การพ ดท ม การควบค ม ท กษะการพ ด ภาษาอ งกฤษ

การพ ดท ม การควบค ม ท กษะการพ ด ภาษาอ งกฤษ

Jiruntanin Sidangam Download

  • Publications :0
  • Followers :0

แผนการจัดการเรียนรู้ อ23102 (2-2565)

แผนการจัดการเรียนรู้ อ23102 (2-2565)

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

แผนการจัดการเรียนรู้ อ23102 (2-2565)

เอกสารประกอบการสัมมนา เรอื่ ง

“เทคนคิ การสอนทกั ษะการฟงั และการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร”

ภายใตโ้ ครงการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

วนั องั คารท่ี 3 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ห้อง 151102

อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษามหาวชริ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์

เอกสารประกอบการสัมมนา เรอ่ื ง

“เทคนคิ การสอนทักษะการฟังและการพูดภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร” ภายใตโ้ ครงการสมั มนาการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ

วนั องั คารที่ 3 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ หอ้ ง 151102

อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษามหาวชริ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ รี มั ย์

สารบัญ หนา้

1.โครงการสมั มนาการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เร่ือง 1 “เทคนิคการสอนทกั ษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ เพอ่ื การสื่อสาร”

2.กาหนดการจัดการสมั มนา 5

3.เอกสารประกอบการสัมมนา 6 9

  1. เอกสารประกอบการอภิปราย เร่ือง ทักษะการฟังและการพดู 14 ภาษาองั กฤษ
  1. เอกสารประกอบการอภิปราย เรื่อง ปจั จัยที่ส่งผลต่อการสอนทักษะการฟงั และ การพดู ภาษาอังกฤษ
  1. เอกสารประกอบการอภิปราย เรื่อง เทคนิคการสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสาร

โครงการสมั มนาการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เร่ือง เทคนิคการสอนทกั ษะการฟังและการพดู ภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร

วนั ท่ี 3 มกราคม 2566 ณ ห้อง 151102 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย์

1.หลักการและเหตุผล ในการเรยี นภาษาตา่ งประเทศนั้น ผู้เรียนไมเ่ พียงแคเ่ รียนเพ่ือไดร้ บั ความรู้เกี่ยวกับภาษาเพยี งอย่างเดยี ว

แตเ่ พ่ือให้สามารถใช้ภาษาเป็นเครอ่ื งมือในการส่อื สารในสถานการณ์ตา่ งๆได้ ทง้ั น้ีการที่ผ้เู รยี นจะสามารถใชภ้ าษา ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคลว่ และเหมาะสมนั้น ขึน้ อยู่กับทักษะการใช้ภาษา ดังนั้นในการจัดการเรยี นการสอน จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝกึ ใชภ้ าษาอยา่ งเพียงพอโดยเฉพาะอย่างย่ิงการจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนในห้องเรียนทร่ี บั ผิดชอบโดยครผู สู้ อนและจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้ฝกึ ใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสารให้มากทส่ี ดุ

โดยเฉพาะทกั ษะการฟัง-พูด แต่ทง้ั น้สี ภาพการเรียนการสอนภาษาองั กฤษในประเทศไทยข้นึ อยู่กับปจั จยั หลายประการ หน่ึงในน้นั คือครผู ้สู อนภาษาองั กฤษ โดยครูสว่ นใหญย่ ังคงใชว้ ิธีการสอนแบบเดมิ ไมเ่ น้นให้นกั เรียน ฝกึ ใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร ครูมีหนา้ ทปี่ ้อนข้อมลู ให้นักเรยี นเพียงอย่างเดียว ไม่มกี ารปรบั เปล่ียนวิธกี ารสอนหรือ เลอื กวิธีการสอนไม่เหมาะสมกบั ผเู้ รียน การจดั กิจกรรมการเรยี นไม่เป็นไปตามธรรมชาติของการเรยี นภาษา (นวพร ชลารกั ษ์,2559)

ดังนน้ั ครจู ึงมีหนา้ ทสี่ าคญั คือการเลือกใชเ้ ทคนคิ หรือวิธีการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรยี นหรือทกั ษะท่ี ต้องการเนน้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในทกั ษะการฟัง-พดู ทเ่ี ป็นทักษะระดบั ตน้ ในการเรยี นภาษา ครูผสู้ อนจะต้องหา เทคนิควธิ ีการ กจิ กรรมการสอนใหมๆ่ เข้ามาใช้ในการพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี น ไมใ่ ชก่ ารสมุ่ เลือกหรือลองผิดลอง ถกู กจิ กรรมที่เลือกใช้จะตอ้ งกระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิดความสนุกสนาน ไมน่ ่าเบื่อ ช้ใี ห้เหน็ ความสาคัญของการเรยี น ภาษาองั กฤษและสามารถนาส่ิงทีไ่ ด้เรียนรูไ้ ปใช้จรงิ ได้

2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพือ่ ใหผ้ ู้สัมมนาหารือเกี่ยวกับปญั หา นาเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา และรปู แบบวิธีการจัดการ

เรียนรู้การฟัง-พูด ภาษาองั กฤษทีเ่ หมาะสมในยุคปจั จบุ นั

2.2 เพ่อื ใหผ้ ู้สมั มนาเรียนรู้เทคนคิ ในการสอนทักษะการฟัง-พดู ภาษาอังกฤษ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการสอน และสามารถนาเทคนิคเหลา่ นี้ไปใช้ในการจดั การเรียนการสอนแกผ่ เู้ รียน

2.3 เพ่ือใหผ้ ้สู ัมมนาทราบและปรับปรุง พัฒนาตนเองเพื่อการจดั การสอนทักษะการพูด-ฟังภาษาอังกฤษ โดยใชเ้ ทคนิคทีเ่ หมาะสมโดยเนน้ ให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูส้ งู สุด

3. ระยะเวลา/สถานที่ ดาเนนิ การ วันองั คาร ที่ 3 มกราคม 2565 ณ หอ้ ง 151102 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรรี มั ย์

4.ขน้ั ตอนการดาเนินการ

ลาดบั ท่ี รายการกิจกรรม ระยะเวลา(ว/ด/ป) ผรู้ ับผดิ ชอบ หมายเหตุ 1 2 ตง้ั คณะกรรมการ 13/12/2565 ดร.นยิ ม อานไมล์

ประชมุ กรรมการดาเนินงาน 15/12/2565 – จรยิ า กุลรมั ย์ 25/01/2566 ธนดิ าพร สรุ ะศรี นัดดา ราชประโคน วารรี ชั น์ อินทรแ์ ปลง

3 ติดตอ่ วิทยากร 25/12/2566 วารีรัชน์ อินทร์แปลง 4 จัดเตรียมสถานท่ี 5 จดั เตรียมข้อมลู รายละเอยี ด/เอกสาร 26//2566 ธนดิ าพร สุระศรี

ประกอบการสัมมนา 26/12/2565 จรยิ า กุลรมั ย์

6 ทาหนงั สือเชิญผเู้ ข้าร่วมโครงการ 29/12/2566 นดั ดา ราชประโคน 7 จดั สัมมนา ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฟังบรรยาย 3/01/2566 จริยา กลุ รัมย์ จากวทิ ยากร/กิจกรรม 3/01/2566 ธนิดาพร สรุ ะศรี นัดดา ราชประโคน 8 ประเมนิ ผลการจดั โครงการ วารรี ชั น์ อินทร์แปลง จริยา กลุ รมั ย์ ธนดิ าพร สรุ ะศรี นดั ดา ราชประโคน วารรี ชั น์ อนิ ทรแ์ ปลง

5.ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ นักศึกษาคณะครศุ าสตร์ สาขาภาษาองั กฤษ ชัน้ ปที ี่ 4 หมู่ 2 มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ ีรัมย์ จานวน 24 คน

6.ตัวช้ีวดั 6.1 เชงิ ปริมาณ 6.1.1 ผเู้ ข้ารว่ มสัมมนาเรือ่ ง เทคนิคการสอนทักษะการฟงั และการพูดภาษาองั กฤษ ไม่ตา่ กว่าร้อย

ละ 80 หรือผู้เขา้ รว่ มสัมมนาอยา่ งน้อย 19 คน 6.2 เชิงคณุ ภาพ 6.2.1 ผเู้ ข้าร่วมสัมมนามีผลการทดสอบหลงั การร่วมสัมมนา เรอ่ื ง เทคนคิ การสอนทักษะการฟงั และ

การพดู ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของแบบทดสอบ หรือตอบถูกจานวน 10 ขอ้ จาก 15 ข้อ 6.2.2 ผูเ้ ขา้ รว่ มสมั มนามีทัศนคติทีด่ ตี ่อการใช้เทคนิคการสอนทักษะการฟงั และการพูดภาษาอังกฤษ

ร้อยละ 80 %

7.งบประมาณดาเนนิ การ 7.1 ค่าตอบแทนวิทยากร จานวน 3 คน จานวน 3 ชว่ั โมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3*600 = 1,800บาท 7.2 คา่ อาหารว่าง เครื่องดื่ม จานวน 29 คน คนละ 30 บาท เปน็ เงิน 29*30 = 870บาท 7.3 คา่ เอกสารคู่มือประกอบการสมั มนา จานวน 24 เลม่ ชุดละ 15 บาท เปน็ เงิน 24*15 = 360บาท 7.4 ค่าวัสดุ อปุ กรณ์ กระดาษ สี ฟวิ เจอร์บอร์ด ปากกาสี ฯลฯ เป็นเงนิ 470 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 3,500 บาท

8.ผู้รบั ผิดชอบและดาเนนิ การ

นางสาวจริยา กลุ รมั ย์ รหัสนักศึกษา 620113102040

นางสาวธนิดาพร สรุ ะศรี รหสั นกั ศกึ ษา 620113102046

นางสาวนัดดา ราชประโคน รหสั นกั ศกึ ษา 620113102049

นางสาววารีรชั น์ อินทรแ์ ปลง รหัสนักศึกษา 620113102057

สาขาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ รี ัมย์

9.ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั 9.1 ผสู้ ัมมนาหารอื เก่ียวกบั ปัญหา นาเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา และรปู แบบวธิ กี ารจัดการเรยี นการ

ฟัง-พูด ภาษาอังกฤษท่เี หมาะสมในยุคปจั จบุ นั 9.2 ผสู้ ัมมนาเรียนร้เู ทคนิคในการสอนทักษะการฟงั -พดู ภาษาอังกฤษ เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการสอนและ

สามารถนาเทคนิคเหลา่ น้ีไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนแกผ่ ้เู รยี น

9.3 ผสู้ มั มนาทราบและปรบั ปรุง พัฒนาตนเองเพื่อการจดั การสอนทักษะการพูด-ฟงั ภาษาองั กฤษโดยใช้ เทคนิคทีเ่ หมาะสมโดยเน้นให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้สูงสดุ

กาหนดการโครงการสัมมนาการจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เร่ือง เทคนคิ การสอนทักษะการฟงั และการพูดภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร

วนั ที่ 3 มกราคม 2566 เวลา 13.00-16.00 น. ณ หอ้ ง 151102 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี มั ย์

12.30 – 12.59 น. ลงทะเบียน 13.00 – 13.29 น. กล่าวเปิดการสัมมนา 13.30 – 13.59 น. โดย ดร.นิยม อานไมล์ 14.00 – 14.15 น. อาจารย์สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ สงั กดั คณะครุศาสตร์ 14.16 – 14.45 น. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์ 14.46 – 15.30 น. 15.31 – 15.59 น. บรรยายเร่ือง “ทักษะการฟังและการพดู ภาษาอังกฤษ” 16.00 น. โดย ดร.นัดดา ราชประโคน

พกั รับประทานอาหารว่าง

บรรยายเร่ือง “ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การสอนทกั ษะการฟังและการพูด ภาษาอังกฤษ”โดย ผศ.ดร.จริยา กลุ รมั ย์

บรรยายเร่อื ง “เทคนิคการสอนภาษาเพ่ือการสือ่ สาร” โดย อาจารย์วารีรัชน์ อินทรแ์ ปลง

ผูส้ มั มนาทาแบบทดสอบและประเมินความพึงพอใจ

ปดิ การสมั มนา

1

เอกสารประกอบการสัมมนา

“เทคนคิ การสอนทักษะการฟังและการพูดภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร”

เอกสารประกอบการอภปิ ราย ปัญหาของทกั ษะการฟังและการพดู ภาษาอังกฤษ

โดย ดร.นดั ดา ราชประโคน

ทักษะการฟังและการพดู ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร

ทักษะการฟังและการพดู ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร จุดมุง่ หมายของการเรียนภาษาคือ เพอ่ื มุ่งหวงั ให้ผู้เรยี นใชภ้ าษาในการสอ่ื สารในสถานการณต์ ่างๆได้ และ

การเรียนการสอนภาษานนั้ จะให้ไดผ้ ลควรจดั แนวการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับแนวการสอ่ื สารจรงิ โดยผลท่ี ได้ คือความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ทกั ษะการฟัง

ในชวี ิตประจาวันของคนเราใช้การฟังเป็น 2 เท่าของการพูด 4 เทา่ ของการอ่าน และมากกวา่ 5 เท่าของ การเขยี น มนุษย์เราใชก้ ารฟงั เพอ่ื รบั ข้อมลู ข่าวสารต่าง ๆ โดยประสาทหรู บั เสียงต่าง ๆ โดยเฉพาะเสียงพูดของ มนุษย์ เราสามารถการฟังออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับเริ่มตน้ จะเนน้ ในการฟงั เสยี ง ให้นกั เรยี นจาเสียงได้และ สามารถออกเสียงได้ถกู ต้อง รู้จักสงั เกตและจบั ได้วา่ เสยี งต่างๆ มคี วามแตกต่างกนั อยา่ งไรและในระดบั ท่ี 2 เปน็ การฟังประโยคและเรือ่ งราวเพ่อื ความเข้าใจ การฝกึ ทักษะการฟังในขัน้ นจี้ ึงประกอบไปดว้ ย การฟงั เสยี ง พยางค์ คาศัพท์ ประโยค การสนทนา และฟังเรื่องราวไดเ้ ขา้ ใจเป็นขั้นสดุ ทา้ ย การฟงั นบั เป็นทกั ษะข้นั พื้นฐานแรกท่ีเกิดข้ึน ของชีวิตทจ่ี ะเชอื่ มสูท่ ักษะอื่น ๆ อีก 3 ทักษะ คือ การพดู การอา่ น และการเขยี น ดังน้ันจึงเปน็ ทกั ษะแรกที่ต้องมี การสอน เพราะผู้พูดต้องฟังให้เข้าใจ ก่อน จึงจะมีความสามารถในการพดู โต้ตอบ ทกั ษะการพูด

ทกั ษะการพูดเบ้ืองต้นจาเปน็ ตอ้ งมุง่ เน้นให้ผู้เรยี นพดู เพื่อการสอ่ื สารในสถานการณ์ จรงิ โดยผเู้ รียน จะต้อง ปฏิบตั ติ ามแบบหรอื ตวั อยา่ งท่ีกาหนด เพื่อนาไปสกู่ ารพูดทม่ี ีประสทิ ธิภาพ อกี ทง้ั ทักษะการพูด เปน็ ทักษะทบี่ ่งบอก ถึงความสาเรจ็ ในการเรียนรูภ้ าษาได้อยา่ งชดั เจน ผเู้ รยี นจะได้มีโอกาสฝึกพูดมากขึน้ และในการเรยี นการสอนทุก ครง้ั ผูเ้ รียนตอ้ งสามารถนาไปใช้ไดจ้ รงิ ในชีวิตประจาวนั เมอื่ มีการพูดเกิดขึ้น ยอ่ มจะทาให้เกิดทักษะการฟังด้วย ซึ่งสอดคล้องกบั คากล่าวทีว่ า่ การสอนพูดจะแทรกปนไป กับ ดังนนั้ การสอนฟงั เปน็ ทกั ษะทีจ่ ะฝกึ ควบคู่กนั ไปกับการฟงั เสมอ ดงั นนั้ ความสามารถในการส่ือสารท่ีแทจ้ รงิ คือการท่ีสามารถใชค้ วามรแู้ ละทักษะในด้านการฟัง-พดู นาไปใชส้ ือ่ สาร ได้ในสถานการณจ์ ริง และยงั สามารถนาภาษาไปใชเ้ พ่ือให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ต่างๆ (Canale and Swain, 1980) การสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสาร เปน็ การสอนให้ผู้เรยี นมีความสามารถในการสื่อสาร นักการศกึ ษาดา้ นภาษาทีส่ อง ได้คดิ วิธีการสอนขน้ึ มาเพื่อช่วย ใหผ้ ู้เรียนมีความสามารถในการสอ่ื สาร (communicative competence) ซึง่ ผู้เรยี นตอ้ งสามารถใช้ภาษาเพือ่ ปฏสิ ัมพันธก์ บั ผอู้ ่ืนตามสถานการณ์และบริบทต่างๆ

การเรียนการสอนภาษาในปัจจุบันถอื วา่ กลวิธีการสอ่ื สารเป็นการชว่ ยใหผ้ พู้ ูดกบั ผู้ฟงั สอื่ ความหมายกนั ไดถ้ ือว่าเป็น เหตกุ ารณ์ปกติของคนที่กาลังใชภ้ าษาที่สอง และครตู ้องฝึกใหน้ ักเรียนใชก้ ลกลวิธีสอดแทรกเข้าไปในการจดั กจิ กรรมการพดู ทุกคร้งั จะทาใหน้ กั เรยี นพูดได้คล่องแคลว่ มากข้ึน

2

เอกสารประกอบการสมั มนา

“เทคนคิ การสอนทักษะการฟังและการพดู ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร”

เอกสารประกอบการอภิปราย ปัจจยั ท่สี ง่ ผลต่อการสอนทกั ษะการฟังและการพูด ภาษาองั กฤษ

โดย ผศ.ดร.จรยิ า กุลรมั ย์

ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อการสอนทกั ษะการฟงั และการพูด ภาษาอังกฤษ

ปจั จัยดา้ นผู้เรยี น เจตคตติ ่อการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ เจตคตติ ่อวชิ าเรยี นมบี ทบาทสาคัญในอันท่จี ะชว่ ยสง่ เสรมิ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี น ผู้เรยี น

จะสามารถเรียนร้วู ิชาใดๆไดด้ ีข้ึนหากผเู้ รยี นมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อวิชานัน้ ๆ ดงั นน้ั ผเู้ รยี นมีเจตคติท่ไี ม่ดีตอ่ วิชาใดย่อมทา ให้การเรยี นวชิ านน้ั ๆไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควร ดงั นนั้ การท่ีผูเ้ รียนจะเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษไดด้ ขี น้ึ ผ้เู รียนจะต้องมเี จตคติทด่ี ีต่อวิชาภาษาอังกฤษกอ่ น เพราะจะทาให้ผเู้ รยี นสนใจเรียนและศึกษาหาความรู้ เพม่ิ เติม เหน็ คณุ ค่าของวิชาภาษาอังกฤษและไม่เบื่อหน่ายในการเขา้ ช้นั เรยี น ซ่งึ สอดคลอ้ งกับคากล่าวของนิพนธ์ แจง้ เอีย่ ม (อา้ งถึงใน พภิ พ วชงั เงิน, 2547) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึงส่ิงท่ีอยจู่ ิตใจของบุคคลทีจ่ ะตอบสนองตอ่ สิง่ ใดสงิ่ หนงึ่ ไปในทศิ ทางใดทศิ ทางหนึ่งเราสามารถรู้ได้โดยดจู ากพฤตกิ รรมของบุคคลว่าจะตอบสนองตอ่ สิง่ เร้า อยา่ งไร

ปจั จัยดา้ นครู ครตู ่างชาติ ความแตกต่างทเ่ี หน็ ได้ชัดในการเรียนภาษาองั กฤษกับเจ้าของภาษา เรามักมีขอ้ ถกเถยี งกันอยู่เสมอเม่อื พดู

ถึงการเรยี นภาษาองั กฤษระหว่างการเรยี นกบั ครูชาวไทยและครชู าวตา่ งชาตทิ ี่เป็นเจ้าของภาษา ดงั น้นั ขอ้ ดีและ ขอ้ ไดเ้ ปรียบของการเรยี นภาษาอังกฤษกบั เจา้ ของภาษาเพื่อใชเ้ ป็นแนวทางการตัดสนิ ใจเลือกเรียนกบั ครูสอน ภาษาองั กฤษได้อย่างเหมาะสม

เรียนรู้สาเนยี งแทๆ้ จากเจา้ ของภาษา นี่คือข้อได้เปรียบท่สี าคญั ท่ีสุดในการเรยี นภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษา การสอนภาษาอังกฤษโดยเจา้ ของ ภาษาจะทาให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้สาเนียงท่ถี กู ตอ้ ง รวมถงึ การออกเสียงที่ถูกหลักไวยากรณ์ ซ่ึงในเร่ืองนี้ ครูตา่ งชาตจิ ะ สอนหลักการพูดภาษาอังกฤษไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เปน็ ธรรมชาติมากกวา่ ครทู ี่ไม่ใชเ่ จ้าของภาษา การเรียนในลกั ษณะน้ี จะทาให้สมองของเราซึมซับวิธกี ารออกเสียงโดยไม่รตู้ วั และพูดออกมาตามสิง่ ท่ีเราคุ้นเคยโดยอัตโนมัติ ดังนนั้ ยง่ิ ไดเ้ รยี นตง้ั แต่อายุยงั น้อย โอกาสทจ่ี ะพูดโดยมีสาเนียงใกลเ้ คียงเจ้าของภาษาก็มีมากข้ึน ฝกึ สนทนา ปญั หาหลักๆ ของนกั เรียนชาวไทย คือ ความอายและความกลวั ที่จะต้องพดู ภาษาอังกฤษ เม่อื เรยี นกบั ครู ไทย ผเู้ รยี นบางคนอาจจะยงั อายและกลา้ ๆ กลวั ๆ ท่จี ะส่อื สารออกไปเพราะเราทราบดีวา่ คณุ ครสู ามารถพดู ภาษาไทยได้ แต่การเรียนภาษากับเจ้าของภาษาจะเปน็ การบังคบั ให้คุณตกอย่ใู นสภาพแวดล้อมทตี่ ้องใช้

ภาษาองั กฤษไปโดยปรยิ าย ซึ่งจะช่วยให้คณุ สามารถสอื่ สารไดค้ ลอ่ งข้นึ มีความพยายามมากขึ้น และเป็นการฝกึ ฝน ความกลา้ แสดงออกไปในตวั

ตรวจสอบการพูดและฝกึ การฟัง การออกเสยี งภาษาองั กฤษให้ถูกหลกั และมีความไพเราะน่าฟังคือการพดู ที่ถกู ต้องตามหลักการออกเสียง (Pronunciation) การเน้นเสียงหนกั เบา (Stress) การออกเสยี งสูงต่า (Intonation) และการออกเสยี งพยัญชนะ และสระ (Phonics) ซงึ่ แน่นอนวา่ ผู้เรยี นจะได้ฝกึ การพูด 100% เต็ม การเรียนกับเจ้าของภาษายงั เปน็ การ ตรวจสอบและยนื ยนั วา่ ส่งิ ท่ีเรากาลงั พูดอยนู่ ้นั ถกู ต้องตามหลักจรงิ ๆ ชาวต่างชาติเขา้ ใจได้จรงิ เพื่อใหเ้ กิดความ มน่ั ใจในการสื่อสาร ผลพลอยไดอ้ ีกประการหนึง่ กค็ ือการฟงั ใหห้ ูเราชินกบั สาเนียงและการออกเสียมากทส่ี ดุ เพื่อให้ เกิดการตกผลกึ จนกลายเป็นการพดู ท่ีถูกต้อง เพราะจริงๆ แล้ว เหตุผลทชี่ าวตา่ งชาตฟิ งั เราไมร่ ูเ้ รื่องก็มาจากการ ออกเสียงที่ไม่ถูกต้องน่นั เอง คลังคาศพั ทแ์ ละสานวนที่แปลกใหม่ ขนึ้ ชื่อวา่ เปน็ ภาษาแม่ การสอนภาษาอังกฤษโดยเจ้าของภาษากย็ ่อมจะช่วยขยายคลังคาศพั ท์ เช่น คา แสลง และสานวนมากกว่าครูท่ีใช้ภาษาองั กฤษเป็นภาษาที่สองอยแู่ ล้ว ดงั น้ัน นอกจากคาศัพท์และสานวนท่เี ป็น ทางการทค่ี วรร้ทู ่วั ไปแล้ว ผ้เู รียนอาจจะได้เรียนรคู้ าศพั ท์ คาแสลง และสานวนแปลกใหม่ทเี่ จา้ ของภาษาใชก้ ันจริงๆ รวมถึงบริบทและสถานการณ์ในการใชศ้ ัพทห์ รือสานวนนัน้ ๆ ใหเ้ หมาะสมตามสถานการณ์ ครูไทย เนน้ ไวยากรณ์ เนน้ สอนไวยากรณ์ไมเ่ น้นสอนใหใ้ ชภ้ าษา และมักจะสอนเพ่ือท่องจามากกว่านาไปใช้ ซง้ึ เปน็ ปัญหาการ สอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนไทย คนทเี่ คยผ่านการท่องจาศัพท์ภาษาองั กฤษเป็นร้อยเปน็ พนั คา หรอื การจดจา Tense ตา่ งๆ เพื่อนาไปใช้ ในการสอบ คงเขา้ ใจปญั หานเ้ี ป็นอย่างดี ซ่งึ นักวชิ าการบางคนกม็ องวา่ เรอ่ื งนี้เป็นปญั หาเหมอื นกนั อยา่ ง อ.มินตรา ภูรปิ ญั ญวานิช จากสถาบนั ภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เคยพดู ถงึ ปัญหาการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษในประเทศไทยกับสานักขา่ วบบี ีซีไทยวา่ ครรู ุน่ เก่าและใหมค่ ุ้นชนิ กับการสอนที่เนน้ ไวยากรณ์ และ ระบบการเรียนการสอนมงุ่ เน้นใหเ้ ด็กสอบผ่าน ไม่ไดเ้ นน้ การฝกึ ใช้ภาษา เมื่อการสอนภาษาอังกฤษเนน้ ให้ท่องจาคาศัพท์และไวยากรณไ์ ปสอบ มากกวา่ เนน้ ให้เดก็ ใชภ้ าษาองั กฤษ เป็น พอเด็กสอบเสร็จแล้วกล็ ืมเนือ้ หาความรู้ ดังนั้น การสอนภาษาอังกฤษแบบน้ี ก็ไม่ได้ทาให้เดก็ เหน็ ความสาคัญ ของการใชภ้ าษาที่สองและทาให้เดก็ ขาดแรงจงู ใจในการเรยี นภาษาอังกฤษไดด้ ้วย เพราะร้สู กึ ว่าการเรยี น ภาษาองั กฤษเป็นเร่อื งน่าเบอ่ื ตอ้ งเรยี นไวยากรณ์ยากๆ และจาศัพทจ์ านวนมาก ยังมปี ญั หาทีเ่ ด็กไม่กล้าใช้ ภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจาวัน เพราะกลัวว่า หากใช้ผิดไวยากรณ์แล้ว จะดูเปน็ คนโง่ในสายตาของคนอน่ื ปัญหา เหล่านล้ี ้วนเป็นอุปสรรคต์ อ่ การพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษของคนไทย

ดงั นน้ั การเรยี นรภู้ าษาอังกฤษไม่ไดจ้ ากัดเฉพาะการออกเสียงเพียงอย่างเดียวเท่านนั้ แต่ยงั จะตอ้ ง ประกอบดว้ ยความถูกต้องในการใชภ้ าษา (Accuracy) เพ่ือให้สามารถสื่อสารภาษาได้สมบูรณแ์ บบทีส่ ดุ และสิ่งที่ สาคญั ทส่ี ุดในการเรียนภาษาอังกฤษไมว่ า่ จะกบั ครูไทยหรือครเู จ้าของภาษา คุณสมบตั ิท่ีสาคญั ทีค่ วรพจิ ารณา ประกอบด้วย ได้แก่ ทกั ษะการสอนภาษาองั กฤษ ความรับผิดชอบตอ่ การสอน การเตรียมตัวของผสู้ อน สอ่ื และ อุปกรณ์ท่ีใช้อีกดว้ ย

ปจั จัยดา้ นสภาพแวดล้อมท่ตี ่างกนั ของในเมืองกับชนบท ในเมือง ในเมอื ง จัดว่าเปน็ ศนู ย์กลางความเจริญ เมอื งเปน็ สถานที่ตัง้ ถ่ินฐานอันถาวร และหนาแน่นดว้ ยประชากร

และเปน็ ท่ีรวมของผู้คนท่มี ีความแตกต่างทางพ้ืนเพโดยชมุ ชนเมอื งมักอยู่ในเขตเมืองหรอื เทศบาล ในชนบท ชนบท เป็นเขตพ้นื ที่ท่ีพน้ จากตัวเมืองออกไป หรืออาจเปน็ พ้นื ที่ที่อยนู่ อกเขตเทศบาล เป็นเขตท่มี ีความ

เจรญิ ทางด้านวตั ถุน้อย มีการรวมกล่มุ อย่างไม่เป็นทางการ ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ประมง เลย้ี งสตั ว์ เป็นตน้

ปัจจยั ดา้ นส่ือการสอนทแ่ี ตกต่างกัน เด็กในเมอื ง ขึ้นชอ่ื ว่าในเมืองแลว้ ทกุ อย่าง อยา่ งเช่น สภาพแวดลอ้ ม ความเจรญิ ทม่ี ีมากกว่าชนบท และรวมไปถึง การ

ใช้สื่อการสอนโดยเทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ยในการเรยี นการสอน มนั จึงทาใหก้ ารเรยี นการสอนของเด็กในเมอื งมี คุณภาพและประสิทธิภาพเป็นอย่างยงิ่ แต่กไ็ มใ่ ช้แค่ผู้เรยี นเทา่ นั้น แต่ท้ังน้รี วมไปถึงครผู ู้สอนด้วย เช่น ครใู ช้สือ่ การ เรียนการสอนภาษาองั กฤษในด้านทกั ษะการฟงั และทักษะการพูดโดย การใหด้ ูคลิปวีดิโอ ฟังเพลง ดูหนัง ผ่าน โปรเจ็คเตอร์ คอมพิวเตอร์ ไมโครโฟน และอีกมากมาย สิ่งเหล่านี้เองท่ีจะสง่ ผลใหก้ ารเรยี นรขู้ องผู้เรียนประสบ ความสาเรจ็ ได้

เดก็ ชนบท พดู ถึงชนบท แนน่ อนว่าชนบทเปน็ พนื้ ที่ท่ีข้อนคา้ งห่างไกลกับความเจริญมาก ไมว่ า่ จะเป็นในด้านของ สภาพแวดล้อม ถนน บา้ นเรือน และอีกมากมายหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สื่อการสอนด้านเทคโนโลยี เพราะวา่ ในชนบทไม่คอ่ ยจะมเี ทคโนโลยีเข้ามาช่วยในด้านการเรียนการสอน เน่อื งจาก ไม่มีกาลังทรพั ย์มาก พอท่จี ะซื้อเทคโนโลยมี าช่วยในดา้ นการสอน ครูจึงสอนแค่ใช้สื่อจากการผลติ เอง และใชก้ ระดานในการช่วยสอน เทา่ นั้น จงึ ทาให้เด็กในชนบทมีทักษะการฟังและทกั ษะการพดู ท่ีอ่อน

ดงั นนั้ เดก็ ในเมืองจึงมีความสามารถในการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษได้ดีกว่าเด็กในชนบท เพราะส่อื การสอน ดา้ นเทคโนโลยีมีความสาคัญเป็นอย่างยงิ่ ต่อการเรยี นการสอน มีความสะดวกสบาย ประหยัดเวลา มคี วามทนั สมยั และทาให้การเรยี นการสอนบรรลวุ ตั ถุประสงค

3

เอกสารประกอบการสัมมนา

“เทคนคิ การสอนทักษะการฟงั และการพูดภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร”

เอกสารประกอบการอภิปราย

เทคนิคการสอนทกั ษะการฟังและการพูดภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร

โดย

อาจารย์วารรี ชั น์ อินทร์แปลง

เทคนคิ การสอนทกั ษะการฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร

ความหมายของการสอนภาษาเพ่อื นการสอื่ สาร (Communicative Language Teaching: CLT) การสอนภาษาเพ่ือการส่ือสาร เป็นการสอนภาษาที่เน้นหน้าทีข่ องภาษาและการส่ือความหมาย กลา่ วคือ

ผ้เู รยี นสามารถใช้ภาษาที่ สองในการสื่อสารได้ ซงึ่ อาจจะใชภ้ าษาไดไ้ มถ่ ูกต้องตามหลักไวยากรณ์ แต่สามารถส่ือ ความไดแ้ ละเหมาะสมกับสถานการณ์ โดยการสอนภาษาชนิดนมี้ เี ป้าหมายเพ่อื ให้ผเู้ รียนสามารถนาทักษะทาง ภาษามาใช้เพื่อการสื่อสารได้

Globish ได้นาทฤษฎี Communicative Language Teaching มาปรับใชก้ ับบทเรยี น ทีม่ ุ่งสกู่ ารเรยี นรู้ จากการสอดแทรกทักษะต่าง ๆ โดยเนน้ การจาลองสถานการณจ์ รงิ มาใหผ้ ู้เรยี นได้ทาความเขา้ ใจกับการใชภ้ าษา ซงึ่ จะชว่ ยให้ผูเ้ รยี นสามารถนาภาษาไปใชง้ านในชวี ติ จริงได้อย่างคล่องแคล่ว ไมว่ า่ จะทั้งด้านการฟงั (Listening) และการพดู (Speaking)

คเนล และสเวน (1980) และเซวกิ นอน (Savignon, 1982) ได้แยกองค์ประกอบของความสามารถในการ สือ่ สารไว4้ องค์ประกอบ ดงั นี้

1.ความสามารถทางด้านไวยากรณห์ รอื โครงสร้าง (grammatical competence) หมายถงึ ความรู้ ทางดา้ นภาษา ได้แก่ ความรเู้ กี่ยวกบั คาศัพท์ โครงสร้างของคาประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสียง

2.ความสามารถด้านสังคม (sociolinguistic competence) หมายถึง การใช้คาและโครงสร้างประโยคได้ เหมาะสมตามบรบิ ทของสงั คม เชน่ การขอโทษ การขอบคุณ การถามทิศทางและข้อมลู ตา่ ง ๆ และการใชป้ ระโยค คาส่งั เปน็ ต้น

3.ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพ่ือสื่อความหมายด้านการพูด และเขียน (discourse competence) หมายถงึ ความสามารถในการเชือ่ มระหวา่ งโครงสรา้ งภาษา (grammatical form) กับ ความหมาย (meaning) ในการพดู และเขียนตามรปู แบบ และสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างกัน

4.ความสามารถในการใช้กลวธิ ใี นการสอ่ื ความหมาย (strategic competence) หมายถงึ การใช้เทคนิค เพอื่ ให้การติดต่อส่ือสารประสบความสาเรจ็ โดยเฉพาะการสอ่ื สารดา้ นการพูด ถา้ ผู้พดู มีกลวิธใี นการที่จะไมท่ าให้ การสนทนานนั้ นัน้ หยุดลงกลางคัน เช่นการใชภ้ าษาทา่ ทาง (body language) การขยายความโดยใชค้ าศัพท์อน่ื แทนคาท่ีผู้พูดนึกไม่ออก เปน็ ต้น

ลักษณะสาคัญของกลวธิ ีการสอนภาษาอังกฤษแบบ CLT • เน้นทกั ษะการฟังและการพูด • เน้นการสอนทมี่ ีผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง (student-centered) ในบรรยากาศการเรยี นทีส่ นุกสนาน • นกั เรียนไดเ้ คล่ือนไหวระหว่างเรยี นมากกวา่ ทจี่ ะนั่งอยู่บนเกา้ อี้เพียงอย่างเดียว ในการทากจิ กรรมที่

ผสู้ อนเป็นผเู้ ตรยี มบทเรยี นและกากับให้เป็นไปตามแผนการสอน • เนน้ ให้นักเรยี นใช้ภาษาองั กฤษกันเองในกลุ่มมากกว่าการพูดกับครูผสู้ อน • สว่ นใหญ่ไมม่ ีการใช้หนังสือเรยี น • ไมเ่ นน้ สอนไวยากรณ์ และผู้สอนอาจไมไ่ ดแ้ ก้ไขไวยากรณ์ทผี่ ิดของนักเรยี นในทนั ทที นั ใด

ขั้นตอนการเรียนการสอนตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการสอื่ สาร 1. ข้นั การนาเสนอเน้ือหา (Presentation) ในข้นนีค้ รจู ะให้ขอ้ มลู ทางภาษาแกผ่ เู้ รียน ซง่ึ เป็นการเรม่ิ ตน้

การเรียนรู้ มกี ารนาเสนอเนอื้ หาใหม่ โดยจะมุ่งเนน้ การใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับรูแ้ ละทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับความหมายและ รปู แบบภาษาทีใ่ ช้กนั จริงโดยทัว่ ไป

2. ขน้ั การปฏิบตั ิ (Practice) ในขั้นนี้ครจู ะให้ผู้เรียนได้ฝึกใชภ้ าษาทีจ่ ะเพิ่งเรยี นร้ใู หมจ่ ากการนาเสนอ เน้ือหาในลกั ษณะของการฝกึ ควบคมุ หรอื ชนี้ า (Controlled Practice/Directed Activities) โดยมคี รูผ้สู อนเป็น ผนู้ าในการฝกึ ไปสู่การฝึกที่แบบคอ่ ยๆปล่อยใหท้ าเองมากขึน้ ในการฝึกนั้น ครูจะเรมิ่ การฝึกปากเปลา่ (Oral) ซง่ึ เป็นการพูดแบบงา่ ยๆก่อน จนได้รปู แบบภาษา แล้วคอ่ ยเปลย่ี นสถานการณ์ที่ลว้ นแตส่ รา้ งขน้ึ ภายในห้องเรียน ทง้ั น้นั เพ่ือฝึกการใช้โครงสร้างประโยคตามบทเรียน นอกจากนค้ี วรมกี ารตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนควบคู่ไป ด้วย แตไ่ มค่ วรใช้เวลามากนัก ตอ่ จากนัน้ จงึ ฝึกดว้ ยการเขยี น (Written) เพ่ือเปน็ การผนึกความแม่นยาในการใช้

3. ข้นั การใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสาร (Production) ถอื เปน็ ขั้นทีม่ คี วามสาคญั มากทส่ี ุด เพราะการฝกึ ใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสารเปรยี บเสมือนการถ่ายโอนการเรียนรู้ภาษาจากสถานการณใ์ นชน้ั เรียน ไปสกู่ ารนาภาษาไปใช้ จรงิ นอกชั้นเรยี น

แนวการสอนภาษาเพอื่ การส่ือสาร แนวการสอนภาษาเพ่ือการสอื่ สารทม่ี คี วามเชื่อมโยงและสมั พนั ธก์ ัน มลี ักษณะ 4 ประการ ได้แก่ 1.เป้าหมายของการสอนเน้นไปที่องค์ประกอบทง้ั หมดของทักษะการส่อื สาร ไมจ่ ากัดอยู่ภายในกรอบของ

เนือ้ หาภาษาหรือไวยากรณ์ 2.เทคนิคทางภาษาได้รบั การออกแบบมาเพื่อนาผูเ้ รยี นไปสู่การใชภ้ าษาอย่างแท้จรงิ ตามหน้าท่ีของภาษา 3.ความคล่องแคลว่ และความถกู ต้อง เปน็ หลกั การเสริมอยู่ภายใตเ้ ทคนิคการส่อื สาร 4.ผเู้ รียนจะตอ้ งใช้ภาษาได้อย่างมีความเข้าใจและสรา้ งสรรค์ ภายในบริบทที่ไม่เคยมกี ารฝกึ มาก่อน

การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสาร การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารนที้ าไดห้ ลายวิธีทัง้ โดยการทดสอบ ไม่มกี าร

ทดสอบ การวดั และประเมินผลโดยไมม่ กี ารทดสอบนั้นอาจทาไดโ้ ดยการสงั เกตความสนใจ ความเอาใจใส่

แบบฝกึ หดั การซักถามในเนื้อหา ตลอดจนความร่วมมือในการทากจิ กรรม สว่ นการวดั และประเมินผลโดยการ ทดสอบมักใชแ้ บบทดสอบที่ครูผสู้ อนเปน็ ผจู้ ัดทาขนึ้

สภุ ัทรา อกั ษรานุเคราะห์ กล่าวถงึ ลักษณะของการทดสอบความสามารถทางการส่ือสารวา่ ควรเป็นการ ประเมินผลภาพรวมในรปู ของทักษะสมั พนั ธ์ซึง่ เป็นการวัดความร้หู ลายอย่างประกอบกัน โดยม่งุ วัดการใชภ้ าษาใน สภาพจริงหรือสถานการณ์จาลองที่สร้างขนึ้ เลียนแบบสถานการณ์จรงิ ตวั อยา่ งข้อสอบแบบนี้ คือ การทดสอบ ความเข้าใจภาษาจากการฟัง พูด อ่านและเขยี น จะเป็นข้อสอบแบบเตมิ คาลงในช่องวา่ ง การเขยี นตามคาบอก การสัมภาษณห์ รือการเขยี นเรียงความ สาหรับการทดสอบวัตถุประสงคย์ อ่ ยนน้ั การออกขอ้ สอบจะเป็นแบบ เลือกตอบ แบบจับคู่ หรือเติมคา ผู้สอนจะประเมนิ ผลเปน็ ระยะแลว้ ปรบั ปรงุ การเรียนหลายครง้ั ระหวา่ งภาคเรยี น แลว้ ประเมินผลสรุปเพือ่ วัดผลสมั ฤทธใ์ิ นปลายภาคเรียนอีกครั้งหนึ่ง สรปุ ได้วา่ การวดั และประเมินผลการเรียนการ สอนภาษาเพื่อการส่ือสารน้นั ผู้สอนจะตอ้ งคานงึ ถึงการพฒั นาทักษะของผเู้ รียนในหลาย ๆ ดา้ น เชน่ ความรู้ ความ เข้าใจ ทกั ษะ เจตคติ จึงจาเป็นต้องใชก้ ารวดั หลากหลายแบบเพ่อื ให้ครอบคลมุ จดุ มุ่งหมาย

เทคนคิ การสอนภาษาเพ่อื การสื่อสาร เทคนคิ การสอนเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคัญมากในกระบวนการเรียนการสอน เพื่อการสื่อสาร เพราะเทคนิค

การสอนทเ่ี หมาะสมจะชว่ ยให้การเรยี นการสอนเพ่ือการสื่อสารประสบความสาเรจ็ เทคนิคการสอนทมี่ ี ประสทิ ธิภาพ ได้แก่

1.ใหผ้ เู้ รียนได้พบและไดใ้ ชภ้ าษาในการส่ือสารให้มากทีส่ ดุ การส่ือสารทส่ี มจริงคอื การท่ี ผูเ้ รยี นมงุ่ ความ สนใจไปท่สี ารทสี่ ื่อออกมาหรือสารทตี่ ้องการส่ือออกไป ไมใ่ ช่ม่งุ ทีต่ ัวภาษา (Breen และ Candlin, 1980)

2.ใช้อุปกรณ์และสือ่ การสอนทชี่ ่วยใหผ้ ้เู รียนเข้าใจภาษาได้ง่ายข้ึน ส่อื ตามแนวการสอนแบบ CLT ประกอบด้วย

• เนอื้ หา (Text-based materials) คอื แบบเรยี นทจ่ี ดั กจิ กรรมเน้นการสอนแบบ CLT เชน่ มี กจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นแสดงบทบาทสมมติ กจิ กรรมคู่ หรือกิจกรรมกลุ่ม

• งาน/กิจกรรม (Task-based materials) คือ สื่อที่เนน้ การทากจิ กรรมและภาระงาน ท่ีเนน้ ให้ ผเู้ รยี นไดท้ างานกลุม่ เพ่อื ให้เกิดกระบวนการเรยี นรู้

• สอื่ จริง (Realia / Authentic materials) คอื สื่อท่ีใชจ้ รงิ ในชีวิตประจาวัน เชน่ ปา้ ยประกาศ โฆษณา รปู ภาพ แผนท่ี แผน่ พบั และหนังสือพิมพ์ เปน็ ต้น

3.หาวิธีการทีท่ าให้ผู้เรียนไมร่ สู้ กึ เครยี ดระหว่างเรียน และสรา้ งบรรยากาศท่ีทาให้ผ้เู รียน ไมอ่ ายเวลาตอบ ผดิ (Dulay, Burt และ Krashen, 1982)

4.ศกึ ษาความสนใจของผเู้ รียนและแทรกส่งิ ที่ผเู้ รียนสนใจไว้ในบทเรยี นด้วย และครผู ูส้ อนควร เรยี นรู้ด้วย วา่ ผู้เรยี นชอบทางานกบั ผู้ใด

5.เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน (Process) มากกว่าผลงานการเรยี นรู้ (Product)

บทบาทของครูผ้สู อนและผเู้ รยี น Jack C. Richards (2006) ได้เสนอบทบาทครูและผูเ้ รียนท่ีตอ้ งปรบั เปล่ยี นในการจดั การเรียน การสอน

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ดังนี้

บทบาทครผู ู้สอน(Teacher's role) ครมู ีบทบาทเปน็ ผ้เู ตรียมและดาเนินการจดั กิจกรรม เพอื่ การส่ือสาร ให้ผู้เรยี นไดม้ โี อกาสใช้ภาษาใหม้ าก

ท่ีสดุ ครผู ู้สอนจะควบคุมการเรยี นในช่วงทม่ี กี ารฝกึ รปู แบบภาษาเทา่ นัน้ แตใ่ นชว่ งที่ใหผ้ ูเ้ รียนใช้ภาษา ครผู สู้ อน จะลดบทบาทลงเป็นเพยี งผู้กากบั รายการ คอยให้ความสะดวก ตลอดจนใหค้ วามช่วยเหลอื เม่ือผู้เรียนต้องการ เทา่ น้นั ครูจะกระตนุ้ ให้กาลงั ใจ ช่วยเหลือใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสารใหไ้ ด้ความหมายและถูกต้อง ตามหลกั ไวยากรณ์ อันเปน็ การเชอื่ ม ชอ่ งวา่ งระหวา่ งความสามารถทางไวยากรณ์ (grammar competence) และความสามารถทางด้านสอื่ สาร (communicative competence) ของผูเ้ รยี น และครผู ู้สอนจะไม่ขัดจงั หวะใน ขณะทผ่ี ้เู รียนกาลงั ใชภ้ าษา ถึงแมว้ า่ ผ้เู รยี นจะใช้ภาษาไม่ถูกต้องก็ตาม แต่ครจู ะช่วยอธิบายและให้ความช่วยเหลือก็ ต่อเมื่อการส่ือสาร ของผู้เรียนชะงกั งัน อย่างไรกต็ าม ครผู ู้สอนยังคงเปน็ แหล่งความรู้ (Resource) ใหผ้ ู้เรียนเมื่อ เขาตอ้ งการ เปน็ ผเู้ ตรยี มผู้เรยี นให้พรอ้ มก่อนการเรยี นรู้ รวมท้ังเปน็ ผูใ้ หข้ ้อมูลทางภาษาแกผ่ เู้ รยี น ครูผสู้ อนต้อง พยายาม ใช้ภาษาองั กฤษในการสอื่ สารในหอ้ งเรียนใหม้ ากทส่ี ุด เป็นผูส้ รา้ งบรรยากาศในห้องเรียนให้ผเู้ รียนอยาก เรยี นรู้ นอกจากนี้ ครผู สู้ อนยังเปน็ ผู้ประเมนิ ผลการเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั แก่ผู้เรยี นอีกด้วย

บทบาทผู้เรียน (Learner’s role) ในการเรียนการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร ผูเ้ รียนมีบทบาท สาคัญในหอ้ งเรยี นมากกวา่ ครูผู้สอน ผู้เรยี น

เปน็ ผูม้ ีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ ได้ลงมือใชภ้ าษาดว้ ยตนเอง โดยการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกบั เพ่อื น การช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ทาใหเ้ กดิ การเรยี นรู้จากการทากจิ กรรมกลุ่มรว่ มกนั และผเู้ รียนพยายามเรยี นรดู้ ้วยตนเองเพม่ิ ขน้ึ โดยนา้ สงิ่ ทีต่ นเรียนรู้ในห้องเรียนเป็นเครอื่ งมือช่วยในการหา ความรู้เพิ่มเตมิ นอกห้องเรียน เชน่ การอา่ นหนงั สอื ภาษาอังกฤษ เรียนรูเ้ พ่ิมเติมในส่งิ ทต่ี นสนใจจากห้องสมุด อินเทอรเ์ น็ต เป็นต้น นอกจากนี้ ผเู้ รียนยงั สามารถ ประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง และสามารถให้ขอ้ มลู ย้อนกลับแกเ่ พ่อื รว่ มชัน้ เรียนไดอ้ ีกด้วย