ก จกรรมส งเสร ม การด านการเข ยน ปฐมว ย

“เด็กปฐมวัยทุกคนไดรบั บริการการศึกษาอยา งเทา เทียม มีพัฒนาการlสมวัยรอบดาน เปนคนดี มีวินัย เปน พนื้ ฐานความเปนพลเมืองคุณภาพ”

สวนที่ 6 การแปลงยทุ ธศาสตรสกู ารปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

การแปลงแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาไปสูการปฏิบัติจําเปนตองใหความสําคัญตอ การบริหารจัดการเพ่ือใหเกิดการประสานความรวมมือในการแปลงยุทธศาสตรการพัฒนาไปสูการจัดทํา แผนงานและโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งมีการพัฒนาระบบขอมูลและการติดตามประเมินผล การดําเนินงานตามแผนอยางเปนระบบเพื่อใหเกิดผลในทางปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรมซึ่งไดกําหนด รายละเอียดดงั นี้

วตั ถปุ ระสงค

1. เพอ่ื เสรมิ สรา งความรแู ละความเขาใจรว มกันขององคกรท่ีเก่ียวของในเร่ืองแนวคดิ และ สาระสําคัญ ของยทุ ธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษา

2. เพื่อปรบั กระบวนการและกลไกการบริหารจัดการใหสามารถสนับสนนุ การแปลง แผนพัฒนายุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาไปสกู ารปฏิบัติไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ

3. เพอ่ื ใหมีการติดตามประเมินผลอยา งเปนระบบโดยมีการกําหนดดัชนชี ้ีวัดเปน เครื่องมือ

เปาหมาย

1. องคกรท่ีเกี่ยวของประกอบดวยสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา สถานศึกษา และภาคสวน ภายนอกท่ีเกี่ยวของมีความรูความเขาใจในแผนยุทธศาสตรก ารพฒั นาและมีสวนรวมในกระบวนการแปลง แผนไปสูการปฏิบัติมีกลไกและกระบวนการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและมีการจัดทํา แผนงานและโครงการขององคกรท่เี กีย่ วของในทกุ ระดบั ท่ีสอดคลองกับเปา หมายและตวั ชีว้ ดั

2. กาํ หนดเครอ่ื งช้วี ดั ผลสาํ เร็จของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาไดอยางเปน รปู ธรรม

แนวทางการดาํ เนนิ การ

เพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมายดังกลาวจึงวางมาตรการและกําหนดแนวทาง การแปลงแผนยทุ ธศาสตรไ ปสกู ารปฏบิ ัตแิ ละการติดตามประเมนิ ผลดงั นี้

1. เสริมสรางความเขาใจในแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาพรอมกําหนดแนวทาง ในการบริหารจัดการเพื่อแปลงแผนไปสูการปฏิบัติเพ่ือใหเกิดความเขาใจรวมกันขององคกรที่เกี่ยวของ ท้ังภายในและภายนอกใหมีความพรอมและมีสวนรวมในการแปลงแผนไปสูการปฏิบัตไิ ดอ ยา งเปน รปู ธรรม

1.1. สรางความเขาใจรวมกันเก่ียวกับแนวคิดและสาระสําคัญของแผนและยุทธศาสตร การพัฒนาโดยการจัดเวทีสรางความเขาใจในภารกิจเปาหมายและยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษา ใหกับ หนวยงานที่เก่ียวของท้ังสวนกลางและภูมิภาคทุกภาคสวนใหทราบถึงบทบาทความรับผิดชอบของตน ทจ่ี ะสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานตามแผนยทุ ธศาสตรใหเกดิ ผลในทางปฏบิ ตั ิ

แผนพัฒนาการศึกษาเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2562– 2564 43

“เด็กปฐมวัยทุกคนไดรบั บริการการศึกษาอยา งเทา เทียม มีพัฒนาการlสมวัยรอบดา น เปน คนดี มีวินัย เปน พน้ื ฐานความเปนพลเมืองคุณภาพ”

1.2. ผลักดันระบบงบประมาณและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรใหสอดคลองกับแนวทาง ของแผนงานและโครงการในแตล ะยุทธศาสตรโดยเนน ผลลัพธของการดาํ เนินงานเปน หลัก

1.3. ปรับวิธีการวางแผนเกี่ยวกับการศึกษาในสถานศึกษาแตละระดับและการจัดทํา งบประมาณโดยกาํ หนดพืน้ ทเ่ี ปาหมายรวมกนั (Area /Function / Participation: AFP) ทเ่ี นน การมสี วนรวม

1.4. สงเสริมใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กลุมโรงเรียนและโรงเรียนในสังกัดจัดทํา แผนยุทธศาสตรใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษารวมทั้งสามารถเช่ือมโยงและประเมินผล งานของหนวยงานตามแผนยุทธศาสตรที่กําหนดไวแ ละนําไปสกู ารพิจารณาการสนับสนุนทรัพยากรไดอยาง มปี ระสิทธภิ าพ

1.5. กําหนดมาตรการในการประชาสัมพันธและสรา งบรรยากาศยุทธศาสตรอยางตอ เนื่อง ผานสื่อภายในองคกรผานกิจกรรมตางๆเพ่ือกระตุนปลุกเราและขับเคลื่อนงานตามแผนยุทธศาสตรอยาง ตอ เนอื่ ง

2. พัฒนากระบวนการจัดทําแผนงาน/โครงการของหนวยงานที่เกี่ยวของในลักษณะ บรู ณาการพรอ มกับมีการจดั ลําดับความสาํ คัญเพอ่ื เปน เครื่องมือในการประสานแผนไปสูก ารปฏิบัติ

2.1. สนับสนุนการจัดทําแผนงาน/โครงการในลักษณะการบูรณาการและประสานงาน ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภาครัฐเอกชนและชุมชนที่เก่ียวของกับภารกิจและยุทธศาสตร การพัฒนาการศกึ ษา

2.2. กําหนดขั้นตอนของกระบวนการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการใหชัดเจนมุงเนน ท่ีการสรางกระบวนทัศนคติใหม (Paradigm Shift) แกผูปฏิบัติมีการจัดลําดับความสําคัญของภารกิจ และกิจกรรมที่มุงผลสัมฤทธกิ์ ับระบบการจัดสรรงบประมาณเพ่อื ใหเกดิ ประโยชนส ูงสดุ ในการดําเนนิ งาน

2.3. การติดตามตรวจสอบผลที่ไดจากการดําเนินงานแผนงาน/โครงการวาสามารถ ตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษารวมทั้งสามารถติดตามและประเมนิ ผลไดอยางเปนรูปธรรม ทนั สมยั ดว ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

3. พัฒนาระบบและกลไกการติดตามประเมินผลรวมท้ังกําหนดดัชนีช้ีวัดความสําเร็จของ แผนงาน/โครงการใหส อดคลอ งกบั แนวทางการพัฒนาในแตล ะยทุ ธศาสตร

3.1. ประสานการติดตามประเมินผลและตรวจสอบผลงานใหเปนมาตรฐานเดียวกันและ เปน เครอื ขา ยเชือ่ มโยงกนั เพือ่ นาํ มาเปน ขอมูลในการประสานแผนงาน แผนคน และแผนเงนิ อยางเปนระบบ

3.2. สนับสนุนใหหนวยงานท่ีเก่ียวของดําเนินการติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการ มีการกาํ หนดตวั ชว้ี ัดและระบบประเมนิ ผลงานท่ีเนนผลลัพธข องงานเปนหลัก

3.3. นําผลที่ไดจากการติดตามประเมินผลมาปรับปรุงแนวทางการจัดทําแผนงาน/ โครงการเพ่ือใหบรรลผุ ลตามวตั ถุประสงคท ีส่ อดคลอ งกับวิสยั ทัศนข องการพฒั นาอยางตอเนือ่ ง

3.4. พัฒนาองคความรูและเสริมสรางความเขาใจเรื่องการติดตามประเมินผลและ การกําหนดดชั นีช้ีวัดแกหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพื่อสรางทักษะในการติดตามประเมินผลและสามารถนาํ มาใช ประโยชนรวมกันอยางเปน รูปธรรม

3.5. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานตามยุทธศาสตร การพัฒนาการศึกษาอยางตอเนื่องและสนับสนุนใหมีการเชื่อมโยงเปนเครือขายเพื่อใชประโยชนรวมกัน ในทุกระดับโดยเฉพาะการพัฒนาฐานขอมูลเพ่ือประกอบการจัดทําแผนงาน/โครงการและการติดตาม ประเมนิ ผลและเชอ่ื มโยงสูการตัดสนิ ใจทางการบรหิ าร

แผนพัฒนาการศึกษาเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2562– 2564 44

“เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับบริการการศึกษาอยา งเทาเทียม มีพัฒนาการlสมวัยรอบดา น เปน คนดี มีวนิ ัย เปนพ้ืนฐานความเปนพลเมืองคุณภาพ”

4. แนวทางการแปลงแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาสูการปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผลในโครงการเรง ดวน

ในรูปแบบของการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติจะยดึ การมุงท่ีผลสัมฤทธข์ิ องแผนยุทธศาสตร เปนสําคัญ (Goal Focus) โดยการนําเปาประสงคมาเปนประเด็นหลักจากน้ันจึงกําหนดระบบวัดผล ประกอบดวยตัวชว้ี ัดและคาเปาหมายพรอมกําหนดระบบปฏิบัตกิ ารทางยุทธศาสตรซ่งึ ประกอบดวยกลยทุ ธ แผนงานโครงการและผูรบั ผดิ ชอบ

แผนพฒั นาการศึกษาเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2562– 2564 45

“เดก็ ปฐมวัยทุกคนไดร้ ับบรกิ ารการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพอยา่ งเทา่ เทียม มพี ัฒนาการlสมวยั รอบด้าน เป็นคนดี มีวนิ ยั เป็นพ้นื ฐานความเปน็ พลเมอื งคุณภาพ”

ภาคผนวก

แผนพฒั นาการศกึ ษาเดก็ ปฐมวยั จังหวดั พัทลงุ พ.ศ.2562 – 2564 46

“เดก็ ปฐมวยั ทุกคนไดร้ บั บรกิ ารการศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพอย่างเท่าเทียม มีพฒั นาการlสมวยั รอบดา้ น เปน็ คนดี มีวนิ ัย เปน็ พ้นื ฐานความเป็นพลเมืองคุณภาพ”

คาอภธิ านศพั ท์

1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงหกปีบริบูรณ์ และให้หมายความรวมถึงเด็กทารกใน ครรภม์ ารดาต้งั แต่ปฏิสนธจิ นถงึ ก่อนคลอดดว้ ย

2. วัยทารก หมายถึง เด็กที่มีอายุต้ังแต่แรกเกิดถึงสองปี โดยเด็กท่ีมีช่วงอายุหนึ่งเดือนแรกมักเรียกว่า เด็กแรกเกิด

3. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รบั บริการการศึกษาอย่างเท่าเทียม หมายถึง เด็กปฐมวัยทุกคนกลมุ่ อายุ 0 – 6 ปี ของจงั หวดั พัทลุง ไดเ้ ขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาปฐมวัยอย่างเทา่ เทียม

4. มีพัฒนาการสมวัยรอบด้าน หมายถึง เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 (หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ส่าหรับเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ส่าหรับเด็กอายุ 3 – 6 ปี มีทักษะพ้ืนฐาน ด้านภาษาและการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ธรรม หมายถึง การกระท่าหรือการปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลของการกระท่าน้ันๆ ถ้ามีการกระท่า ที่ดีย่อมกอ่ ใหเ้ กิดผลที่ดี

6. จริยธรรม หมายถึง การแสดงออกทางร่างกายในลักษณะที่ดีงามถูกต้อง ที่บุคคลพึงกระท่าต่อ ตนเองและผู้อ่นื เพือ่ ก่อให้เกิดความสงบสขุ และความเจรญิ ก้าวหน้าตอ่ ตนเองและสังคม

7. เด็กปฐมวัยทกุ คนไดร้ ับบรกิ ารการศกึ ษาอย่างเท่าเทยี ม หมายถึงเดก็ ปฐมวัยทกุ กล่มุ อายุ 0 – 6 ปี ของจังหวัดพทั ลงุ รวมถงึ เด็กพเิ ศษ เด็กดอ้ ยโอกาส และกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ ได้รับบรกิ ารการศกึ ษาอย่างเทา่ เทยี ม

8. มีพัฒนาการสมวัยรอบดา้ น หมายถงึ เดก็ ปฐมวยั มีพัฒนาการดงั น้ี 8.1 มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยส่าหรับเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี และหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวัย สา่ หรบั เด็กอายุ 3 – 6 ปี 8.2 มที ักษะพนื้ ฐานด้านภาษาและการใช้เทคโนโลยี

9. เป็นคนดีมีวินัย หมายถึง เด็กปฐมวัยได้รับการปลูกฝังให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ท่ีเป็น อตั ลกั ษณข์ องเด็กปฐมวัยจังหวัดพทั ลงุ ดังน้ี

9.1 เป็นผู้มีวนิ ยั ในตนเองสงู 9.2 เปน็ ผมู้ สี ัมมาคารวะ 9.3 เปน็ ผมู้ คี วามซอื่ สตั ย์ 10.เป็นพ้ืนฐานความเป็นพลเมืองคุณภาพ หมายถึง เตรียมความพร้อมให้เด็กปฐมวัยมีคุณลักษณะ ที่เป็นพ้ืนฐานของพลเมืองดีท่ีส่าคัญและจ่าเป็นส่าหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบร่ืน และช่วยจรรโลงให้สังคม ประเทศชาติและโลกพัฒนากา้ วหน้า มีดงั น้ี 10.1 ต้องเปน็ บุคคลทเ่ี คารพกฎหมาย 10.2 ตอ้ งเปน็ บุคคลที่เคารพสิทธแิ ละเสรภี าพของตนเองและบุคคลอ่ืน 10.3 ต้องเป็นบุคคลท่ีมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีที่มีต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน

ประเทศชาติและสงั คมโลก

แผนพฒั นาการศึกษาเดก็ ปฐมวยั จังหวดั พัทลงุ พ.ศ.2562 – 2564 47

“เดก็ ปฐมวัยทกุ คนไดร้ ับบริการการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพอย่างเท่าเทยี ม มีพฒั นาการlสมวยั รอบด้าน เปน็ คนดี มวี นิ ัย เป็นพนื้ ฐานความเป็นพลเมอื งคุณภาพ”

กิจกรรม6หลัก ปฐมวัยมีอะไรบ้าง

การจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม 1. กิจกรรมเสรี 2. กิจกรรมสร้างสรรค์ 3. กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ 4. กิจกรรม เสริมประสบการณ์ 5. กิจกรรมกลางแจ้ง 6. กิจกรรมเกม การศึกษา

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ปฐมวัย มีอะไรบ้าง

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ กิจกรรมการวาดภาพระบายสี การเล่นกับสีชนิดต่าง ๆ การฉีก ตัด ปะ และงานประดิษฐ์ ฯลฯ ตามที่กล่าวมานี้ล้วนแต่เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการแสดงออกทางความคิด ที่เด็กได้สำรวจและจัดทำกับวัตถุโดยตรง เด็กสามารถออกแบบ ตกแต่ง กับชิ้นงานได้อย่างอิสระ โดยแบ่งเป็นประเภทกิจกรรมต่าง ๆ ได้ดังนี้

กิจกรรมกลางแจ้งเด็กปฐมวัยมีอะไรบ้าง

การเล่นเครื่องเล่นสนาม.

การเล่นทราย.

การเล่นน้ำ.

การเล่นสมมติในบ้านจำลอง.

การเล่นในศูนย์ช่างไม้.

การเล่นกันอุปกรณ์กีฬา.

การเล่นเกมการละเล่น - at ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย.

กิจกรรมเสริมประสบการณ์มีอะไรบ้าง

2. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ตัวอย่างกิจกรรม - การเล่นบทบาทสมมติ การไปทัศนศึกษาตามแหล่งการเรียนรู้ การไปท่องเที่ยวสถานที่ต่าง ๆ การเล่นเกม การพูดคุยถาม-ตอบ การเล่านิทาน การเล่าประสบการณ์ กิจกรรมสาธิต ทดลอง ประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ กิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติจริง เช่น ทำอาหาร ปลูกผักสวนครัว ทำขนม ทำงานบ้าน ฯลฯ