผสานกัน เมื่อมาถึงสมัยอยุธยา ตอนปลาย จึงพัฒนาเปนแบบเฉพาะของ อยุธยา คือ ใชส หี ลายสี มีการปด ทองลงบน รูปและลวดลาย แตการเขียนภาพยังคงเปน รูปตนไม ภูเขา พื้นดิน แสดงวายังไดรับ อิทธิพลจากจีนอยู ผลงานที่สําคัญ เชน ▲ ภาพจติ รกรรมเขยี นสีในสมดุ ขอ ย ภาพเขยี นสี ภายในพระปรางคว ัดราชบูรณะ สมยั อยุธยา จังหวดั พระนครศรีอยุธยา เปนตน ๙๗ประวัติศาสตร ๕

๓) ประติมากรรม สวนใหญเปนการปนพระพุทธรูป ซึ�งในสมัย อยุธยาไดรับอิทธิพลมาจากศิลปะหลายรูปแบบ คือ ลพบุรี ทวารวดี สุโขทัย โดยนํามาปรับปรุง ดัดแปลงจนกลายเปนแบบอยางศิลปะในสมัยอยุธยา โดยเฉพาะ นั�นคือ พระพุทธรูปทรงเครื่อง นอกจากน�้ยังมีงานปูนปนเปน ลวดลายประดับสถาปตยกรรมที่สําคัญ เชน ลวดลายปูนปนประดับปรางค ประธานวัดมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี สิงหปูนปนที่วัดธรรมิกราช จังหวัด ภาชนะ (ถว ย ชาม โถ) ทเ่ี ขยี นลวดลายดว ยแมส ที ง้ั ๕ คอื พระนครศรีอยุธยา เปน ตน ดาํ แดง ขาว เขยี ว (คราม) และเหลอื ง ๔) ประณต� ศลิ ป ไดแ กผ ลงานทส่ี าํ คญั คอื งานประดบั มกุ ไดร บั อทิ ธพิ ล จากชางชาวจนี โดยทําเปนลวดลายกา นขด มกี ารแบงตัวลายสลบั ซับซอน เชน บานประตูประดับมุกที่วิหารหลวง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ท่ีจังหวัดพิษณุโลก เปนตน นอกจากน้�ยังมีงานเคร่ืองไมจําหลักที่ถายทอดรูปแบบและวาดลวดลาย ลงบนเน้�อไม ใชทําเปนสวนประกอบ ตกแตงสถาปตยกรรม เชน บานประตู ผฉูสบอับนหนา บัน ของโบสถ วหิ าร เปน ตน ผลงานอกี ประเภท คอื เครื่องเบญจรงค ซึ�งเริ�มคิดออกแบบ ต้ังแตสมัยสมเด็จพระเจาทายสระ โดยออกแบบลวดลาย จากนั้นสงไป เคลือบท่จี ีน ลวดลายเปนเอกลักษณ คือ ลายเทพนม ภาพเทพนรสิงห ภาพกินนร เปน ตน ๕) คีตศิลปและนาฏศิลป  เครอื่ งเบญจรงคส มัยอยธุ ยา ทาํ เปน ชามและโถปริก ในสมัยอยุธยาปรากฏหลักฐานวา มี เครื่องดนตรีหลายประเภทที่นํามาเลนรวมกันเปนวง เรียกวา วงเครื่องสาย วงมโหรี วงปพาทย ซงึ� เปนมรดกตกทอดมาจนถึงสมัยรตั นโกสินทร ๙๘ ประวัตศิ าสตร ๕

๒. ภูมปิ ญ ญาดา นแนวคิดเก่ียวกบั พระมหากษตั รยิ  เปนการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับใชในการปกครอง บา นเมอื ง ผสมผสานเกยี่ วกับสถานะของพระมหากษตั ริย ซงึ� ไดรับอิทธิพลจาก เขมร คือ แนวคิดวา พระมหากษัตริยเ ปน สมมติเทพ ทําใหพ ระมหากษัตรยิ ไทย ทรงปกครองบานเมืองดวยหลกั ทศพิธราชธรรม ๓. ภูมิปญญาดานวรรณกรรม วรรณกรรม เปนศิลปะการ แตงหนังสือ นับเปนภูมิปญญาไทยที่ สําคัญในสมัยอยุธยา มีท้ังรอยแกว และรอยกรอง วรรณกรรมแตละเลมมี ลักษณะคําประพันธท่ีแตงขึ้นสําหรับใช ▲ วรรณกรรมมหาชาติคําหลวงท่ีบันทึก ผฉูส บอับน ในพิธีการ เพ่ือเทิดพระเกียรติพระมหา- ลงในสมุดไทย กษัตริย หรือเพ่ือความบันเทิง จัดวามี คุณคาทางวรรณศิลปเปนอยางยิ�ง วรรณกรรมที่สําคัญสมัยอยุธยา เชน ลิลิต โองการแชงนํา ลิลิตยวนพาย มหาชาติคําหลวง หนังสือแบบเรียนภาษาไทย จินดามณ� กาพยมหาชาติ นิทานคํากลอนเร่ืองขุนชางขุนแผน โคลงพาลี สอนนอง เปน ตน ๔. ภมู ิปญญาดา นการคา การคาในสมัยอยุธยา มีการขยายตัวอยางมาก ทําใหรัฐตองหาวิธี การจัดระเบยี บการคาใหร ัดกมุ และกอ ใหเ กดิ ประโยชนม ากทสี่ ุด วิธีการเหลา น�้ ไดแก การตั้งหนวยงานดูแลการคาโดยเฉพาะ การต้ังระบบการคาแบบผูกขาด การตอเรือสําเภา การเก็บอากรตลาด ซึ�งถือเปนภูมิปญญาดานการคาใน สมยั อยุธยา ๙๙ประวัตศิ าสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ٌ Õè ñ แบงกลุม กลุมละ ๓-๔ คน ใหแตละกลุมชวยกันสืบคนขอมูลเก่ียวกับ ภมู ปิ ญ ญาสมัยอยุธยาที่กลุมสนใจ ๑ อยาง แลวบันทึกขอมูล พรอมติดภาพ ประกอบ แลวนาํ เสนอผลงานหนาช้ัน (ตวั อยา ง) ๑) ภมู ปิ ญ ญาสมยั อยธุ ยาทกี่ ลมุ สบื คน ขอ มลู คอื เจดียวดั สวนหลวง………………………………………………………………………… สบสวรรค......................................................................................................................................................................................................................................... ๒) เปน ภมู ปิ ญ ญาดา น ศลิ ปกรรม สาขาสถาปตยกรรม………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ......................................................................................................................................................................................................................................... ๓) ลกั ษณะเดน / สงิ� ทนี่ า สนใจ คอื ……………เ…ป……น …เ…จ……ด…ีย…ท……ี่ม……ีล…ัก……ษ…ณ………ะ…เฉ……พ……า…ะ…ข…อ…ง……………….. อยธุ ยา คือ เปน เจดียเหลย่ี มยอ มุม......................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................... ผฉูสบอับน (ภาพเจดยี วัดสวนหลวงสบสวรรค) (ตดิ ภาพประกอบ) ๑๐๐ ประวตั ศิ าสตร ๕

๒ ÀÁÙ »Ô ˜ÞÞÒä·ÂÊÁÂÑ ¸¹ºØÃÕ แมก รงุ ธนบรุ จี ะมอี ายเุ พยี ง ๑๕ ป แตก ็ไดส รา งสรรคผ ลงานทมี่ คี ณุ คา มากมายและไดสืบทอดมาจนถึงปจ จบุ ัน ภมู ปิ ญญาที่สําคัญสมยั ธนบุรี เชน ๑. ภมู ปิ ญญาดา นศลิ ปกรรม ๑) ดานจิตรกรรม ผลงานดานจิตรกรรมท่ีสําคัญในสมัยธนบุรี ปรากฏอยูในสมุดภาพไตรภูมิ เปนการแสดงใหเห็นฝมือในการวาดภาพของ จติ รกรเกย่ี วกับไตรภมู ิ หรือ โลกท้งั ๓ ไดแ ก สวรรคภูมิ มนษุ ยภมู ิ และนรกภูมิ ๒) ดานสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมในสมยั น้�มลี กั ษณะทค่ี อนขา ง เรียบงายเนนประโยชนใชสอย ดังเห็นไดจากทองพระโรงกรุงธนบุรีซ�ึงสมเด็จ พระเจา ตากสินมหาราชใชอ อกวา ราชการ ผฉูส บอับน ▲ ทองพระโรงกรุงธนบุรี สรางข้ึนพรอมกับการสถาปนากรุงธนบุรีข้ึนเปนราชธาน� ท่ีเนนความเรียบงาย มงุ ประโยชนใชส อยเปน หลกั ๒. ภูมิปญญาดานวรรณกรรม ผลงานทางวรรณกรรมถือเปนอีกดาน ที่มีความสําคัญ แสดงใหเห็นถึงความสามารถในดานภาษากับความรูดานตางๆ ของกวี โดยวรรณกรรมทสี่ าํ คัญในสมัยธนบรุ ี ไดแก ๑๐๑ประวตั ศิ าสตร ๕

๑) โคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจา กรงุ ธนบรุ ี แตง โดยนายสวนมหาดเลก็ ไดรับการยกยองวาใชภาษาที่ไพเราะที่ถือวาเปนตําราโคลงเร่ืองหนึ่ง นอกจาก คุณคาทางดานวรรณกรรมแลว ยังมีคุณคาทางดานประวัติศาสตร เพราะ สามารถใชเปนขอมูลตรวจสอบประวัติศาสตรในสมัยธนบุรีไดดวย นับเปนการ สรางสรรคภูมิปญญาไทยทางดานวรรณกรรมและยังใหคุณคาทางภาษาและ ประวัตศิ าสตรไปพรอ มกนั ๒) นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน แตงโดยพระยามหานุภาพ ซ่ึงเปนหนึ่งในคณะทูตท่ีเดินทางไปเจริญทางพระราชไมตรี เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๔ ซ่ึงขณะนั้นตรงกับสมัยจักรพรรดิเฉียนหลง โดยจีนยอมรับฐานะของสมเด็จ พระเจาตากสินมหาราช และยินดีใหคณะทูตเขาเฝาที่กรุงปกกิ่ง (หรือ เปยจิง ในปจจุบัน) นิราศเร่ืองน้ี ถือเปนอีกเรื่องหนึ่งท่ีมีความไพเราะทางดานภาษา และใหข อ มลู ทางประวัตศิ าสตรไดเ ปนอยา งดี ผฉูส บอับน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ ò แบง กลมุ กลมุ ละ ๓-๔ คน ใหแ ตล ะกลมุ ชว ยกนั สบื คน ขอ มลู เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ภมู ปิ ญ ญาสมยั ธนบรุ ี แลว บนั ทกึ ขอ มลู จากนนั้ นําเสนอขอ มูล ๑) ดา นศิลปกรรม ………ภ…ูม…ิป……ญ……ญ……า…ด……า…น…ศ……ิล……ป…ก……ร…ร……ม…ใ…น……ส…ม……ัย…ธ……น…บ……ุร…ีจ……ะ…เ…น…น……ใ…ห……ม…ี ร……ูป……แ…บ……บ…เ…ร……ีย…บ……ง…า…ย…………เพ……่ือ……ใ…ห…ส……ร……า…ง…แ…ล……ะ…ด……ูแ…ล……ร…ัก……ษ……า…ง…า…ย…………โ…ด…ย……จ…ะ……เน……น……ท….่ี ป……ร…ะ…โ…ย……ช…น……ใ ช……ส…อ……ย…ม…า…ก……ก…ว…า………เช…น………ท……อ…ง…พ……ร…ะ…โ…ร……ง…ก…ร……ุง…ธ…น……บ……ุร…ี ……………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒) ดา นวรรณกรรม ……ว…ร…ร…ณ……ก……ร…ร…ม……ท…เี่…ป…น……ภ……มู …ิป…ญ……ญ……า…ส……ม…ัย…ธ……น…บ……ุร…ี……ส…ว…น……ใ…ห……ญ…จ……ะ.. เ…ป……น …ว…ร……ร…ณ……ค……ด…ที ……แ่ี …ต…ง…ข……น้ึ …เ…พ…อ่ื……เท……ดิ …พ……ร…ะ…เ…ก…ยี……ร…ต……พิ …ร…ะ…ม……ห…า…ก……ษ…ตั……ร…ยิ ……แ……ล…ะ…เ…พ…อ่ื……เป……น …. ข……ว…ญั ……ก…าํ …ล……งั …ใ…จ…แ…ก……ป …ร……ะ…ช…า…ช…น………เช……น ……โ…ค……ล…ง……ย…อ…พ……ร…ะ…เ…ก…ยี……ร…ต……ิ …พ…ร…ะ…เ…จ…า……ก…ร…งุ……ธ…น……บ…รุ …ี. รามเกียรต์ิ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๕

๔¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹ปÒร¡ะÒจÃาํ ¤บทÔ´ท่ี ดภู าพภูมปิ ญ ญาไทยสมยั อยุธยาและธนบุรี แลวบันทึกขอมูลมาพอเขา ใจ ๑) เจดียศรีสุริโยทัย วัดสวนหลวงสบสวรรค มสฐ4./.ต3ัวช(4วี้ )ัด ภูมิปญญาในสมัย อยุธยา………………………………………………………. เกย่ี วกบั ดา น …ส……ถ…า…ป…ต …ย…ก……ร…ร…ม…………………………………… มีขอ มูลนา สนใจ ดังน้ี …เ…จ…ด…ี…ย…เ…ห…ล……่ีย…ม……ย…อ…ม……ุม. เ…ป…น ……ก…า…ร…ท…าํ …ม…มุ …ข…อ…ง…ส…ง่ิ…ก……อ …ส…ร…า …ง…ห…ร…อื …อ…า…ค…า…ร…ต……า ง…ๆ……เ…ช…น .. ฐ……า…น……เ…จ…ด……ีย… …ป…ร……าง……ค… …เ…ส…า………ถ…า…อ…ง…ค…ป……ร…ะ…ก…อ…บ……ห…ร…อื .. อ……า…ค…า…ร…ด…งั …ก……ล…า …ว…เป…น……ร…ปู …ส……เ่ี ห……ล…ย่ี …ม……ม…มี …มุ ……๔……ม…มุ ………ก…็จ…ะ.. ท……ํา…ก…า…ร…ย…อ…ห……ร…ือ…แ…ต……ก…ม…ุม…จ…า…ก………๔……ม…ุม…ใ…ห…เ…ป…น……ม…ุม…เล……็ก…ๆ.. ห……ร…ือ…เ…พ…่ิม…จ…ํา…น……ว…น……ถ…า…แ…ต……ก…ม…ุม…ล……ะ…๓………จ…ะ…เร…ีย……ก……ย…อ …ม…มุ .. ไ…ม…ส……บิ …ส…อ…ง……ม…มุ…ล……ะ…๔……เ…ร…ยี …ก……ย…อ …ม…มุ …ไ…ม…ส …บิ……ห…ก……เ…ป…น …ต……น .. ผฉสู บอับน ๒) ทอ งพระโรงกรุงธนบุรี เปนภมู ิปญญาในสมัย ธนบุรี…………………………………………………………………….. เกย่ี วกับดา น สถาปต ยกรรม………………………………………………………………………………………………………………………………………………… มขี อมลู ทน่ี า สนใจ ดังนี้…เ…ป…น……อ…า…ค…า…ร…ท…ร……ง…ไท……ย……ป…ร…ะ…ก……อ…บ…ด…ว…ย……พ…ร…ะ…ท…่ีน……่งั …ส…อ…ง…อ……ง…ค…เ …ช…อ่ื …ม.. …ต…อ…ก……ัน………ได……แ…ก… ……พ…ร…ะ…ท…ี่น……่ัง…อ…ง…ค……ท…ิศ…เ…ห…น……ือ……เ…ร…ีย…ก…ว…า………ท…อ…ง…พ……ร…ะ…โ…ร…ง……ใ…น……ส…ม…ัย…ธ……น…บ…ุร……ีใช……เป…น….. …ท…่ีเ…ส…ด…็จ……อ…อ…ก…ข…ุน……น…า…ง…แ…ล…ะ…ป……ร…ะ…ก…อ…บ…พ……ร…ะ…ร…า…ช…พ…ิธ…ีส……�…ค…ัญ………แ…ล…ะ…พ……ร…ะ…ท…ี่น……ั่ง…อ…ง…ค…ท……ิศ…ใ…ต… …เ…ร…ีย…ก……ว…า …พ…ร…ะ…ท…นี่……่งั …ข…ว…า…ง……เป……น …ท…ปี่……ร…ะ…ท…ับ…ส……ว…น…พ……ร…ะ…อ…ง…ค…ข…อ…ง…พ……ร…ะ…ม…ห…า…ก…ษ……ัต…ร…ิย…………ป…ร…ะว…ตั …ศิ …าส…ต…ร…๕………๑……๐…๓…

๔Ẻ·´Êͺ·Õè กา ✗ คําตอบทถี่ ูกตอ งที่สุด ๑. ภูมิปญญาไทยสมัยอยุธยาขอใดท่ีไดรับ ๖. โคลงพาลสี อนนอ ง เปนวรรณกรรมท่ี อทิ ธพิ ลมาจากเขมร เก่ยี วกับตัวละครในเรอื่ งใด ก. กษัตรยิ เปนธรรมราชา ก. ขุนชางขุนแผน ✗ข. กษตั ริยเ ปนสมมติเทพ ข. พระอภัยมณี ✗ค. รามเกียรติ์ ค. กษตั ริยเปน องคศ าสนูปถัมภก ง. กษัตรยิ ทรงอยเู หนอื กฎหมายทั้งปวง ง. อเิ หนา ๒. การสรา งเจดียเ หล่ียมยอมมุ ๗. ภมู ิปญ ญาดา นศาสนาสมัยธนบรุ คี ือขอ ใด เปนภมู ิปญ ญาในดา นใด ก. รูปปน ประดับที่พระปรางควดั มหาธาตุ ก. จติ รกรรม ข. นาฏศลิ ป ข. มหาชาตคิ าํ หลวง ค. วรรณกรรม ✗ง. สถาปตยกรรม ✗ค. สมดุ ภาพไตรภูมิ ๓. การทาํ วัสดเุ พอ่ื นาํ มาใชป นเปน รูปตางๆ ง. ลิลติ ยวนพาย เปน ภมู ิปญญาดานใด ๘. ขอใดเปนภมู ิปญญาดา นการคาใน ผฉสู บอับน ก. วรรณกรรม สมยั อยุธยา ✗ข. ประตมิ ากรรม ก. การตอเรอื สาํ เภา ค. สถาปต ยกรรม ข. การเกบ็ อากรตลาด ง. คตี ศิลป และนาฏศิลป ค. การไมเ ก็บคา ธรรมเนยี ม ✗ง. ถูกท้งั ขอ ก. และ ข. ๔. ขอใดเปน ภูมิปญ ญาดา นวรรณกรรม สมยั อยธุ ยา ๙. บทละครเร่ืองรามเกียรติ์ เปนภูมิปญญา ก. ลิลติ ตะเลงพาย ดานใด ข. อิเหนาคําฉันท ก. จติ รกรรม ✗ค. ลิลิตโองการแชงน้ํา ✗ข. วรรณกรรม ง. นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจัน ค. ประติมากรรม ๕. หนงั สือจนิ ดามณี มคี วามสําคัญอยา งไร ง. สถาปต ยกรรม ก. มคี าํ สมั ผสั มาก ๑๐. จากขอ ๙. เปนอทิ ธพิ ลท่ีไดรับจากชาติใด ข. ใชภ าษาไดไ พเราะ ก. จนี ข. ชวา ✗ค. อนิ เดีย ค. เปนวรรณคดเี ลมแรกของไทย ง. อนิ โดนเี ซยี ✗ง. เปน แบบเรยี นภาษาไทยเลม แรก ๑๐๔ ประวัตศิ าสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä ผฉูส บอับน ช้นิ ที่ ๑ เรอื่ ง อาณาจักรอยธุ ยา ๑. แบง นักเรียนเปน กลุม กลุมละ ๖-๘ คน ๒. ใหสมาชิกแตละกลุมชว ยกันสบื คนขอมูลเก่ยี วกบั อาณาจักรอยธุ ยาในหัวขอตางๆ ท่กี าํ หนดให ๑) การสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทยั ๒) ปจ จยั ท่สี ง เสรมิ ความเจริญและพัฒนาการดา นตางๆ ในสมยั อยธุ ยา ๓. รวบรวมขอมลู มาจัดทําเปน รายงาน และสง ครตู รวจ ชิ้นที่ ๒ เรื่อง บคุ คลสําคญั ในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี ๑. แบง นกั เรยี นเปน ๖ กลมุ กลุมละเทา ๆ กนั ๒. ใหแ ตล ะกลุม สงตวั แทนออกมาจับสลากเพือ่ ศกึ ษาประวตั ิ และผลงานของบคุ คลสําคัญในสมยั อยุธยาและธนบุรี กลมุ ละ ๑ บคุ คล ๓. สรุปผลการสบื คนจดั ทาํ เปนผลงานกลุม แลว นาํ เสนอ ผลงานหนาชั้น ช้นิ ที่ ๓ เรือ่ ง ภูมปิ ญ ญาไทยในสมัยอยุธยาและธนบุรี ๑. แบงนักเรียนเปน ๒ กลมุ กลุมละเทา ๆ กัน ๒. ใหสมาชกิ แตละกลุมชว ยกนั สืบคนขอมลู และ รวบรวมภาพเกยี่ วกับภูมิปญ ญาไทยสมยั อยุธยา และธนบุรี ๓. นําขอมลู และรูปภาพมาจัดทําเปนสมดุ ภาพ แลวนาํ เสนอผลงานหนาชั้น ๑๐๕ประวตั ศิ าสตร ๕

Ẻº¹Ñ ·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÒí ˹Nj  รายการวัดประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจําหนวยที่ ๓ คาํ ชแี้ จง : ๑. ครูกําหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตองการวัดผลเพื่อเก็บสะสม ๒. ครูนําคะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะที่พึงประสงค (A) ของนักเรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชิ้นงานที่มีเครื่องหมาย * กํากับ ใหใชประกอบการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมนิ รายการเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู องนกั เรยี น คะแนนรวมดาน ดานความรู (K) ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ช้ัน ป.๕ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ส ๔.๓ (๑) ก. พัฒนาการคดิ * ประเมินผลสัมฤทธิ์ดาน K / P / A - แบบประเมนิ - แบบประเมิน อธิบายพฒั นาการ บทท่ี ๑ ขอ ๑ ทักษะสงั คม คุณลักษณะ ของอาณาจกั รอยธุ ยา ทาํ รายงานเกยี่ วกับ - แบบประเมิน ทพ่ี ึงประสงค และธนบุรโี ดยสงั เขป พฒั นาการของอยธุ ยา ทกั ษะ กระบวนการ ก. พัฒนาการคดิ * บทท่ี ๒ เขียนสรุป เรอื่ งพฒั นาการของ อาณาจักรธนบรุ ี ส ๔.๓ (๒) ก. พฒั นาการคดิ * - แบบประเมิน - แบบประเมนิ อธิบายปจจัยท่ี บทท่ี ๑ ขอ ๒ ทกั ษะสงั คม คณุ ลกั ษณะ สงเสริมความเจรญิ ตอบคําถามที่กาํ หนด - แบบประเมนิ ท่พี ึงประสงค รงุ เรอื งทางเศรษฐกจิ ทกั ษะ และการปกครองของ กระบวนการ อาณาจักรอยุธยา ผฉูสบอบั น ส ๔.๓ (๓) ก. พัฒนาการคิด* - แบบประเมนิ - แบบประเมนิ บอกประวตั แิ ละผลงาน บทท่ี ๓ ขอ ๑ ทกั ษะสงั คม คณุ ลกั ษณะ ของบคุ คลสาํ คญั สมยั สบื คน ผลงานของ - แบบประเมนิ ที่พึงประสงค อยธุ ยาและธนบรุ ที น่ี า บุคคลสําคัญในสมัย ทกั ษะ - แบบประเมนิ ภาคภูมิใจ อยุธยาและธนบุรี กระบวนการ คณุ ลักษณะ ส ๔.๓ (๔) ก. พัฒนาการคดิ - แบบประเมนิ ทีพ่ ึงประสงค อธบิ ายภูมิปญ ญา บทท่ี ๔ ขอ ๑ ทกั ษะสงั คม ไทยทีส่ าํ คัญสมยั ดูภาพภมู ปิ ญ ญาไทย - แบบประเมนิ อยธุ ยาและธนบรุ ที น่ี า สมยั อยธุ ยาและธนบุรี ทกั ษะ ภาคภมู ิใจและควรคา แลวบันทกึ ขอมลู กระบวนการ แกการอนุรกั ษไว สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดา นผลการเรยี นตามตัวชี้วดั สว นท่ี ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนกั เรียน ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ที่นักเรียนเลือก เรื่อง ............................................................. สวนที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจาํ หนวย การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิป์ ระจําหนวยท่ี ๓ สรุปผลการประเมินพฒั นาการเรียนรปู ระจาํ หนว ย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………………….. ผาน ไมผาน ……………………………………………………………………………………………. ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงชือ่ …………………………………………………………… ผูประเมิน / /…………………….. ……………………. …………………… ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงใน แบบบันทึกอื่นที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๑๐๖ ประวัตศิ าสตร ๕

Ẻ·´ÊͺÇÑ´¼ÅÊÁÑ Ä·¸Ôì ·ŒÒÂàÅÁ‹ ตอนที่ ๑ : ๘๐ คะแนน ไดคะแนน ๑. ตอบคาํ ถามตอไปน�้ใหถ กู ตอ ง (๒๐ คะแนน) ๑๐๐.................. คะแนนเต็ม มสสฐ44./..ต11ัวช((12้ีว))ัด ๑) วธิ ีการทางประวัตศิ าสตรหมายถึงอะไร และมขี นั้ ตอนใดบาง ส4.1 (3) ............ว...ิธ...ีก....า...ร....ท....า...ง...ป....ร...ะ...ว...ัต....ิศ....า...ส....ต....ร.... ....ห....ม....า...ย...ถ....ึง........ว...ิธ...ีก....า...ร...ศ....ึก....ษ.....า..ข...อ....ม....ูล....เ.ก....ี่ย....ว...ก....ับ....ป....ร....ะ..ว...ัต....ิค....ว...า...ม....เ..ป....น....ม....า...ข...อ...ง.. .ส....ง่ิ...ต....า..ง....ๆ......ห....ร...อื...ส.....ถ...า...น....ท....ต่ี....า ..ง...ๆ.......ม...ี....๕.......ข..น.้ั ....ต....อ...น........ค....อื .......๑.........ก....า..ร....ก...าํ...ห....น....ด....ห....วั...ข..อ.......๒..........ก....า..ร....ร...ว...บ....ร...ว...ม...ห....ล....กั....ฐ...า...น... .๓.........ก....า...ร...ต....ร....ว...จ...ส....อ....บ....ห....ล....ัก....ฐ...า...น........๔.........ก....า..ร....ต....คี ....ว...า..ม....ข...อ...ม....ูล.......๕.........ก....า...ร...เ..ร...ยี....บ....เ..ร...ยี....ง...แ...ล....ะ..น.....าํ...เ.ส.....น....อ....ข..อ....ม...ลู..................... ................................................................................................................................................................................................................................... ๒) เขียนอธบิ ายประเภทของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร มาพอเขา ใจ …ห…ล…ัก…ฐ…า…น…ท…า…ง…ป…ร…ะว…ัต…ศิ…า…ส…ต…ร…ส……าม…า…ร…ถ…แ…บ…ง…ไ…ด…เ ป…น……๓……ล…ัก…ษ……ณ…ะ…ใ…ห…ญ…ๆ……ด…ัง…น…้ี …………………………………… …๑…. …ห…ล…กั …ฐ…า…น…ท…แ่ี …บ…ง …ต…าม…ช…ว …ง…เว…ล…า……ได…แ…ก……ห…ล…กั …ฐ…า…น…ช…น้ั …ต…น ……แ…ล…ะ…ห…ล…กั …ฐ…า…น…ช…น้ั …ร…อ…ง………………………………… …๒…. …ห…ล…กั …ฐ…า…น…ท…แ่ี …บ…ง …ต…า…ม…ล…าย…ล…กั…ษ……ณ…อ …กั …ษ…ร……ไ…ด…แ ก……ห…ล…กั…ฐ…า…น…ท…เ่ี…ป…น …ต…วั …อ…กั …ษ…ร……แ…ล…ะไ…ม…ใ …ชต…วั…อ…กั …ษ…ร…………. ผฉสู บอับน ๓) เ…๓ข…. …ียหแ…ลลน…ะกั อ…หฐ…ลธา…กันิบ…ฐท…าาแ่ี น…ยบ…สงว…มตา…ยัา…ปม…ชรถว…ะางว…ตสัต…ศิม…อยัา…สงป…ตรก…ะรา…ว ตั…รศิ…ส…าืบส…ตค…ร…น…ไป…ด…รแ …กะ…ว…หัต…ล…ิคกั …ฐว…าาน…ม…ส…เมป…ยั …กน…อ ม…น…ปา…รข…ะอว…ตั…งศิ…ชา…สุม…ต…ชร…น………โ…ด…ย… ใชว ิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร ตองปฏิบตั อิ ยา งไร (เขยี นอธิบายข้นั ตอน) …………๑…. …ก…ํา…ห…น……ด…ห…ัวข…อ…ท…ส่ี…น……ใจ…จ…ะ…ศ…กึ …ษ…า……๒….……ร…ว…บ…ร…ว…ม…ห…ล…ัก…ฐ…า…น…จ…า…ก…แ…ห…ล…ง…ต…า …ง…ๆ……โด…ย…เ…ร…่มิ …ค…น …จ…า…ก …ห…น…งั …ส…อื ……แ…ล…ะ…ค…น …ค…ว…า ข…อ …ม…ลู …จ…า…ก…ส…ถ…า…น…ท…ต่ี …า …ง…ๆ……ท…เ่ี ก…ย่ี …ว…ข…อ …ง……๓…. …ต…ร…ว…จ…ส…อ…บ…ห…ล…กั…ฐ…า…น……โ…ด…ย…ว…เิ ค…ร…า…ะ…ห …ค…วา…ม…ถ…กู …ต…อ…ง……แ…ล…ะค……วา…ม…น…า …เช…อ่ื …ถ…อื …ข…อ…ง…ห…ล…กั …ฐ…า…น……๔…. …ต…คี …ว…าม…ข…อ …ม…ลู ……๕….…น…าํ…เส……น…อ…ข…อ ม…ลู…ท…ไ…่ี ด… ………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔) ความจริงกับขอ เทจ็ จรงิ หมายถึงอะไร และมีความแตกตา งกันอยางไร …………ค…ว…าม…จ…ร…งิ ……ค…อื………ส…ง่ิ …ท…เ่ี ก…ดิ …ข…น้ึ …จ…ร…งิ ……ส…ว… น……ขอ…เ…ท…จ็ …จ…ร…งิ ……ค…อื ……ค…าํ …อ…ธ…บิ …า…ย…ห…ร…อื …ขอ…ว…เิ …ค…ร…าะ…ห…เ …ก…ย่ี …ว…ก…บั …ค…ว…าม…จ…ร…ิง…น……้ัน…ๆ……โ…ด…ย…ค…ว…า…ม…จ…ร…ิง…จ…ะ…ไม…ส…า…ม…า…ร…ถ…แ…ก…ไ…ข…เป…ล……่ีย…น…แ…ป…ล…ง…ไ…ด… …ส…ว…น…ข…อ…เ…ท…็จ…จ…ร…ิง…ส…า…ม…า…ร…ถ …เป…ล…ย่ี …น…แ…ป…ล…ง…ไ…ด… …ห…าก…ม…กี…า…ร…ค…น …พ……บ…ห…ล…กั …ฐ…า…น…ขอ… ม…ลู…ใ…ห…ม… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๐๗ประวตั ิศาสตร ๕

๒. เขยี นอธบิ ายอทิ ธพิ ลของอารยธรรมอนิ เดยี จนี และวฒั นธรรมตา งชาติ ทม่ี ตี อ มฐ./ตัวชวี้ ัด สงั คมไทยและผคู นในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉย� งใตใ นดา นตา งๆ มาพอ ส4.2 (1) ส4.2 (2) เขา ใจ (๕ คะแนน) ๑) ดา นศาสนาและความเชอื่ ……ม…ีก……า…ร…ร……ับ…เ…อ…า…ศ……า…ส……น…า…พ……ร…า…ห……ม…ณ……-…ฮ……ิน…ด……ู ……ท…ํา…ใ…ห…. เกิดความเช่ือในเร่ืองเทพเจา และพระพุทธศาสนาจากอินเดียเขามา....................................................................................................................................................................................................................................... ทําใหพระพุทธศาสนาเปนสวนสําคัญในวิถีชีวิตของคนไทย และรับ....................................................................................................................................................................................................................................... ประเพณถี อื ศีลกนิ เจ ไหวเ จา ไหวบรรพบุรษุ จากจีน....................................................................................................................................................................................................................................... ๒) ดา นการเมอื งการปกครอง …ม…ี…ก…า…ร……ร…ับ……ค……ว…า…ม……เ…ช…ื่อ…เ…ร…่ื…อ…ง…ส……ม……ม…ต……ิเ…ท…พ…………แ…ล……ะ. กฎหมายพระมนธู รรมศาสตรจ ากอนิ เดยี เขา มาเปน แมแ บบการปกครอง....................................................................................................................................................................................................................................... และแมแ บบกฎหมายของไทย พมา เขมร....................................................................................................................................................................................................................................... ผฉูสบอับน ....................................................................................................................................................................................................................................... ๓) ดา นภาษา ……ร…ับ……ภ……า…ษ……า…บ……า…ล……ี-…ส……ัน……ส……ฤ…ต……ม……า…ใ…ช……เ…ป…น……ช…่ื…อ…ค……น…………ช…่ือ……ส……ถ…า……น……ท..ี่ รับภาษาจีนมาใชในภาษาไทย เชน เฮีย ซอ เจ เตา บะหม่ี....................................................................................................................................................................................................................................... รับวรรณคดีวรรณกรรมเขามา เชน รามเกียรต์ิ สามกก ไซอิ๋ว....................................................................................................................................................................................................................................... เปนตน....................................................................................................................................................................................................................................... ๔) ดานการแตง กาย ………ม……กี …า…ร…แ……ต…ง …ก……า…ย…แ…บ……บ……ช…า…ว…อ…ิน……เ…ด…ยี………แ…ล…ะ…ช……า…ว…จ…นี …………………….. โดยนํามาประยกุ ตใหเ ขา กับประเทศไทย....................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................... ๕) ดา นอาหาร ……ม…ก…ี …า…ร…ร……บั …อ…า…ห……า…ร…อ…นิ……เ…ด…ยี………แ…ล…ะ…จ……นี …เ…ข…า …ม…า………เช…น………โ…ร……ต…ี …ก……ว …ย…เ…ต…ย๋ี …ว… …ร…ว…ม…ไ…ป……ถ…ึง……ว…ิธ…ีก…า……ร…ป…ร……ุง…อ…า…ห……า…ร………โ…ด……ย…ใ…ช…เ…ค…ร……ื่อ…ง…เ…ท……ศ…แ…บ……บ……อ…ิน……เด……ีย………ก…า…ร……ป…ร……ุง. อาหารโดยการผัดในกระทะ เปนตน....................................................................................................................................................................................................................................... ๑๐๘ ประวตั ศิ าสตร ๕

๓. เขยี นสรปุ การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยาและธนบรุ มี าพอเขา ใจ (๑๐ คะแนน) ๑) การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยาเปน ราชธานข� องไทย …………พ……ร…ะเ…จ…า …อ…ูท…อ…ง……………… มสฐ4./.ต3วั ช(1วี้ )ัด …ท…ร…ง…ส…ถ…า…ป…น……าก……ร…ุง…ศ…ร…อี …ย…ธุ …ย…า…ขนึ้……เป…น……ร…า…ชธ…า…น……ี เ…ม…อื่ …ป… …พ….…ศ….…๑…๘…๙…๓……เ…พ…ร…า…ะ…เห…น็……ว…า………………………… …ก…ร…งุ …ศ…ร…อี …ย…ุธ…ย…า…เป……น…ท…ที่ …่ีม…คี……วา…ม…อ…ดุ …ม…ส……ม…บ…รู …ณ…… ส……ะด……วก……แ…ก…ก…า…ร…ค…ม…น…า…ค…ม……แ…ล…ะ…ต…งั้ …อ…ย…ู ……………………… …ใน……จ…ุด…ย…ทุ …ธ…ศ…า…ส…ต……ร…ท…ดี่ …ี ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒) การสถาปนาอาณาจกั รธนบุรเี ปนราชธานข� องไทย …ส……ม…เด……็จ…พ…ร……ะเ…จ…า…ต……าก……ส…ิน…. …ม…ห…า…ร…า…ชท……ร…ง…ส…ถ…า…ป…น…า…ก…ร…งุ…ธ…น……บ…รุ …ี …เป……น …ร…า…ช…ธ…าน……ีใ…ห…ม…แ…ท…น…ก…ร…ุง…ศ……ร…อี …ย…ธุ …ย…า……เม…อื่ …ป……พ…….ศ….……๒…๓…๑…๐… …ห…ล…ัง…จ…า…ก…ก…อ…บ……ก…ูเอ…ก……ร…าช…ไ…ด…แ…ล……ว……ท…ร…ง…เห……็น…ว…า…ก…ร…ุง…ศ…ร…ีอ…ย…ุธ…ย…า…ช…ํา…ร…ุด…เ…ส…ีย…ห…า…ย…ม…า…ก……ป…ร……ะก…อ……บ…ก…ับ… …เม…ือ…ง…ธ…น……บ…ุร…เี ป…น……เม…ือ…ง…เ…ล…ก็ ……ด…ูแ…ล…ป…อ…ง…ก……ัน…ง…า…ย…ก…ว…า…แ…ล…ะ…ย…งั …ต…ั้ง…อ…ย…ูใ…น…จ…ดุ……ย…ุท…ธ…ศ…า…ส…ต…ร…ท…ีด่……ี …………….. ๔. เขียนแผนผังความคิดแสดงปจจัยท่สี งเสริมความเจริญรงุ เรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจกั รอยธุ ยา (๕ คะแนน) ผฉูสบอบั น มกี ารขยายอาํ นาจ วางระบบการปกครอง สรางสมั พนั ธไมตรี มสฐ4./.ต3วั ช(2้ีว)ดั ไปยงั ดินแดนอื่น ในราชอาณาจกั ร ที่ดีกบั ตา งชาติ การมีผนู าํ ทม่ี ีความสามารถ ปจจัยที่สงเสริมความเจรญิ รงุ เรอื ง กอบกอู ิสรภาพจาก ทางเศรษฐกิจและการปกครองของ การเสยี กรงุ คร้งั ท่ี ๑ อาณาจกั รอยธุ ยา การมที ตี่ ้ังอยใู นทําเลที่ดี เปน เมืองทา ทาํ ให สามารถติดตอรับสนิ คา ตางชาติตดิ ตอคา ขาย ที่ตา งชาติตอ งการจาก ไดส ะดวก หวั เมืองไดส ะดวก ๑๐๙ประวัติศาสตร ๕

๕. เขยี นสรปุ ผลงานของบคุ คลสาํ คญั ทก่ี าํ หนด (๓๐ คะแนน) (ตัวอยาง) มสฐ4./.ต3ัวช(3้วี )ดั ๑) พระเจา อทู อง ………………………………………………………………………………………………………………………………………… - สถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาเปนราชธานี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. - วางระเบยี บการปกครองแบบจตุสดมภ....................................................................................................................................................................................................................................... ๒) สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ………………………………………………………………………………………………………………………… - รวมอาณาจักรสโุ ขทัยเขากับอยธุ ยา....................................................................................................................................................................................................................................... - กาํ หนดศักดนิ าของบคุ คลในสงั คม....................................................................................................................................................................................................................................... ๓) สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ………………………………………………………………………………………………………. - กอบกูเอกราชของกรุงศรอี ยุธยาครง้ั ท่ี ๑....................................................................................................................................................................................................................................... - กระทาํ ยทุ ธหตั ถีชนะพระมหาอปุ ราชา....................................................................................................................................................................................................................................... ผฉสู บอบั น ๔) สมเด็จพระนารายณม หาราช …………………………………………………………………………………………………… - สง ราชทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรัง่ เศส....................................................................................................................................................................................................................................... - พระราชนิพนธว รรณคดีตางๆ....................................................................................................................................................................................................................................... ๕) สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช ……………………………………………………………………………………………….. - สถาปนากรุงธนบรุ เี ปน ราชธานี....................................................................................................................................................................................................................................... - กอบกเู อกราชของกรงุ ศรีอยุธยาครั้งที่ ๒....................................................................................................................................................................................................................................... ๖) ชาวบา นบางระจนั …………………………………………………………………………………………………………………………….. - รวมตัวกันตอตา นกองทัพพมา ดว ยความกลาหาญ และสามัคคี....................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................... มฐ./ตัวชว้ี ัด ๖. เขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงภมู ปิ ญ ญาไทยทส่ี าํ คญั สมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี พรอ ม ยกตวั อยา งประกอบ โดยจดั ทาํ ลงในสมดุ (๑๐ คะแนน) ส4.3 (4) ๑๑๐ข้นึ ปอรยะวูกตั ิศบัาสดตรุล ๕ยพินจิ ของผูสอน

กา ✗ คําตอบท่ถี กู ทส่ี ดุ ตอนท่ี ๒ : ๒๐ คะแนน ๑. หลักฐานในขอ ใดเปน หลักฐานในสมยั ๖. ขอใดเปนวฒั นธรรมที่ไดร ับอิทธิพล ประวตั ศิ าสตร มาจากจนี ✗ก. การกนิ เจ ✗ก. ศิลาจารกึ พอ ขุนรามคําแหง ข. การเลน น้ําสงกรานต ค. การกราบไหวผ ใู หญ ข. เครอื่ งปนดนิ เผาที่บา นเชียง ง. การจัดงานขนึ้ บา นใหม จ. อุดรธาน� ๗. คนไทยในภาคใตไ ดรบั อทิ ธพิ ล ดานภาษามาจากวัฒนธรรมใด ค. ภาชนะดนิ เผา ทีบ่ า นเกา ก. วฒั นธรรมจนี จ. กาญจนบรุ ี ข. วฒั นธรรมไทย ✗ค. วัฒนธรรมอินเดยี ง. กําไลสําริด ทบ่ี านยางทองใต ง. วัฒนธรรมตะวันตก จ. เชียงใหม ๘. ส�งิ กอ สรางในขอ ใดที่ไมไดรับอิทธพิ ล จากอารยธรรมอนิ เดยี ผฉสู บอับน ๒. ขั้นตอนสดุ ทา ยของวิธีการทาง ประวัตศิ าสตรคอื ขอใด ก. ปราสาทนครวดั -นครธม ก. การตรวจสอบหลกั ฐาน ข. เจดยี ชะเวดากอง ข. การรวบรวมขอมลู ✗ค. กําแพงเมอื งจีน ง. บุโรพุทโธ ✗ค. การนําเสนอขอมลู ๙. ในสมยั อยธุ ยาตอนตน การปกครอง สว นกลาง กรมใดมีหนา ท่ี ง. การตคี วามขอมลู ปราบปรามโจรผรู า ย ๓. ในการศึกษาเร่อื งราวทางประวัติศาสตร ✗ก. กรมเวียง ข. กรมวัง ค. กรมคลงั ง. กรมนา ความจริง หมายถึงสิ�งใด ๑๐. เมอื งลูกหลวงในสมัยอยธุ ยาตอนตน ก. เรือ่ งราวที่เลาตอ ๆ กนั มา คอื เมอื งใด ข. เรือ่ งราวทจี่ นิ ตนาการไว ✗ก. เมืองหนา ดาน ข. หวั เมอื งชัน้ ใน ✗ค. เรอื่ งราวที่เกดิ ข้นึ จริง ค. หัวเมืองช้ันนอก ง. หวั เมอื งประเทศราช ง. เรื่องราวทน่ี า เชอื่ ถอื ๑๑๑ประวตั ศิ าสตร ๕ ๔. คาํ อธบิ ายเรอ่ื งราวหรือเหตกุ ารณ ตางๆ ท่ีเกดิ ขึ้น เรยี กวา อะไร ก. ความจริง ✗ข. ขอเท็จจริง ค. ขอสงสยั ง. คาํ ขยายความ ๕. สินคาในขอใดไมม ขี ายในสมัย อยธุ ยา ก. ไมสัก ข. ไมก ฤษณา ค. ไมฝ าง ✗ง. ไมอดั

๑๑. พระมหากษตั รยิ พ ระองคใดเปน ๑๖. ขอ ใดไมใชแ หลงรายไดใ นสมยั อยธุ ยา ผสู ถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา ก. สวย ✗ก. พระเจาอทู อง ✗ข. ภาษี ข. เจา สามพระยา ค. ฤชา ค. ขนุ หลวงพองั�ว ง. อากร ง. เจา นครอนิ ทร ๑๗. ขอ ใดคือสถาปตยกรรมทส่ี าํ คัญของ ๑๒. ขอ ใดเปน การปฏบิ ตั ิรูปการปกครองสว น สมยั ธนบุรี ภูมภิ าคสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ก. พระปรางคทวี่ ดั พทุ ไธศวรรย ✗ก. ยกเลกิ เมอื งหนา ดา น ข. พระเจดียว ดั มหาธาตุ ข. ยบุ หนวยงานจตุสดมภ ค. มณฑปวัดศรปี ทุม ค. ใหส มหุ พระกลาโหมดแู ลฝา ยทหาร ✗ง. พระตําหนักเกง คู ง. ใหเมืองประเทศราชปกครองตนเอง ๑๘. ขอ ใดไมใ ชวรรณกรรมในสมัยอยธุ ยา ๑๓. ขอใดคือสถาปตยกรรมที่สําคัญของสมัย ก. ลลิ ิตยวนพาย อยุธยา ข. หนังสือแบบเรียนจินดามณ� ค. นิทานคํากลอนเรือ่ งขนุ ชา งขุนแผน ผฉูส บอับน ✗ก. พระปรางคท ่ีวัดพทุ ไธศวรรย ✗ง. นิราศพระยามหานภุ าพไปเมอื งจนี ข. พระเจดียว ดั มหาธาตุ ๑๙. บานประตูประดับมุกท่วี ิหารหลวงวดั ค. มณฑปวัดศรีปทมุ ง. พระตําหนักเกง คู พระศรรี ตั นมหาธาตุ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ๑๔. วีรกรรมของชาวบานบางระจันแสดงออก จดั เปนผลงานประเภทใด ถึงคณุ ธรรมตางๆ ยกเวน ขอ ใด ก. สถาปต ยกรรม ก. ความกลาหาญ ข. ประติมากรรม ข. ความสามคั คี ✗ค. ประณต� ศิลป ค. ความเสยี สละ ง. จิตรกรรม ✗ง. ความเมตตา ๒๐. ยคุ ทองของวรรณกรรมเกดิ ขน้ึ ในสมยั ใด ๑๕. พระยาตากสามารถกอบกกู รงุ ศรอี ยธุ ยา ก. สมัยสมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๑ กลบั คนื จากพมา ไดภ ายในระยะเวลาใด ข. สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ก. ๗ วัน ✗ข. ๗ เดือน ✗ค. สมัยสมเด็จพระนารายณม หาราช ค. ๗ ป ง. ๑๕ ป ง. สมยั สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช ๑๑๒ ประวัตศิ าสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ ªÔ¹é ·Õè ñ »ÃÐàÁÔ¹¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍ‹Ò¹ ¤Ô´ÇàÔ ¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢ÂÕ ¹ÊÍè× ¤ÇÒÁ อานบทเพลง “บางระจนั วันเพญ็ ” แลว ตอบคาํ ถาม คาํ รอง- ทาํ นอง ยืนยง โอภากลุ บางระจันวันเพญ็ บางระจนั คืนพระจนั ทรงามเดน ฝนพรางพราํ ฉา่ํ เย็นเย่ืองยทุ ธภมู สิ งคราม มนี ายจนั หนวดเข้ียวระบอื นาม รวมพวกข้นึ ทวงถามหาความเปนไท นิมนตพระอาจารยธรรมโชติ สละละท้งิ โบสถเ ปน มิ่งขวญั กาํ ลังใจ หวงั ตอ กรทัพพมาท้ังนอ ยใหญ ทข่ี มเหงนาํ้ ใจปลนฆา เดก็ ผหู ญิง บางระจันเขารวมกนั เปน หน่งึ มตี นเปนทพี่ ่งึ ยอดนกั สเู มอื งสิงห ทัง้ เจ็ดครง้ั รบพมา จนลมกล้งิ บางระจันเกงจริงจึงตอ งยงิ ดวยปน เอาปนใหญยิงใสกันตมู ตาม ปนไทยแตกเหลือแตดามเพราะเพง่ิ หลอเมอื่ วานซืน กก็ รงุ ศรีมิใหเ ขาหยบิ ยมื ปน จึงมิอาจหยัดยืนรักษาคา ยบางระจัน * บางระจัน บางระจนั บางระจัน มอิ าจยนื อยูถงึ วนั เพญ็ เดือนสบิ สอง (ซ้ํา ๔ คร้งั ) (พูด) เพ่อื ผองเพอื่ นกูจะสูห ลงั ชนฝา เพอ่ื ลูกเมยี กูจะสูสุดใจกลา เพือ่ พ่นี อ งกจู ะสสู ุดแรงหลา เพอื่ บา นเมอื งกจู ะสจู นสนิ้ เลอื ดหยดสดุ ทา ย ฮะ ฮะ ฮะ ฮา ในหัวใจสวนลึกถงึ ตอ งตายไมเสียใจ ผฉสู บอับน เปนปจอคืนเดือนเจ็ดเผดจ็ ศกึ เกิดมาสูสมศักดศ์ิ รีลูกผชู าย แมรักษาไวไมไ ดแผน ดนิ ไทยหนน้ี อกี ๘ เดือน ตอมาย่งิ นาเศรา พอหมดสิน้ ลมหนาวไทยตอ งเสยี กรุงศรี อยุธยาอนั เปนราชธานี ในการศึกครง้ั น้มี ีอทุ าหรณส อนใจ (ซํา้ * ๔ ครงั้ ) ๑) เน้อ� เพลงน้ม� ีใจความสําคญั วา อยา งไร …(…ต…ัว…อ…ย…า…ง…)…เ…พ…ล…ง…น……ีก้ …ล…า…ว…ถ…งึ …ค……วา…ม…ก……ล…า …ห…า…ญ…ข…อ…ง…….. …ช…าว…บ……า น……บ…า…ง…ร…ะ…จ…ัน…ท……ช่ี …ว …ย…ก…ัน…ส……ูร…บ…ก…ับ……พ…ม…า …เพ……ือ่ …ป…ก…ป……อ …ง…แ…ผ…น …ด…นิ……………………………………………………… ๒) นักเรียนคดิ วา สิง� ทผ่ี ูแ ตงเพลงน�ต้ องการใหเ กดิ ขึ้น คือสิ�งใด ………ท…ุก…ค…น……ค…ว…ร…ม…ี …………………….. …ค…ว…า…ม…ส…า…ม…ัค…ค……แี …ล…ะ…เส…ยี……ส…ล…ะ…เพ……ือ่ …ป…ก…ป……อ …ง…ผ…ืน…แ…ผ…น……ด…นิ …ใ…ห…เ…ห…ม…อื…น……ก…ับ…ช…า…ว…บ…า…น……บ…า…ง…ร…ะ…จ…นั ……………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓) เมื่ออา นบทเพลงน�้แลว นกั เรยี นมีความรสู ึกอยา งไร ……ซ…า…บ……ซ…้ึง…ใ…น…บ……ุญ……ค…ุณ……ข…อ…ง…ช…า…ว…บ…า…น…. …บ…า…ง…ร…ะ…จ…ัน…ท…สี่……รู …บ…จ…น……ต…วั …ต…า…ย…แ…ล…ะ…เ…ก…ดิ …ค…ว…า…ม…ร…ัก…ช…า…ต……บิ …า…น…เ…ม…อื …ง………………………………………………………… ๔) นกั เรยี นคดิ วา ในยุคปจ จุบนั คนไทยจะชวยปกปอ งชาติบา นเมืองไดอ ยางไรบา ง …(ต……ัว…อ…ย…า…ง…)……ท…ุก……ค…น…ค……ว…ร…ม…ีค…ว…า…ม…ส……า…ม…ัค…ค…ี ……ร…ัก…ใ…ค…ร………ป…ร…อ…ง……ด…อ…ง…ก…ัน………แ…ล……ะช…ว…ย…ก……ัน…พ…ั…ฒ…น……า …บ…า…น…เ…ม…ือ…ง…ใ…ห…ก…า …ว…ห…น……า…ม…่ัน……ค…ง…ต…อ…ไ…ป……ร…ว…ม…ท……้ัง…ม…ีค…ว…า…ม…ซ…ือ่ …ส…ัต……ย…ส…ุจ…ร…ติ……ต…อ …ป…ร…ะ…เ…ท…ศ…ช…า…ต…ิ …………… ๑๑๓ประวตั ศิ าสตร ๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ ªéÔ¹·èÕ ò »ÃÐàÁ¹Ô ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍ‹Ò¹ ¤Ô´ÇÔà¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×Íè ¤ÇÒÁ อา นบทความตอ ไปน�้ แลว ตอบคําถาม ความรจู ากหลุมศพ ในระยะสองสามปที่ผานมา การลกั ลอบขุดหาโบราณวตั ถใุ นพน้ื ทจ่ี งั หวดั ลพบุรี ปรากฏเปนขาวบอยครั้ง การขุดคนกินอาณาบริเวณกวางขวางเกือบทุกอําเภอใน จงั หวดั ลพบรุ ี โดยเฉพาะลกั ลอบขดุ มากทสี่ ดุ ในเขตทรี่ าบลอนลกู คลนื่ ทางดา นเหนอ� กลาง และตะวนั ตก ไดแ ก อําเภอโคกสาํ โรง สระโบสถ หนองมวง ชัยบาดาล และ ทาหลวง ในระยะตอมาแมหนวยงานอนุรักษมรดกวัฒนธรรมของชาติท่ีรับผิดชอบ จะไดปองปรามดูแลไมใหล ักลอบขดุ แตด เู หมือนจะไมส ามารถยตุ ิได กลับทวีความ รุนแรงและขยายแหลงขุดคนมากขึ้นเรื่อยๆ จนเปนไปไดวาองคความรูที่จะไดจาก หลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตรบริเวณน�้จะถูกทําลายและสูญหายไปจาก ประเทศไทย ดว ยเหตนุ ้� ตราบทหี่ นว ยงานของรฐั ยงั ไมส ามารถแกไ ขระบบการทาํ งาน ขอ ออ นของตวั บทกฎหมาย หรอื แมแ ตค วามสตั ยซ อ่ื สจุ รติ ของบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การปกปก รกั ษาสมบตั ขิ องชาตไิ วไ ด การเรง บนั ทกึ ขอ มลู โบราณวตั ถทุ ผ่ี ลู กั ลอบขดุ ขดุ ผฉูส บอบั น คน ได อาจเปน สงิ� จําเปน แมไมสมบูรณถูกตองตามหลกั วิชาการทางดานโบราณคดี แตอยางนอยวันน�้เราไดรูวาโบราณวัตถุเหลาน้ันขุดพบได ณ บริเวณใด มีรูปราง ลกั ษณะอยา งไร เพอ่ื นาํ ไปเปรยี บเทยี บปะตดิ ปะตอ กบั หลกั ฐานทม่ี อี ยเู ดมิ หรอื จะมตี อ ไปในพ้นื ท่อี นื่ ๆ คัดลอกบางตอนจาก เรอื่ งความรูจ ากหลมุ ศพ ในหนังสือชดุ นกั เดนิ ทาง…เพอื่ ความเขาใจในแผนดิน เรอ่ื ง ลพบรุ ี ๑) ใจความสาํ คญั ของบทความตอนนค้� อื อะไร……………ใ…น…ป……จ …จ…บุ …นั……ม…กี …า…ร…ล……กั …ล…อ…บ……ข…ดุ …โ…บ…ร…า…ณ……ว…ตั …ถ…มุ…า…ก… หนวยงานของรัฐจึงควรหาทางแกไขและดําเนินการจัดทําบันทึกขอมูลโบราณวัตถุที่......................................................................................................................................................................................................................................... ถูกลักลอบขุด......................................................................................................................................................................................................................................... ๒) นกั เรยี นคดิ วา สงิ� ทผี่ เู ขยี นบทความตอ งการใหเ กดิ ขนึ้ คอื สงิ� ใด …………ผ…เู ข…ยี…น……ต…อ …ง…ก……าร…ใ…ห…… ……….. .ห....น.....ว....ย....ง...า...น.....ข....อ....ง...ร....ัฐ....จ....ัด....ท.....ํา...บ.....ัน.....ท....ึก.....ข...อ....ม....ูล....โ...บ.....ร....า...ณ......ว...ัต.....ถ....ุท....่ีม....ีผ....ูล.....ัก....ล.....อ...บ.....ข....ุด....ค.....น.....ไ..ด..... .....เ..พ....่ือ....เ..ก.....็บ.....ไ..ว....เ..ป....น.... หลกั ฐานตอไป......................................................................................................................................................................................................................................... ๓) เมอ่ื อานบทความน้แ� ลว นกั เรยี นคดิ วา จะมวี ธิ กี ารแกปญ หาไดอ ยางไรอกี บา ง (ตัวอยาง) ปลูกฝงจิตสํานึกใหประชาชนรวมกันอนุรักษโบราณวัตถุของทองถิ่นตน......................................................................................................................................................................................................................................... และจัดใหมีอาสาสมคั รในชุมชนชวยตรวจสอบวามีผูกระทาํ ผดิ บางหรือไม......................................................................................................................................................................................................................................... ๑๑๔ ประวัตศิ าสตร ๕

ประวตั ิศาสตร โครงงานที่ ๑ : บุคคลสําคัญในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี จุดประสงค : เหน็ คุณคาและภูมิใจในประวตั แิ ละผลงานของบุคคลสําคัญ ภาระงาน ตวั อยาง ในสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ีทีเ่ ปนแบบอยางในการดําเนนิ ชวี ติ : ศกึ ษา คน ควา ประวตั บิ คุ คลสาํ คญั ในทอ งถน�ิ แลว จดั ทาํ เปน รายงาน และนาํ เสนอผลงาน หัวขอในการคนควา ๑. รายช่อื บุคคลสําคญั ในสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี ผฉูส บอับน ๒. ประวตั แิ ละผลงานของบคุ คลสําคัญในทองถ�ิน ๓. แนวทางในการดําเนนิ ชวี ิตและคุณธรรมของบุคคลสําคญั ในสมัยอยุธยาและธนบรุ ี ๔. ความภาคภูมิใจของนักเรยี นที่มตี อ บุคคลสําคัญในสมัยอยุธยา และธนบุรี ๕. หลกั ปฏบิ ัตทิ ี่ไดจ ากการศึกษาประวัติบคุ คลสําคญั ในสมัยอยธุ ยา และธนบรุ ี ๖. แหลง คนควาและอางองิ โครงงานท่ี ๒ : ภมู ปิ ญ ญาไทยในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี จุดประสงค : บอกภมู ิปญ ญาไทยท่สี าํ คัญในอดตี ท่สี ง ผลตอการดาํ เนนิ ชีวติ ภาระงาน ของคนในปจจุบนั และเปน สง�ิ ทนี่ า ภาคภูมิใจและควรคา แก การอนุรกั ษ : ศึกษาภมู ิปญญาไทยสมัยอยธุ ยาและธนบุรีในดา นตา งๆ ท่สี ง ผล ตอการดําเนนิ ชวี ติ ของคนในปจ จุบันและภูมปิ ญ ญาทองถ�ินใน ปจ จบุ ัน แลวจัดทาํ เปน รายงาน และนาํ เสนอผลงาน ตัวอยา ง หวั ขอ ในการคนควา ๑. ภูมปิ ญ ญาไทยในสมยั อยธุ ยาและธนบุรี - ภูมิปญญาดา นศิลปวฒั นธรรม - ภมู ปิ ญ ญาดา นศาสนา ๒. ผลท่เี กดิ จากภูมิปญ ญาในอดตี ที่มตี อ ภูมปิ ญ ญาไทยในปจ จบุ นั ๓. แนวทางในการอนุรักษภมู ปิ ญ ญา ๔. แหลงคน ควา และอางองิ หมายเหตุ โครงงานท่ีกําหนดขึ้นน้� เปนเพียงโครงงานเสนอแนะเทาน้ัน นักเรียนไมจําเปนตองทําทุกโครงงาน แตใหเลือกทําโครงงานท่ีตนสนใจ หรอื คดิ หัวขอ โครงงานขึน้ เองก็ได ๑๑๕ประวตั ศิ าสตร ๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡¨Ô ¾Íà¾Õ§ กจิ กรรม : ภมู ิปญ ญาของชมุ ชน จดุ ประสงค : นําหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ภาระงาน : ๑. แบงกลุม ใหแตละกลุมใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาสืบคน เกีย่ วกับภูมิปญญาของชมุ ชน ๒. รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับภูมิปญญาเหลาน้ี และวิเคราะหวา ในปจจบุ ันภูมปิ ญ ญาเหลา น้ีไดรับการสงเสรมิ หรือไม อยา งไร ๓. รวมกันเสนอแนะแนวทางในการอนุรักษภูมิปญญาเหลานี้ให อยูคูก บั ชุมชน ๔. ชวยกันนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษาคนความาจัดทําปายนิเทศ เพ่ือเผยแพรความรใู หก ับคนในชมุ ชน ผฉูสบอบั น ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒèµÔ ÍÒÊÒ กิจกรรม : พ่เี ขียนนองอาน จดุ ประสงค : นาํ ความรทู างประวตั ศิ าสตรม าถายทอดเปนหนงั สือการต นู ภาระงาน : ๑. แบงกลุม ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลประวัติและผลงานของ บุคคลสําคญั สมัยอยุธยาหรอื สมยั ธนบุรี มา ๑ ทาน (ไมซาํ้ กัน) ๒. นําขอมลู มาเขียนถา ยทอดเปนการตนู ชวี ประวัติ และวาดภาพ ประกอบ ๓. จัดทาํ เปนรูปเลม ใหสวยงาม โดยใชค อมพิวเตอร ๔. รวบรวมไปใหนองๆ ในช้ัน ป. ๑-๔ อา น เพ่อื แบงปน ความรู ๑๑๖ ประวัติศาสตร ๕