การข บเคล อนการปฏ ร ปการศ กษาของกระทรวงศ กษาธ การในภ ม ภาค

รายงานการศึกษา รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ ม และสมชั ชาการศึกษา ประชาชน ภาครฐั พ้นื ท่ีกลาง ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ รายงานการศึกษา รปู แบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศกึ ษา สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓๗๐.๑๙๐๗ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส ๖๙๑ ร รายงานการศกึ ษารูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วม และสมชั ชาการศกึ ษา / กรงุ เทพฯ : ๒๕๖๒. ๒๒๒ หน้า ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๒๗๐-๒๓๒-๗ ๑. การมีส่วนร่วมทางการศกึ ษา ๒. สมัชชาการศกึ ษา ๓. ช่อื เรอื่ ง รายงานการศกึ ษารปู แบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมชั ชาการศกึ ษา สิ่งพมิ พ์ สกศ. อนั ดับที่ ๔๕/๒๕๖๒ พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ จำนวน ๕๐๐ เล่ม ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๒๗๐-๒๓๒-๗ ผู้จดั พมิ พเ์ ผยแพร ่ กลุ่มพฒั นานโยบายด้านการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา สำนักมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นร ู้ สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ถนนสโุ ขทัย เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๖๘-๗๑๒๓ ตอ่ ๒๕๓๔ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๕๑๕๒ Web site: http://www.onec.go.th พิมพท์ ี่ บรษิ ทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จำกัด ๙๐/๖ ซอยจรญั สนทิ วงศ์ ๓๔/๑ ถนนจรญั สนทิ วงศ์ แขวงอรณุ อมรนิ ทร ์ เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๒๔-๓๒๔๙ ๐-๒๔๒๔-๓๒๕๒ โทรสาร ๐-๒๔๒๔-๓๒๔๙ ๐-๒๔๒๔-๓๒๕๒ รูปแบบและกลไกการมสี ่วนรว่ มและสมัชชาการศกึ ษา (ก) คำนำ “การมสี ว่ นรว่ ม ภาคเี ครอื ขา่ ย หรอื สมชั ชาการศกึ ษา” เปน็ แนวคดิ สำคญั ทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ วรรคสอง กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับ การศกึ ษาตามความตอ้ งการในระบบตา่ ง ๆ สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ ภาคเอกชนในการจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ไดร้ ะบุถงึ การมีสว่ นร่วม ไวใ้ นยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ การสรา้ งโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม การพัฒนาท่ีให้ความสำคัญกับการดึงพลังของ ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทงั้ ภาคเอกชน ประชาสงั คม ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ มารว่ มขบั เคลอื่ น สอดคลอ้ งกบั แผนปฏริ ปู ประเทศ ซงึ่ มปี ระเดน็ เกย่ี วขอ้ งกบั การปฏริ ปู ประเทศ ดา้ นสงั คม คอื ประเดน็ การปฏริ ูปท่ี ๕ : การมีส่วนรว่ ม การเรยี นรู้ การรับรู้ และการส่งเสริมกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงมุ่งเน้นการสร้างจิตสำนึกสาธารณะ การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านกิจกรรมทางสังคมบนพื้นท่ี สร้างสรรค์ในรูปแบบต่าง ๆ กอรปกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยังได้กำหนดยุทธศาสตร์ ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการศึกษาไว้ในยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ โดยให้ความสำคัญกับเสริมสรา้ ง สถาบันทางสังคมให้มีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ เพม่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะสถาบันครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ทางศาสนา ชุมชน สอ่ื มวลชน และภาคเอกชน (ข) รูปแบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้กำหนดเร่ืองและประเด็น ปฏริ ปู ที่ ๑ ซงึ่ มเี ปา้ หมายเรง่ ดว่ นในการปฏริ ปู ระบบการศกึ ษาและการเรยี นร ู้ โดยรวมของประเทศ โดยกำหนดให้มีการจัดทำประกาศกระทรวงว่าด้วย การจัดตั้งดำเนินการสมัชชาการศึกษาระดับจังหวัด สอดคล้องกับร่าง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... มีแนวคิดในการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในมาตรา ๑๘ ซ่ึงวางหลักให้ประชาชน ซ่ึงม ี ภูมิลำเนาหรือประกอบอาชีพหรือธุรกิจในจังหวัดใด อาจรวมตัวกันเป็น คณะบุคคล เพื่อให้การส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ เสนอแนะ อุดหนุน หรือให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัดนั้นหรือ จงั หวดั ใกลเ้ คยี งได้ คณะบคุ คลอาจจดั ตง้ั เปน็ สมชั ชา สภา กลมุ่ หรอื หมคู่ ณะ ที่เรียกช่ืออย่างอื่นได้ ตลอดจนแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มีแนวคดิ ในการจัดการศกึ ษา (Conceptual Design) โดยยดึ หลัก “การมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนของสงั คม” และได้กำหนดให้มกี ารสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาไว้ในยุทธศาสตร์ที่ ๖ : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา โดยมีเป้าหมายว่า “ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนและพ้ืนท่ี” จากแนวคิดสำคัญที่ปรากฏในกฎหมาย ยุทธศาสตร์และแผนงานข้างต้น สะท้อนให้เห็นว่าทิศทางในการพัฒนา การศึกษาเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจำเป็นต้องม ี การรวมกลุ่มของบุคคล คณะบุคคล องค์กรหน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ี เรยี กวา่ “ภาคเี ครอื ขา่ ยการศกึ ษา” หรอื “สมชั ชาการศกึ ษา” เปน็ ผขู้ บั เคลอื่ น การดำเนินงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีอิงบริบทพ้ืนท่ี (Area-based education) รูปแบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศกึ ษา (ค) สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ในฐานะหนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ หลกั ด้านการพัฒนานโยบายด้านการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ตระหนักว่า “การมีส่วนร่วม ภาคีเครือข่าย หรือสมัชชาการศึกษา” เป็นกระบวนการ สำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาของพ้ืนท่ี (Area-based education) ซ่ึงเกิดจากการรวมกลุ่มของบุคคล คณะบุคคล อาสาสมัคร ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน เพอื่ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหาที่เก่ียวกับการจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีทุกระดับ ต้ังแต่ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด และระดับชาติ การมีส่วนร่วมในฐานะ “ภาคีเครือข่ายการศึกษา” หรือ “สมัชชาการศึกษา” จะประสบ ความสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น จำเป็นต้องมี “กลไก” ซ่ึงมีองค์ประกอบหรือปัจจัยต่าง ๆ ท่ีสนับสนุนการขับเคลื่อน งานด้านการศึกษาให้ประสบความสำเร็จด้วย รายงานการศึกษารูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชา การศึกษาฉบับน้ี จึงได้ระบุถึงหลักการ แนวคิด สภาพการดำเนินงานของ ภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษา กลไกท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพ การดำเนินงานของภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษา ท้ังใน ประเทศและต่างประเทศ รวมท้ังกลไกการดำเนินงานของภาคีเครือข่าย การศกึ ษา/สมัชชาการศึกษาท่ปี ระสบความสำเรจ็ (Best Practice) เพื่อใช้ เป็นบทเรียนในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของภาคี เครอื ขา่ ยการศกึ ษา/สมชั ชาการศกึ ษาของไทย และเปน็ แนวทางในการสง่ เสรมิ และพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและสมัชชาการศึกษาในระดับ พน้ื ท/ี่ จงั หวดั เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณแ์ หง่ รฐั ธรรมนญู ยทุ ธศาสตรช์ าต ิ และแผนงานระดับชาติที่เกย่ี วขอ้ ง (ง) รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศกึ ษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบคุณ ดร.รวิช ตาแก้ว และคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภาคีเครือข่าย การศึกษาท้ัง ๕ จังหวัดที่อนุเคราะห์ข้อมูล และถ่ายทอดแบบปฏิบัติ ท่ีเป็นเลิศ เพื่อการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านการ มีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษาให้แก่พื้นที่อื่น ๆ นำไปเป็นแบบอย่าง ในการส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมที่สอดคล้อง เหมาะสมกับบริบท และความต้องการของพ้ืนทีข่ องตนอยา่ งแทจ้ รงิ ตอ่ ไป (นายสภุ ทั ร จำปาทอง) เลขาธิการสภาการศกึ ษา รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา (จ) บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร สภาพการดำเนินงานภาคีเครือข่ายท่ีประสบความสำเร็จท้ังในและ ต่างประเทศมีกลไกความสำเร็จท่ีประกอบด้วยปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัด กลไกในเชงิ ระบบ กลไกการประสาน และกลไกการจัดการอย่างตอ่ เนื่องซ่ึง ประกอบดว้ ยงานและกจิ กรรมการใหข้ อ้ มลู และการรบั ขอ้ มลู ของทง้ั สองฝา่ ย คอื ทงั้ ฝา่ ยใหแ้ ละฝา่ ยรบั กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ การใหเ้ กดิ การขบั เคลอื่ นเครอื ขา่ ย ท่ีประสบความสำเร็จเกิดจากการสร้างพื้นที่กิจกรรมให้มีพ้ืนที่ส่วนกลางท ี่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกฝ่ายสามารถไว้วางใจซึ่งกันและกันได้ ท้ังสามารถ นำข้อมูลเร่ืองราวต่าง ๆ เข้ามาพูดคุย โต้แย้งกันในเชิงวิชาการได้โดยไม่ สร้างเง่ือนไขให้เกิดความขัดแย้งต่อกัน ความคิดเห็นท่ีแตกต่างซึ่งเกิดขึ้น ในวงเสวนาในพ้ืนที่ส่วนกลางน้ันให้ถือว่าเป็นความสร้างสรรค์และเป็น พรสวรรค์ที่แตกต่างของแต่ละบุคคลหรือตัวแทนของแต่ละองค์กรบุคลากร และผู้ทรงคุณวุฒิที่ร่วมกันขับเคลื่อนภาคีเครือข่ายต่างยืนยันตรงกันว่า นอกจากทุกคนต้องมีความรู้สึกในการมีส่วนร่วมสำหรับการทำกิจกรรม ร่วมกันแล้ว ยังต้องมีความรู้สึกรับผิดชอบต่อตนเองและต่อภาระงานของ หน่วยงานซึ่งถือเป็นปัจจัยหลักท่ีทำให้เกิดการขับเคลื่อนเครือข่ายได้ ต่อเนื่องและสามารถดำเนินการต่อไปได้จนประสบความสำเร็จ ดังท่ีพบใน กรณศี ึกษาต่างประเทศ ๔ ประเทศ คือ ฟนิ แลนด์ แคนาดา สิงคโปร์ และ ญ่ีปุ่น และกรณีศึกษาในประเทศ ๕ จังหวัด คือ นครปฐม ชลบุรี สุราษฎรธ์ านี เชียงใหม่ และสรุ ินทร์ ดังน้ี (ฉ) รูปแบบและกลไกการมสี ่วนร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา กรณศี กึ ษาตา่ งประเทศ ประเทศทค่ี ดั เลอื กเปน็ ประเทศกรณศี กึ ษา เป็นประเทศท่ีประสบความสำเร็จในการจัดการศึกษา เปิดโอกาสให้ ประชาชน องค์กรมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในรูปแบบที่แตกต่างกัน ซึ่งแต่ละประเทศมแี นวคดิ เชงิ ระบบ โดยสรปุ ดงั นี ้ ประเทศฟินแลนด์ ใช้ระบบการมีส่วนร่วมของพลเมืองเป็น นวัตกรรมทางการปกครองในระดับท้องถ่ินโดยองค์กรภาครัฐเช่ือมโยง กับภาคเอกชนและพลเมือง พลเมืองได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการ มีส่วนร่วมใน ๓ ส่วน คือ ๑) ส่วนงานผู้บริหารเมือง (Mayoral model) ๒) สว่ นงานการมสี ว่ นรว่ มของพลเมอื ง (The civic-participation model) ๓) สว่ นงานการจัดซือ้ จัดจา้ งต่าง ๆ (The Purchaser-provider model) ซงึ่ งานการจดั การศกึ ษาเปน็ ส่วนหนึง่ ในสวัสดกิ ารของรัฐ (๑ ใน ๗ welfare services boards of directors) ภายใตก้ ารบริหารของผวู้ า่ การเมอื ง และ คณะกรรมการเมือง โดยมีช่องทางในการส่ือสารจากระบบออนไลน์ให้ พลเมืองแสดงความคิดเห็นในการบริหารจัดการเมือง มีองค์กรไม่แสวงหา กำไร (NGOs) ร่วมแสดงความคิดเห็น และความคิดเห็นท้ังสองทางถูกนำ มาเปรียบเทียบและนำมาประชุมร่วมกันในทุกด้าน และมีกิจกรรมให้ ประชาชนร่วมพูดคุยร่วมกับประชาชนเพ่ือให้เกิดการปรับปรุงจากล่าง ข้ึนบน (bottom-up direction) โดยเปิดเป็นการส่ือสารสองทาง (two- way communication) ระหว่างประชาชนและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เพื่อให ้ ผู้บริหารได้รับฟังปัญหาจากประชาชนและได้แสดงเหตุผลของนโยบาย ต่าง ๆ ได้ ส่วนประชาชนก็ได้แสดงแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการน ี้ ทำให้เกิดความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกับภาครัฐ และ ทำให้เกิดความสามัคคีและการใช้ชีวิตแบบเมืองมีความเข้มแข็งและม ี ความร่วมมือกนั มากขน้ึ รูปแบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา (ช) ระบบการศึกษาของฟินแลนด์จึงเน้นความเป็นอิสระในระดับ ท้องถ่ิน เกิดการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมผ่านการปกครองระดับ เทศบาลเมือง การกำหนดและกำกับนโยบายการศึกษาในระดับชาติและ ความร่วมมือเชิงพื้นที่เกิดการบูรณาการ เพื่อการจัดการศึกษาและ การจดั การทรัพยากรการศกึ ษาเชิงพนื้ ท่ีท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ โดยมรี ะบบเขา้ มา เช่ือมต่อระหว่างเทศบาลเมืองและประชาชนในเขตพื้นที่ทั้งแบบ การประชุมพบหน้าและการแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์โดยนำข้อมูล มาแลกเปล่ียนกันและนำไปสู่นโยบายและยุทธศาสตร์เชิงพื้นท่ี เพื่อให้เกิด การเชื่อมต่อของประชาชน ชุมชน โรงเรียน เทศบาลเมืองอย่างมี ประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมของพลเมืองต่อการศึกษาอยู่ในระดับตัวแทน (delegate power) และกำลังก้าวไปสู่การกำกับโดยประชาชน (people control) คือ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้าน การศึกษาของโรงเรยี นให้สอดคล้องเชิงพน้ื ทโี่ ดยตรง ผลจากการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาถูก ออกแบบบรณู าการผนวกไว้ในการบริหารจัดการท้องถิ่น ประเทศแคนาดา รัฐบาลกลางมีนโยบายกระจายอำนาจในระบบ การศึกษา ทำให้หน่วยการตัดสินใจอยู่ในระดับรัฐ (provincial school board) เน้นการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน ส่วนกลางมีหน้าที่วางระบบ ประเมินเพื่อควบคุมคุณภาพการศึกษาเท่านั้น แต่ละรัฐปกครองอิสระ ทำให้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมลรัฐ (provincial ministry of education) ซ่ึงรับเลือกมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของมลรัฐ ทำงานร่วมกับข้าราชการประจำที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการมลรัฐและส่งเสริมการศึกษาแบบเขตพ้ืนท่ี โดยมี คณะกรรมการการศึกษาระดับมลรัฐ (School Board of Provinces) ซ่ึงประกอบด้วยกลุ่มผู้แทน (trustees) ต่าง ๆ โดยเน้นนโยบายการศึกษา (ซ) รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา เปิดกว้างในด้านหลักสูตรการเรียนการสอน พัฒนาระบบครูและการให้ อิสระกับครูในการจัดการการเรียนการสอน มีการจัดการให้ทุนการศึกษา เพื่อสนับสนุนการศึกษาท้องถ่ินและชนกลุ่มน้อย โดยแต่ละโรงเรียนจะมี สภาโรงเรียน (school council) เพื่อดำเนินกิจการของโรงเรียนให้ สอดคล้องกบั แนวนโยบายการศกึ ษาระดบั พ้ืนที่ การจัดการเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วม มีโครงสร้างที่เน้น การจัดการเชิงพ้ืนท่ีในระดับมลรัฐ การมีส่วนร่วมเกิดขึ้นผ่านสมัชชา การศึกษาในระดับประเทศ ด้วยการดำเนินการผ่าน “First Nations- Government of Canada terms of reference for joint collaboration 2016” ระหว่าง FNA กับ รัฐบาลแคนาดา ระบบ การศึกษาของรัฐบาลแคนาดาจึงกระจายอำนาจให้แต่ละรัฐบริหารผ่าน กระทรวงศึกษาธิการมลรัฐ (provincial ministry of education) ซ่ึงรัฐมนตรีมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของมลรัฐ โดยมีการพูดคุยกับ ทาง AFN board of education เพื่อส่งเสริมการศึกษาในแต่ละเขต มณฑล โดยมีคณะกรรมการการศึกษาระดับมลรัฐ (School Board of Provinces) ซ่ึงประกอบด้วยกลุ่มผู้แทนต่าง ๆ ซ่ึงจะทำหน้าท่ีกำหนด นโยบายการศึกษาในระดับมณฑลให้สอดคล้องกับ TOR for joint collaboration 2016 ระหว่าง FNA กับ รฐั บาลแคนาดา โดยทาง AFN มีตัวแทนในระดับบริหารที่มาจากการคัดเลือกของผู้นำชนเผ่า หัวหน้าใน ระดับเขตพ้ืนท่ี และประธานสภาผู้อาวุโส สภาสตรีและสภาเยาวชน ทำให้ เกิดการแลกเปล่ียนพูดคุยกันปีละ ๑ ครั้ง โดยเน้นนโยบายการศึกษา เปิดกว้างในด้านหลักสูตรการเรียนการสอนและการมีวิชาที่เก่ียวข้องกับ วฒั นธรรมชนพ้ืนเมอื ง ผลจากการศึกษาพบว่า สมัชชาการศึกษาเกิดจากการรวมตัวของ ชนเผ่าพื้นเมือง (สมัชชาชนเผ่าพื้นเมือง) และเรียกร้องสิทธิชนเผ่าพ้ืนเมือง เพอ่ื การจัดการศกึ ษา รูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษา (ฌ) ประเทศสิงคโปร์ รัฐบาลสงิ คโปรไ์ ด้ใช้นโยบายที่ช่ือว่า “Thinking Schools, Learning Nation” หรือ “โรงเรียนท่ีสอนให้คิด ชาติที่สอนให้ เรียนรู้” ซึ่งมุ่งเน้นไปที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าการท่องจำ นอกจากน้ี ยังมีคำขวัญว่า “สอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้มากขึ้น” (Teach Less, Learn More) ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีผลที่เป็นรูปธรรม ๖ ประการ คือ ๑) เส้นทางการศึกษาที่ยืดหยุ่น สามารถถ่ายโอนนักเรียนระหว่างสาย วิชาชีพกับสายสามัญเพ่ือเพ่ิมความกระตือรือร้นในการเรียน ๒) หลักสูตร เน้นให้นำความรู้พ้ืนฐานมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาและลดความ กดดนั เรื่องเกรดการศึกษา ๓) นโยบาย ๒ ภาษา เพื่อใหส้ อ่ื สารอย่างสากล และส่ือสารด้วยภาษาประจำเช้ือชาติของตนโดยยังคงเอกลักษณ์ทางสังคม และวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ๔) นโยบายจิตสำนึกรักชาติเพ่ือส่งเสริมความ เป็นพลเมืองที่เคารพประเทศและรักษากฎหมาย ๕) นโยบายการศึกษา เพื่อสร้างสังคมฐานความรู้และการอบรมทักษะเพ่ิมเติม ๖) ระบบการฝึก อบรมบคุ ลากรทางการศกึ ษาทเ่ี น้นการผลิตครทู ม่ี คี วามรูล้ ึกซงึ้ สิงคโปร์กำลังมุ่งหน้าไปสู่การกระจายอำนาจ การบูรณาการ การผสมกลมกลืน และการให้ทุนการศึกษา ซ่ึงมีความยืดหยุ่นและมีการ ให้ทุนที่พิจารณาอย่างชาญฉลาด ระบบทุนการศึกษามีท้ังแบบให้เปล่า ให้บางส่วนในทุกระดับการศึกษา ในการกระจายอำนาจ ผู้ปกครอง ผู้นำ ทอ้ งถน่ิ สามารถเขา้ มามบี ทบาทกบั โรงเรยี นไดม้ ากขนึ้ ในการกำหนดนโยบาย การศึกษาในวชิ าเพิม่ เตมิ และวชิ าพัฒนาทกั ษะต่าง ๆ ผลจากการศึกษา ไม่พบการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในการเป็น citizen participation in education เพ่ือการกำหนดและ กำกับนโยบายการศึกษาในระดับพื้นท่ีและการส่งต่อกลับไปสู่ระดับสมัชชา การศกึ ษาแห่งชาติ (ญ) รูปแบบและกลไกการมสี ่วนรว่ มและสมัชชาการศกึ ษา ประเทศญ่ปี ่นุ กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นกระทรวงท่ีดูแลด้านการศึกษา โดยมีสภาการศึกษา กลาง (the central council of education) ที่ดำเนินการให้ม ี การกระจายอำนาจและบทบาททางการศึกษาระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ (ระดับชาติ) จังหวัดและเมือง เพื่อให้มีการเปิดกว้างให้ชุมชนได้เข้ามาม ี ส่วนร่วมในการบริหารการศึกษาในระดับพื้นที่ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้ม ี การออกพระราชบัญญตั กิ ารศึกษา กำหนดกลไก คือ คณะทปี่ รึกษาโรงเรียน (the school advisors) ทำหน้าที่เสนอความต้องการของผู้ปกครองและ ชุมชนต่อโรงเรียน สร้างการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน และ กระตุ้นให้โรงเรียนมีความรับผิดชอบต่อชุมชนในด้านการเป็นแหล่งข้อมูล ข่าวสาร ต่อมามีพระราชบัญญัติการศึกษาระดับท้องถิ่น เพ่ือให้มีการต้ัง สภาการจัดการโรงเรียน (school management council) การจัดการเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วม มีโครงสร้างที่เน้นการ จัดการในระดับจังหวัด โดยมีสภาการศึกษากลางดำเนินการให้มีการ กระจายอำนาจและบทบาททางการศึกษาในทุกระดับ นโยบายการศึกษา ที่เน้นการเข้าถึงการศึกษา การเพิ่มระบบความรับผิดชอบเชิงข่าวสาร และ การให้โอกาสทางการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาส การมีสภาการจัดการโรงเรียน ทำให้อำนาจการตัดสินใจอยู่ในระดับจังหวัดหรือเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ เพ่ิมการมีสว่ นรว่ มของทอ้ งถ่นิ ต่อโรงเรียน ผลจากการศึกษา ไม่พบการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในการเป็น board of education เพ่ือการกำหนดและกำกับนโยบาย การศกึ ษาในระดบั พน้ื ที่ (จงั หวัดและเมือง) และการส่งต่อไปสู่ระดับสมชั ชา การศึกษาแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองมักมีส่วนร่วมผ่านสมาคม ผปู้ กครองและครู และการเย่ียมโรงเรียนเท่านนั้ รปู แบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา (ฎ) ข้อสรุปกรณีศึกษาจากต่างประเทศ พบว่า ปัจจัยหลักท่ีทำให้ งานการจัดการศึกษาแบบการมีส่วนร่วมที่ประสบความสำเร็จน้ันเป็นการ กระจายอำนาจให้ท้องถิ่นสามารถตัดสินใจบริหารจัดการตามสภาพ ที่เกิดข้ึนในท้องถิ่น โดยเน้นให้พลเมืองรู้จักรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของบุคคล เป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ซ่ึงเร่ิมต้ังแต่ระดับบุคคล องคก์ ร และหนว่ ยงานตามลำดบั การสรา้ งความตระหนกั รู้ รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบ ต่องานในหน้าที่ จึงเป็นปัจจัยในการขับเคล่ือน ปรับปรุงและพัฒนา การดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจนสามารถดำเนินได้ประสบความสำเร็จ ตามเป้าหมาย กรณีศึกษาในประเทศ จังหวัดท่ีคัดเลือกเป็นกรณีศึกษาเป็น จังหวัดท่ีมีกิจกรรมภาคีเครือข่ายในการจัดสมัชชาในรูปแบบที่แตกต่างกัน และประสบความสำเร็จในการจัดการซ่ึงจังหวัดอ่ืนสามารถนำไปประยุกต์ ใชเ้ ปน็ ต้นแบบได้ จงั หวัดทีค่ ดั เลือกไว้มี ๒ กล่มุ กลมุ่ แรก คอื กลุม่ ท่มี ีดำเนนิ กิจกรรมของสมัชชาภาคีเครือข่ายสุขภาพอย่างต่อเน่ือง ได้แก่ จังหวัด นครปฐม เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดกิจกรรมภาคีเครือข่ายที่ย่ังยืน และ กลุ่มที่ ๒ คือ กลุ่มท่ีดำเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมแบบภาคีเครือข่ายด้าน การศกึ ษา มี ๔ จงั หวดั ได้แก่ เชยี งใหม่ สุราษฎร์ธานี ชลบุรี และสรุ นิ ทร ์ จังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดที่ดำเนินงานด้านสมัชชาสุขภาพ มาอย่างต่อเน่ือง และนำกิจกรรมการจัดภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมเข้าไป แกไ้ ขปัญหาสงั คมในพ้ืนท ่ี รูปแบบกลไกการจัดการเครือข่ายเชิงระบบ จังหวัดนครปฐม เน้นการจัดการเชิงพื้นท่ี ใช้แนวทางการดำเนินงานภาครัฐควบคู่ไปกับภาค ประชาชนในลักษณะคู่ขนาน (รัฐคู่ประชาชน) โดยโครงสร้างภาครัฐจะอยู่ ในระนาบบน มีหน้าที่กำหนดนโยบายยุทธศาสตร์และขับเคล่ือนผ่านระบบ ราชการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องโดยกำหนดผลลัพธ์และเป้าหมายท่ี (ฏ) รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมัชชาการศกึ ษา ชัดเจน ภาคประชาชนจะอยู่ในระนาบล่าง เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง โดยใช้กิจกรรมเป็นพื้นฐานของการรวมตัวกัน มุ่งให้ เกิดการเรียนรเู้ ชงิ พ้ืนทเี่ ป็นสำคญั กลไกการขบั เคลอ่ื นใชก้ ารจดั สรรทรพั ยากรการศกึ ษา (งบประมาณ) เพื่อให้การขับเคลื่อนดำเนินไปได้โดยเกิดการเช่ือมโยงระหว่างนโยบาย ภาครัฐกับการเข้าไปมีส่วนร่วมของภาคประชาชน หน่วยงานราชการเป็น แหล่งท่ีมาของงบประมาณและให้การสนับสนุนกิจกรรมตา่ ง ๆ ท้ังนี้ ตอ้ งมี การประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยราชการกับ การจัดกิจกรรม การนำเสนอผลลัพธ์กับการเรียนรู้เชิงพ้ืนท่ี โดยที่ผลลัพธ์ที่ เกดิ ขนึ้ ในพน้ื ทตี่ ามเปา้ หมายของทางราชการจะเปน็ ตวั ขบั เคลอ่ื นการเรยี นร ู้ เชิงพนื้ ท่ดี ว้ ย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่สร้างความต่อเนื่องในการดำเนิน กิจกรรมของจังหวัดนครปฐม คือ การจัดวางบุคคลให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับความสามารถ รวมท้ังการสร้างกิจกรรมในพ้ืนท่ีอย่างต่อเนื่อง โดยมีมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐมเป็นแกนในการดำเนินกจิ กรรม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคีเชียงใหม่เพ่ือการปฏิรูปการศึกษามีการ จัดการภาคเี ครอื ขา่ ยแบบมสี ว่ นรว่ มอยา่ งเปน็ ระบบ เนน้ การเชดิ ชูอัตลักษณ์ ท้องถิ่นเพ่ือให้พลเมืองเชียงใหม่รักท้องถิ่น ใช้แนวทางการดำเนินงานผา่ น การมสี ว่ นรว่ มโดยอาศยั การรเิ รมิ่ จากหมคู่ ณะทเี่ หน็ พอ้ งตอ้ งกนั ในการศกึ ษา เชิงพื้นท่ี จากน้ันแสวงหาพันธมิตรกับ ๙๙ ภาคี จนเกิดเป็นภาคีเชียงใหม่ เพือ่ การปฏริ ปู การศกึ ษา โดยมอี งค์การบริหารส่วนจงั หวดั (อบจ.) เป็นฝ่าย เลขานุการ มีคณะทำงานหลักเป็นผู้วางยุทธศาสตร์ ประสานงานและ ขับเคล่ือนกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาคี เครือข่ายต่าง ๆ ในพ้ืนที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยการกำหนดความรับผิดชอบ ร่วมกันเพ่ือให้เกิดการสร้างสรรค์เชิงพ้ืนที่และนำไปสู่กิจกรรม โดยมี รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมชั ชาการศึกษา (ฐ) องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล (อบต.) เข้าร่วมในกิจกรรมเพ่ือให้เกิดผลในพื้นท ่ี อย่างต่อเน่ือง และการจัดตั้งกองทุนเพ่ือช่วยลดความเหลื่อมล้ำทาง การศึกษา (กองทุน ๑๐ บาท) เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการขับเคล่ือน กิจกรรมต่าง ๆ เชิงพื้นที่และเพ่ือเป็นแรงขับที่สำคัญในการดำเนินการ ไปสู่เปา้ หมายได ้ กลไกเชื่อมโยงท่สี ำคญั คือ คณะทำงานหลกั ทเี่ ข้ามาผลกั ดันให้เกิด การปฏิรูปการศึกษาและส่งเสริมการมีส่วนร่วม โดยมีระดับอำเภอ ตำบล และอบต. ที่เห็นคุณค่าและเข้ามาร่วมสนับสนุนรวมทั้งผลักดันกิจกรรม ต่าง ๆ เช่น หลกั สตู รรกั ษ์เชยี งใหม่ไปยังโรงเรียนหรือสถาบันตา่ ง ๆ การลด ความเหล่ือมล้ำของผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาและการมีงานทำของ คนเชยี งใหม ่ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยแกนหลักในการขับเคลื่อนให้เกิด กิจกรรมของภาคีเชียงใหม่ใช้หลักการกระตุ้นความรู้สึกรับผิดชอบร่วมกัน โดยการสร้างความตระหนักให้เกิดข้ึนภายในตัวบุคคล เพ่ือให้เกิดความ รับผิดชอบในหน้าท่ีของตน และจัดกิจกรรมเพ่ือเปิดโอกาสการสร้างการมี ส่วนร่วมในชุมชนและสังคม โดยมีองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ทำหนา้ ทส่ี นบั สนนุ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดการภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมเพราะ ได้รับแรงกระตุ้นจากหน่วยงานภาครัฐสร้างโอกาสและให้งบประมาณ สนับสนุน จนสามารถสร้างแรงสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในท้องถิ่นและ ชุมชน โครงสร้างการจัดการเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วมของจังหวัด สุราษฎร์ธานี เน้นการเชิดชูอัตลักษณ์ท้องถ่ิน “พุทธทาสศึกษา” และ การลดความเหล่ือมล้ำ ใช้แนวทางการดำเนินงานภาครัฐเป็นหลัก โดยโครงสร้างภาครัฐจะเน้นการดำเนินงานผ่านองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ฑ) รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา เพ่ือประสานงานให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรการศึกษาที่ถูกต้องตาม ระเบียบงบประมาณ ทำใหเ้ กิดกจิ กรรมเพือ่ เติมเต็มหลกั สูตร โดยมอี งคก์ าร บริหารส่วนตำบล (อบต.) ที่สนใจเข้าร่วมสนับสนุน และการลดความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษาในผเู้ รยี นกลุ่มตา่ ง ๆ กลไกที่เชื่อมโยงสำคัญ คือ การมีส่วนร่วมที่เข้ามาผลักดันให้เกิด การปฏิรูปการศึกษา การลดความเหลื่อมล้ำ และการผลักดันกิจกรรม หลกั สตู รพทุ ธทาสศกึ ษาไปยงั โรงเรยี นหรอื สถาบนั ตา่ ง ๆ ทงั้ น้ี โดยพจิ ารณา ให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งเป้าไปสู่การเป็น “สรุ าษฎร์ เมืองคนด”ี การเช่ือมโยงเครือข่ายสมัชชาได้แรงบันดาลใจจากรูปแบบการ ทำงานร่วมกันของคณะทำงานระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และ จังหวัดที่ประสบความสำเร็จในการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา โดยใช้ แผนงานยุทธศาสตร์เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนแผนงาน โครงการ ในระดบั พนื้ ท่ี อำเภอ ตำบล และสถานศึกษา ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยแกนหลักในการขับเคลื่อนให้เกิด กิจกรรมอยู่ที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ซึ่งคอยจัดกิจกรรมตาม แผนงานให้เกิดผลตามเป้าหมายในแตล่ ะพ้ืนท่ี จงั หวดั ชลบรุ ี จัดการภาคีเครอื ข่ายการมสี ว่ นร่วมโดยใชห้ น่วยงาน ภาครัฐเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนภาคีเครือข่ายในระยะแรก และเปิด โอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในส่วนการประสานงาน สนับสนุน เพือ่ ใหเ้ กดิ กิจกรรมตามแผนงานโครงการ รูปแบบการจัดการเชิงระบบเน้นการจัดการเชิงพื้นที่ ใช้แนวทาง การดำเนินงานภาครฐั เป็นหลัก โดยโครงสรา้ งภาครฐั จะเนน้ นโยบายปฏบิ ัติ ผ่านคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน รูปแบบและกลไกการมีสว่ นรว่ มและสมัชชาการศกึ ษา (ฒ) มีการสนับสนุนด้านการจัดสรรทรัพยากรการศึกษาจากงบบูรณาการของ จังหวัด, สสค. มีการผนึกกำลังการมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษาทั้ง ๖ ระดับ โดยใช้ยุทธศาสตร์การศึกษาเชิงพ้ืนท่ีเป็นฐานนโยบาย ขับเคลื่อน แผนปฏิบัติไปสู่กิจกรรมท่ีให้อิสระแต่ละสถาบันการศึกษา โดยมีการ ประชาสมั พนั ธเ์ พ่ือให้เกดิ การรับรรู้ ว่ มกนั นำไปสู่เป้าหมาย กลไกเชื่อมโยงท่ีสำคัญ คือ การจัดตั้งคณะอนุกรรมการ ๕ คณะ เพ่ือเป็นคณะทำงานที่เช่ือมโยงกันเพ่ือขับเคลื่อนการปฏิรูป โดยเป็น การประสานเชื่อมโยงจังหวัด การมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษา และ กิจกรรมให้ประสานสอดคล้องกันจนเกิดแผนปฏิบัติที่ชัดเจน และเป็น พ่ีเลยี้ งแกส่ ถาบันการศกึ ษานำไปส่กู ารสมั ฤทธผิ ลและการบรรลเุ ป้าหมาย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยแกนหลักในการขับเคลื่อนให้เกิด กิจกรรมอยู่ที่คณะทำงานฝ่ายเลขานุการของคณะทำงานแต่ละชุดท่ีคอย ประสานจดั การใหเ้ กิดกิจกรรมในระดบั ต่าง ๆ ใหเ้ กิดขน้ึ ตามเป้าหมายของ แผนงานโครงการ โดยมีองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดทำหนา้ ทีส่ นับสนนุ จังหวัดสุรินทร์ จัดการภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ระยะ เร่ิมต้นโดยใช้การมีส่วนร่วมแบบปัญจภาคีที่มีทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมคิด รว่ มทำ และร่วมตดิ ตามผลตามเปา้ หมายทว่ี างไว ้ การจัดการเชิงระบบของจังหวัดสุรินทร์ เน้นการจัดการเชิงพ้ืนที่ ใช้แนวทางการดำเนินงานภาครัฐส่งเสริมภาคประชาชน โดยโครงสร้าง ภาครัฐจะอยู่ในลักษณะเริ่มต้นจากจังหวัด โดยยุทธศาสตร์การศึกษาเชิง พื้นที่ และการมีส่วนร่วมแบบปัญจภาคี มีงบประมาณผ่านการจัดสรร งบประมาณและการเสนอขอรับทุนจากแหล่งทุนต่าง ๆ มาเป็นทรัพยากร การศึกษาเพอ่ื ดำเนินกจิ กรรมไปสู่เปา้ หมาย จังหวัดโดยสมัชชาการศึกษาเชิงพ้ืนที่เป็นภาคส่วนสำคัญในการ ผลกั ดันการจดั สรรทรัพยากรการศกึ ษา (งบประมาณ) และประสานงานกบั (ณ) รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมชั ชาการศึกษา ปัญจภาคีและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในระดับพ้ืนท่ี เช่น อบจ., อบต., เทศบาล เข้ามาสนับสนุนในเชิงพื้นที่ผ่านยุทธศาสตร์การศึกษา เชิงพื้นท่ีและให้การมีส่วนร่วมขับเคล่ือนกิจกรรมอย่างเป็นธรรมชาต ิ เพอื่ นำไปสเู่ ปา้ หมายในระยะยาว ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยแกนหลักในการขับเคลื่อนให้เกิด กิจกรรม คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และองค์การ บรหิ ารส่วนตำบลทใ่ี ช้หลักการทำแบบแบบปญั จภาคีดำเนินกิจกรรม ดังน้ันจึงนำแนวคิดเชิงระบบกลไกการมีส่วนร่วมจากความสำเร็จ ดงั กลา่ วทง้ั จากตา่ งประเทศและในประเทศมาใชเ้ ปน็ แนวคดิ ในการออกแบบ เป็นกลไกการมีส่วนร่วมของเครือข่ายเชิงระบบได้ ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับ จงั หวัด ระดับอำเภอ และระดับตำบล ดงั น้ี รูปแบบกลไกระดับจังหวัด เป็นกลไกเชิงระบบท่ีใช้การผลักดัน นโยบาย แผนงาน ด้วยการตัดสินใจเชิงนโยบายและเชิงกลยุทธ์ ซึ่งเป็น กลไกในระดับการบรหิ ารองคก์ รและการตดั สนิ แก้ปญั หาในพนื้ ท ี่ รูปแบบกลไกระดับอำเภอ เป็นกลไกการประสานท่ีเช่ือมโยง ภาคีเครือข่าย กิจกรรม เป้าหมาย บุคคลที่มีทักษะความชำนาญในแต่ละ เรอื่ ง ทง้ั สาระความรู้ ขอ้ มูลพื้นฐาน และงานงบประมาณ รูปแบบกลไกระดับตำบล เป็นกลไกการจัดการที่ใช้ในระดับ ปฏิบัติการและเป็นปัจจัยที่เอื้ออำนวยให้เกิดการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ตามสภาพปญั หาในแตล่ ะพนื้ ท่ี กลไกทง้ั ๓ ระดบั นี้ สามารถปรบั ประยกุ ตเ์ พอ่ื ใหเ้ กดิ การนำนโยบาย ในระดับชาติไปสู่การปฏิบัติในพ้ืนท่ีระดับจังหวัดได้ โดยระดับจังหวัดปรับ เป็นระดับชาติ ทำหน้าที่ตัดสินใจเชิงนโยบายและติดตาม ประเมินผล ระดบั อำเภอปรบั เป็นระดับภูมภิ าค ทำหน้าทปี่ ระสานงานให้เกิดการปฏบิ ัติ และระดับตำบลปรับเป็นระดับจังหวดั ทำหนา้ ทีเ่ ปน็ หนว่ ยปฏิบัติ ดงั น้ี รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา (ด) ๑. กลไกเชิงระบบเป็นกลไกเชิงนโยบายท่ีใช้การผลักดันนโยบาย แผนงาน ด้วยการตัดสินใจเชงิ นโยบายและเชงิ กลยทุ ธ์ ซ่ึงเป็นกลไกในระดับ การบริหารองค์กรและการตัดสินแก้ปัญหาในระดับนโยบายตั้งแต่ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับภูมิภาค ระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัดและระดับพื้นท่ี เป็นกลไกท่ีเช่ือมโยงเครือข่ายระดับต่าง ๆ เข้าด้วยกันแล้วจึงร่วมมือกัน ขบั เคลอ่ื นแผนงานโครงการผา่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ตามพน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย ๒. กลไกการประสานเปน็ ปัจจยั ท่เี ชือ่ มโยงภาคเี ครือข่าย กิจกรรม เป้าหมาย บุคคลท่ีมีทักษะความชำนาญในแต่ละเรื่อง สาระความรู้ ข้อมูล พ้ืนฐาน และงานงบประมาณ บุคลากรท่ีร่วมงานโครงการและกลุ่มภาคี เครือข่าย ท้ังในระดับชาติ กระทรวง กรม กอง หรือหน่วยงานในระดับ เขตพ้ืนท่ี ระดบั จังหวดั อำเภอ และตำบล เป็นกลไกท่ตี ้องดำเนินการอยา่ ง ต่อเนื่องเพ่ือสร้างความคุ้นชินและคุ้นเคยต่อการดำเนินงานหรือกิจกรรม จนเกิดความไว้วางใจต่อกัน กลไกน้ีจำเป็นต้องใช้ทำงานร่วมกันกับกลไก การจดั การ ๓. กลไกการจัดการเป็นกลไกท่ีใช้ในระดับปฏิบัติการและเป็น ปัจจัยท่ีเอื้ออำนวยให้เกิดการจัดกิจกรรมที่หลากหลายตามแต่ละสภาพ ปัญหาในพื้นที่ ทั้งน้ีเพราะกิจกรรมภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมเป็น กิจกรรมท่ีมุ่งแก้ไขปัญหาในระดับพ้ืนท่ี และเป็นปัญหาที่ต้องการการแก้ไข ปญั หาอย่างเร่งด่วน หรอื การแกไ้ ขปัญหาลว่ งหนา้ ก่อนท่ีจะเกิดปัญหาซึ่งถือ เป็นการปอ้ งกนั ความเสย่ี งท่ีเกิดขนึ้ ปัจจัยความสำเรจ็ ในการขับเคลอ่ื นแผนงานโครงของภาคเี ครอื ขา่ ย การมีส่วนร่วม คือ ระบบปฏิบัติการท่ีใช้การนิเทศ แนะนำ ช่วยเหลือ รว่ มคดิ รว่ มทำและรว่ มตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื และรว่ มประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ าร ตามแผนงานโครงการ (ต) รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา ปัจจัยความสำเร็จในการสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน คือ การสร้างพ้ืนท่ีส่วนกลางท่ีทุกฝ่ายมีความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน พร้อม เปดิ ใจคุยกนั เพอ่ื ช่วยกนั พัฒนาชมุ ชนอย่างมีส่วนรว่ ม ปจั จยั ความสำเรจ็ ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบใหเ้ งอ่ื นไขของกลไกขบั เคลอ่ื น มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง คือ คุณสมบัติของสมาชิกเครือข่ายหรือ บุคลากรหนว่ ยงาน มีองคป์ ระกอบ ๓ ประการ คือ (๑) เป็นผู้มีจิตอาสา รู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือ ประโยชนส์ ว่ นรวม (๒) เป็นผู้รับผิดชอบต่อภาระหน้าท่ีของตนเองที่มีต่อองค์กร ชมุ ชน และสังคม (๓) เป็นผู้มีคุณลักษณ์ในลักษณะหน่ึงหรือหลายลักษณะใน คุณลักษณ์ ๕ ประการนี้ คือ เป็นนักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ นักประสาน นักจดั การ และนกั สื่อสาร ปจั จยั ความสำเรจ็ ในระดบั สถานศกึ ษา การนเิ ทศแบบการมสี ว่ นรว่ ม ในระดบั สถานศกึ ษา เป็นการร่วมคิด รว่ มทำ รว่ มแก้ไขปัญหา งานการนิเทศแบบการมีส่วนร่วม เพื่อติดตามและประเมินผล ดำเนนิ การใน ๒ ลกั ษณะ ได้แก่ (๑) การนิเทศเพ่ือสร้างความตระหนักในการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีสร้างความตระหนักให้แก่ผู้เรียน ครู ผู้อำนวยการ สถานศึกษา และผูป้ กครอง (๒) การนิเทศและติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในแต่ละ สถานศึกษา ซ่ึงเป็นการติดตามผลการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา โดยทำหน้าท่ีเป็นพี่เล้ียงคอยให้คำปรึกษา แนะนำ และร่วมแก้ไขปัญหา ท่ีเกิดขน้ึ ในสถานศึกษา รปู แบบและกลไกการมีส่วนรว่ มและสมัชชาการศึกษา (ถ) ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย การจดั การศกึ ษาแบบมสี ว่ นรว่ มในพนื้ ท่ี เปน็ กจิ กรรมการเชอ่ื มโยง จากนโยบายและแผนไปสู่การปฏบิ ตั โิ ดยตรง โดยมหี นว่ ยงานเชื่อมประสาน ในระดับจังหวดั ซึ่งตอ้ งดำเนนิ การ ดังน ี้ ๑. รัฐควรจัดให้มีการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการและ การตัดสินใจเชิงนโยบายในระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับสิทธิท่ีระบุไว ้ ในรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒. รัฐควรออกพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ เพ่ือเปิด โอกาสให้จังหวัดท่ีมีความพร้อมในการบริหารจัดการศึกษาตามสภาพ ความต้องการของพื้นท่ี โดยให้สิทธิในการบริหารจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ และให้อำนาจในการบริหารจัดการ ๓ เรือ่ ง คือ (๑) งานการบริหารบุคคล (๒) งานการปฏิรูปการศึกษา และ (๓) การบริหารงานงบประมาณ และ การจดั การทรัพยากรทางศึกษา ๓. รัฐควรออกพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาเชิงพ้ืนที่เชิง การทดลองนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ีในระดับสถานศึกษา เพ่ือสร้างระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มาจากความต้องการ ของคนในพนื้ ท่ี ตั้งแตร่ ะดับจังหวดั อำเภอ และตำบล ๔. การปรับปรุงสาระในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. .... ควรระบุเร่ืองการจัดการศกึ ษาแบบมสี ว่ นร่วมให้ชดั เจน เพื่อใหเ้ กดิ การนำไปสกู่ ารปฏบิ ัติและออกพระราชบญั ญัตกิ ารจัดการศกึ ษาเชงิ พ้ืนท่ี ขอ้ เสนอแนะสำหรับสำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษาเป็นหนว่ ยงานเชิงนโยบาย ไม่มี หน่วยงานปฏิบัติการในพื้นท่ีระดับจังหวัด การขับเคล่ือนนโยบายและ แผนงานตา่ ง ๆ ผา่ นการสงั่ การและประสานงานในระดบั กระทรวง เพอ่ื ให้ เกิดการปฏิบัติการตามแผน งานจัดการภาคีเครือข่ายสมัชชาทางการศึกษา (ท) รปู แบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา ที่เน้นการมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่ สำนักงานฯ ควรส่งเสริมการสร้างภาคี เครอื ขา่ ยในระดบั พน้ื ท่ี เพอื่ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาในลกั ษณะ การร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วมติดตามประเมินผลตาม เปา้ หมายของแผนงาน สำนักงานฯ จึงควรจัดให้มีกลุ่มงานหรือหน่วยงานในระดับจังหวัด เพ่ือทำหน้าที่ประสานงาน และสร้างกลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา กำหนดมาตรการให้หน่วยงานของรัฐ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในแตล่ ะจงั หวดั เพื่อทำหน้าท่ีเก็บขอ้ มลู ให้ข้อมูล ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน เพ่ือจัดทำรายงานผล การปฏิรูปการศึกษาในแต่ละปีงบประมาณ และทำหน้าที่เชื่อมโยงนโยบาย การจัดการศึกษาจากส่วนกลางให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาในระดับ พน้ื ที่ของแต่ละจงั หวัด รปู แบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา (ธ) สารบญั คำนำ หน้า (ก) บทสรปุ ผบู้ รหิ าร (จ) สารบญั (ธ) สารบัญภาพ (ป) บทที่ ๑ บทนำ ๑ ๑.๑ ความเปน็ มา ๑ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค ์ ๕ ๑.๓ เปา้ หมาย ๕ ๑.๔ กรอบแนวคดิ การศึกษา ๖ ๑.๕ นิยามศพั ท ์ ๗ ๑.๖ ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับจากการศกึ ษา ๘ บทที่ ๒ สภาพการดำเนินงาน และกลไกทสี่ ง่ ผลต่อประสิทธภิ าพ ๙ การดำเนินงาน กรณีศึกษาภาคีเครือข่าย/ สมัชชาการศกึ ษาจากต่างประเทศ ๒.๑ กรณศี กึ ษาประเทศฟนิ แลนด์ ๑๔ ๒.๒ กรณีศึกษาประเทศแคนาดา ๒๓ ๒.๓ กรณีศึกษาประเทศสิงคโปร์ ๓๓ ๒.๔ กรณศี กึ ษาประเทศญีป่ ุน่ ๔๒ (น) รปู แบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทที่ ๓ สภาพการดำเนินงาน กลไกทส่ี ่งผลตอประสทิ ธิภาพ ๔๗ การดำเนนิ งาน และกลไกทีป่ ระสบผลสำเรจ็ (Best practice) กรณศี กึ ษาภาคีเครือข่าย/สมชั ชาการศกึ ษาในประเทศ ๓.๑ รปู แบบการจัดการกลไกเชิงระบบ ๔๙ เครอื ขา่ ยสมชั ชา จงั หวดั นครปฐม ๓.๒ รูปแบบการจดั การกลไกเชิงระบบแบบการมีสว่ นร่วม ๖๕ ภาคีเชยี งใหมเ่ พอ่ื การปฏริ ปู การศึกษา ๓.๓ รูปแบบการจดั การกลไกเชงิ ระบบแบบการมีส่วนรว่ ม ๗๘ สมัชชาการศึกษาจังหวดั สรุ าษฎร์ธาน ี ๓.๔ รปู แบบการจดั การกลไกเชิงระบบ ๙๑ เครือข่ายคณะกรรมการจงั หวดั ปฏิรูปการเรยี นรู้ จงั หวัดชลบรุ ี ๓.๕ รูปแบบการจดั การกลไกเชงิ ระบบ ๑๐๑ เครอื ข่ายการมีสว่ นรว่ ม สมัชชาการศึกษาจังหวดั สุรนิ ทร ์ รูปแบบและกลไกการมีสว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา (บ) สารบญั (ตอ่ ) หน้า บทที่ ๔ รปู แบบการส่งเสริมและสนับสนนุ การดำเนินงาน ๑๒๐ ภาคเี ครอื ขา่ ย/สมัชชาการศกึ ษา ๔.๑ รูปแบบการจัดการกลไกเชงิ ระบบการมีสว่ นรว่ ม ๑๒๒ เครอื ข่ายระดับจังหวัด ๔.๒ รปู แบบการจดั การกลไกเชงิ ระบบการมีส่วนร่วม ๑๒๖ เครือขา่ ยระดบั อำเภอ ๔.๓ รูปแบบการจัดการกลไกเชงิ ระบบการมสี ว่ นรว่ ม ๑๒๙ เครอื ข่ายระดบั ตำบล ๔.๔ รูปแบบกลไกการขบั เคลื่อนโดยการสรา้ งกิจกรรม ๑๓๒ การมสี ่วนรว่ มในพื้นที ่ ๔.๕ รูปแบบกลไกความสำเร็จระดับบุคคล ๑๓๕ หรอื คณะบุคคลเพือ่ การขับเคลื่อนเครือขา่ ย ๔.๖ แนวคิดในการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการดำเนนิ งาน ๑๓๗ ภาคเี ครือข่ายสมัชชาการศึกษา บทท่ี ๕ สรปุ อภปิ ราย และข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย ๑๔๐ บรรณานกุ รม ๑๖๙ ภาคผนวก ๑๗๕ คณะผู้จัดทำ ๑๘๘ (ป) รปู แบบและกลไกการมสี ่วนรว่ มและสมชั ชาการศึกษา สารบัญภาพ หน้า แผนภาพท่ี ๑ แสดงกรอบการศึกษาแนวคิดการส่งเสริม ๖ และพัฒนาแนวทางการมสี ว่ นร่วมและสมชั ชาการศึกษา แผนภาพท่ี ๒ แสดงพลงั อำนาจท่ใี ช้การมสี ่วนรว่ ม ๑๐ เพ่อื ขบั เคลื่อนงานไปสเู่ ป้าหมาย แผนภาพที่ ๓ แสดงหลกั การพน้ื ฐานของการจัดการศึกษา ๑๖ ประเทศฟินแลนด์ แผนภาพที่ ๔ แสดงโครงสร้างการจดั การเชิงระบบ ๑๗ แบบการมีส่วนร่วม ประเทศฟินแลนด์ แผนภาพท่ี ๕ แสดงการมีสว่ นรว่ มในระบบบรหิ าร ๒๑ ของประเทศฟนิ แลนด์ แผนภาพที่ ๖ แสดงการกระจายตัวของชุมชนชนพ้ืนเมอื ง ๒๕ ในประเทศแคนาดา แผนภาพท่ี ๗ แสดงกลไกเชิงระบบแบบการมสี ่วนร่วม ๒๘ เพอื่ การจัดการศึกษาของชนพ้ืนเมอื งประเทศแคนาดา แผนภาพที่ ๘ แสดงระดบั การมีสว่ นร่วมเพื่อการจดั การศึกษา ๓๑ สำหรบั ชนพ้นื เมอื ง ประเทศแคนาดา แผนภาพที่ ๙ แสดงโครงสร้างการจดั การเชงิ ระบบ ๓๙ แบบการมีส่วนรว่ ม ประเทศสงิ คโปร ์ แผนภาพที่ ๑๐ แสดงกลไกเชิงระบบแบบมีส่วนรว่ ม ๔๔ เพื่อการจดั การศกึ ษา ประเทศญี่ปนุ่ แผนภาพที่ ๑๑ แสดงรปู แบบการจดั การกลไกเชงิ ระบบ ๔๙ เครือข่ายสมชั ชา จังหวดั นครปฐม รูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมชั ชาการศึกษา (ผ) สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หน้า แผนภาพท่ี ๑๒ แสดงการสร้างกลไกการมีสว่ นร่วม ๕๒ จากทกุ ภาคสว่ นในพืน้ ท่ ี แผนภาพที่ ๑๓ แสดงการสรา้ งเวทกี จิ กรรมการมีสว่ นรว่ ม ๕๓ เพอื่ ให้เกิดกิจกรรมการส่อื สาร ๒ ทางในระดบั พน้ื ท่ี แผนภาพที่ ๑๔ แสดงการสรา้ งพ้ืนทกี่ ลาง ๕๕ เพอ่ื การสร้างเครือข่ายที่ดใี นพน้ื ท ี่ แผนภาพท่ี ๑๕ แสดงการสร้างการมีสว่ นรว่ มภายในสถานศึกษา ๕๗ เพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรูท้ ่ดี ี แผนภาพท่ี ๑๖ แสดงการอบรมครูโดยใชห้ ้องเรยี นและสถานศึกษา ๕๘ แผนภาพท่ี ๑๗ แสดงเครอื ขา่ ยสมชั ชาสขุ ภาพ ต.ละมดุ ๕๙ อ.นครชยั ศรี และชมรมคนรกั แมน่ ำ้ ท่าจีน (นครปฐม) แผนภาพท่ี ๑๘ แสดงแนวคดิ การจดั การเชงิ ระบบแบบการมสี ว่ นรว่ ม ๖๕ ของภาคีเชียงใหม่เพื่อการปฏริ ปู การศึกษา แผนภาพท่ี ๑๙ แสดงการพัฒนาการเชอ่ื มโยงกลไกขบั เคล่อื น ๖๘ ภาคีเครอื ข่าย แผนภาพท่ี ๒๐ แสดงกลไกทส่ี ง่ ผลต่อความสำเร็จ ๗๐ ในการขับเคล่อื นภาคเี ครือข่าย จังหวดั เชียงใหม ่ แผนภาพที่ ๒๑ แสดงรปู แบบการจดั การเชงิ ระบบ ๗๘ แบบการมีส่วนรว่ มของสมชั ชาการศึกษา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี แผนภาพท่ี ๒๒ แสดงการเช่อื มโยงเครือขา่ ยสมชั ชาการมสี ว่ นร่วม ๘๐ แผนภาพท่ี ๒๓ แสดงองค์ประกอบของคณะทำงาน ๘๑ (ฝ) รูปแบบและกลไกการมีส่วนรว่ มและสมชั ชาการศกึ ษา สารบัญภาพ (ตอ่ ) หนา้ แผนภาพท่ี ๒๔ แสดงการดำเนนิ งานตามแผนงานยุทธศาสตร ์ ๘๒ ในระดบั สถานศกึ ษา แผนภาพที่ ๒๕ แสดงการนเิ ทศและติดตามประเมินผล ๘๓ อยา่ งเปน็ ระบบในระดบั สถานศึกษา แผนภาพท่ี ๒๖ แสดงกลไกท่ีส่งผลต่อความสำเร็จ ๘๔ ในการขบั เคลอ่ื นสมัชชา จงั หวัดสุราษฎร์ธาน ี แผนภาพท่ี ๒๗ แสดงรปู แบบการจดั การเชงิ ระบบ เครอื ขา่ ย ๙๑ คณะกรรมการจังหวดั ปฏริ ปู การเรยี นรู้ จังหวดั ชลบุร ี แผนภาพที่ ๒๘ แสดงรปู แบบกลไกการประสานงาน ๙๓ และการเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยในพื้นท่ีระดบั จงั หวัด แผนภาพที่ ๒๙ แสดงรูปแบบการทำงานฝา่ ยเลขานกุ าร ๙๔ คณะทำงานฯ จังหวดั ชลบุรี แผนภาพที่ ๓๐ แสดงการนเิ ทศและตดิ ตาม ประเมนิ ผล ๙๕ การดำเนนิ งานโครงการของสถานศึกษา แผนภาพท่ี ๓๑ แสดงกลไกทส่ี ง่ ผลต่อความสำเรจ็ ๙๗ ในการขบั เคล่ือนเครือขา่ ย คณะกรรมการจงั หวัด ปฏริ ูปการเรยี นรู้ จังหวัดชลบรุ ี แผนภาพท่ี ๓๒ แสดงการจดั การเชิงระบบเครือขา่ ยการมีสว่ นรว่ ม ๑๐๑ “ปญั จภาค”ี จงั หวัดสรุ ินทร์ แผนภาพที่ ๓๓ แสดงการประสานงานคณะทำงานเครือข่าย ๑๐๓ ปญั จภาคี จงั หวดั สรุ ินทร์ รปู แบบและกลไกการมสี ่วนร่วมและสมัชชาการศกึ ษา (พ) สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า แผนภาพท่ี ๓๔ แสดงกลไกการเชือ่ มโยงเครอื ข่ายปัญจภาคี ๑๐๔ การมีสว่ นร่วม จงั หวดั สุรินทร์ แผนภาพท่ี ๓๕ แสดงกลไกการจดั การหลกั สตู รฯ ทเ่ี ชือ่ มโยง ๑๐๕ เครอื ข่ายปัญจภาคี จังหวดั สุรินทร์ แผนภาพท่ี ๓๖ แสดงการติดตามประเมนิ ผลของเครือข่าย ๑๐๖ ปญั จภาคี จงั หวัดสุรินทรร์ ะดับสถานศึกษา แผนภาพท่ี ๓๗ แสดงกลไกที่ส่งผลตอ่ ความสำเรจ็ ๑๐๗ ในการขับเคล่ือนสมชั ชา จงั หวัดสรุ นิ ทร ์ แผนภาพท่ี ๓๘ แสดงรูปแบบการจดั การกลไกเชิงระบบ ๑๒๒ การมสี ่วนร่วม เครือข่ายระดับจงั หวดั แผนภาพที่ ๓๙ แสดงรปู แบบการจดั การกลไกเชงิ ระบบ ๑๒๖ การมสี ่วนร่วม เครือข่ายระดบั อำเภอ แผนภาพที่ ๔๐ แสดงรปู แบบการจดั การกลไกเชิงระบบ ๑๒๙ การมสี ่วนรว่ ม เครอื ขา่ ยระดับตำบล แผนภาพที่ ๔๑ แสดงกลไกการขบั เคล่ือนโดยการสรา้ งกจิ กรรม ๑๓๓ การมสี ว่ นร่วม ในระดับพืน้ ท่ี แผนภาพที่ ๔๒ แสดงการสร้างพน้ื ที่กลาง ๑๓๔ เพ่ือการสรา้ งเครอื ขา่ ยท่ีดใี นพืน้ ท่ ี แผนภาพท่ี ๔๓ แสดงกรอบการศึกษาแนวคิดการส่งเสริมและ ๑๕๙ พฒั นาแนวทางการมีสว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา รูปแบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา 1 บทที่ ๑ บทนำ การศึกษาเร่ืองการส่งเสริมและพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมและ สมัชชาการศึกษา เป็นการศึกษาสภาพการดำเนินงาน กลไกและรูปแบบ การมสี ่วนรว่ มของภาคีเครือข่าย/สมัชชาการศกึ ษา มีรายละเอียด ดังน ้ี ๑.๑ ความเปน็ มา แนวทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ โดยคณะกรรมาธิการ นานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษท่ี ๒๑ ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาติ (ยูเนสโก) ได้สรุปหลักการ จัดการศกึ ษาในศตวรรษท่ี ๒๑ วา่ ควรประกอบด้วยการเรยี นรู้ ๔ ลักษณะ ได้แก่ การเรียนเพื่อรู้ (Learning to know) การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกันหรือการเรียนรู้ที่จะอยู่ ร่วมกับผู้อื่น (Learning to Live Together) และการเรียนรู้เพ่ือชีวิต (Learning to be) แนวทางการจัดการเรียนรทู้ ้งั ๔ ลักษณะเป็นการเรยี นรู้ ทม่ี งุ่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถดำรงชวี ติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพอยา่ งมคี วามสขุ การจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพตามหลักการของยูเนสโกจึง จำเป็นต้องใช้หลักการการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน ชุมชนและสังคม ตามสภาพพื้นท่ีในแต่ละท้องถ่ินและภูมิภาค รวมท้ังทุกภาคส่วนในสังคมต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง ในการจดั การศึกษาตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชน 2 รูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษา รูปแบบสภาพการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคมไทยได้เปล่ียนแปลง ไปจากเดิมเป็นอย่างมาก จากสังคมยุคเกษตรกรรมก้าวเข้าสู่ยุคสังคม เกษตรกรรมท่ีผสมผสานด้วยสังคมอุตสาหกรรมซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยี ระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูง รวมทั้งรูปแบบการเรียนรู้ที่ได้รับอิทธิพลจาก เทคโนโลยกี ารตดิ ตอ่ สื่อสารท่ีปรับเปล่ียนรปู แบบการสอ่ื สารไปจากเดิม การจัดการศึกษาเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายของยูเนสโกและ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในแต่ละพื้นท่ีจึงนับว่าเป็นเร่ืองท่ี ท้าทายกับความสามารถของนักการศึกษาว่าควรออกแบบรูปแบบการจัด การศึกษาอย่างไรให้ตอบสนองต่อสภาพสังคม รูปแบบการจัดการศึกษา เชิงพ้ืนท่ี (Area based Education) จึงเป็นรูปแบบและทิศทางหน่ึงท ่ี นำมาใช้ในการจดั การศกึ ษาเชิงพน้ื ท่ีทเี่ ปดิ โอกาสให้ชมุ ชนและทุกภาคสังคม มีส่วนร่วมมากขึ้น ทั้งนี้ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ชมุ ชนและสงั คมของตนเองในฐานะผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี โดยตรง สาระการเปิดโอกาสให้บุคคลและชุมชนมีสิทธิเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาน้ัน ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวดสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ได้ให้สิทธิบุคคลและ ชุมชนได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของ หน่วยงานของรัฐตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ ดังทร่ี ะบุไวใ้ นมาตรา ๔๑ (๑) และ ในมาตรา ๔๒ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม สหกรณ์ สหภาพ องคก์ ร ชุมชนหรือหม่คู ณะอ่ืน รวมท้งั มาตรา ๔๓ ไดใ้ ห้สิทธบิ ุคคล และชุมชนไว้ ดังน้ี “...(๑) อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงาม ทั้งของ ท้องถิ่นและของชาติ (๒) จัดการ บำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ รปู แบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศกึ ษา 3 อยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื ตามวธิ กี ารทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ และ (๓) เขา้ ชอื่ กนั เพื่อเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐให้ดำเนินการใดอันจะเป็น ประโยชน์ต่อประชาชนหรือชุมชน หรืองดเว้นการดำเนินการอันใดจะ กระทบต่อความเป็นอยู่อย่างสงบสุขของประชาชนหรือชุมชนและได้ รบั แจง้ ผลการพจิ ารณาโดยรวดเรว็ ทงั้ นี้ หนว่ ยงานของรฐั ตอ้ งพจิ ารณา ขอ้ เสนอแนะนน้ั โดยใหป้ ระชาชนที่เกย่ี วขอ้ งมสี ่วนร่วมในการพิจารณา ดว้ ยตามวิธีการทก่ี ฎหมายบญั ญตั .ิ ..” สาระในรา่ งพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... ฉบบั ผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการกฤษฎีกาวาระ ๓ ในหมวดวัตถุประสงค์ และเปา้ หมายของการจดั การศกึ ษา มาตรา ๑๘ ไดร้ ะบไุ วว้ า่ “เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ีตามมาตรา ๑๑ (๖) ประชาชนซ่ึงมีภูมิลำเนาหรือประกอบอาชีพหรือธุรกิจในจังหวัดใด อาจรวมตวั กนั เปน็ คณะบคุ คล เพอ่ื ใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื เสนอแนะ อุดหนุน หรือให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาในจังหวัดนนั้ หรอื จงั หวดั ใกล้เคียงได้ คณะบคุ คลตามวรรค หน่ึงอาจจัดต้ังเป็นสมัชชา สภา กลุ่ม หรือหมู่คณะท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน ได้ เม่ือมีการรวมตัวกันเป็นคณะบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้คณะ บุคคลดังกล่าวแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ และผู้ว่าราชการ จังหวัดแจ้งให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทราบ เพื่อให้ความร่วมมือและอำนวยความสะดวกตามสมควร ในการ ดำเนินการจัดการศึกษาและการจัดทำร่างแผนการศึกษาแห่งชาติให ้ หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องและสถานศึกษารับฟังความคิดเห็นหรือ ข้อเสนอแนะของบุคคลตามวรรคหนึ่งประกอบการพิจารณาด้วย การบริจาคเงินหรือทรัพย์สินอ่ืนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ของคณะบุคคลตามวรรคสาม หรือการบริจาคให้แก่สถานศึกษาผ่าน ทางคณะบุคคลดังกล่าว ให้ได้รับการลดหย่อนภาษีอากรตามประมวล รษั ฎากร” 4 รูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา ในหมวดสถานศึกษา มาตรา ๒๓ ได้ระบุให้แต่ละสถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือทำหน้าที่กำกับ เสนอแนะหรือช่วยเหลือ เพ่ือให้สถานศึกษาจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมายตามมาตรา ๘ โดยให้มี องค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของ ประชาชนหรอื องคก์ รชมุ ชนในพน้ื ท่ี ผแู้ ทนผปู้ กครอง ผแู้ ทนครใู นสถานศกึ ษา ซึ่งมิใช่ครูใหญ่ โดยจะมีผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินร่วมด้วยก็ได้ และในมาตรา ๒๔ ไดร้ ะบวุ า่ “ในแต่ละจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุม ร่วมกันของประธานกรรมการสถานศึกษาตามมาตรา ๒๓ ทุกแห่ง อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพ่ือรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะนโยบายหรือ แนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาที่มีความเหมาะสมกับจังหวัด ของตน โดยอาจเชิญหน่วยงานของรัฐ เอกชน หรือบุคคลท่ีเก่ียวข้อง มารว่ มประชมุ เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู หรอื แสดงความคดิ เหน็ ได้ ในการจดั ประชมุ ตามวรรคหนึ่ง จังหวัดใดมีการต้ังคณะบุคคลตามมาตรา ๑๘ ให้เชิญ คณะบุคคลดังกล่าวมาร่วมประชุมด้วย ในการประชุมตามวรรคหน่ึง ให้ที่ประชุมเลือกผู้เข้าร่วมประชุมคนหนึ่งทำหน้าที่ประธานใน ทป่ี ระชมุ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาและคณะกรรมการ นโยบายนำข้อเสนอแนะจากท่ีประชุมร่วมกันตามวรรคหน่ึง ไปพิจารณาดำเนินการตามหนา้ ทแี่ ละอำนาจต่อไป” การเปิดโอกาสให้ชุมชนและทุกภาคส่วนสังคมเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา จึงเปน็ การบรหิ ารจดั การแบบเครอื ข่ายการศึกษา หรอื เครือข่ายสมัชชาการศึกษาซึ่งหมายถึงระบบ กลไก กระบวนการและ เครื่องมือเพ่ือนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้แบบมีหุ้นส่วน และ ร่วมกันขับเคลื่อนการศึกษาในแต่ละพ้ืนท่ี จังหวัดและภูมิภาค จึงสมควร รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมชั ชาการศึกษา 5 มีการศึกษาการส่งเสริมและพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมและสมัชชา การศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย และกำหนดให้เกิดเป็นทิศทางในการส่งเสริมและพัฒนา แนวทางการมสี ว่ นรว่ มและสมชั ชาการศกึ ษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรมในประเทศไทย ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค ์ ๑.๒.๑ เพอ่ื ศกึ ษาสภาพการดำเนนิ งานของภาคเี ครอื ขา่ ยการศกึ ษา/ สมชั ชาการศกึ ษา ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ๑.๒.๒ เพอ่ื ศกึ ษาวเิ คราะห์ สงั เคราะหก์ ลไกทสี่ ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพ การดำเนินงานภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษา กรณีศึกษาท้ัง ในประเทศและต่างประเทศ ๑.๒.๓ เพ่ือศึกษากลไกในการส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงาน ของภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษาท่ีประสบความสำเร็จ (Best Practice) ของไทย ๑.๒.๔ เพื่อพัฒนากลไกและรูปแบบในการส่งเสริมสนับสนุน การดำเนินงานของภาคีเครือขา่ ยการศึกษา/สมัชชาการศกึ ษาของไทย ๑.๓ เป้าหมาย การศกึ ษาในครั้งนี้มีเปา้ หมายในการดำเนนิ การ ดังน ้ี ๑.๓.๑ สรา้ งกลไกและรปู แบบในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำเนนิ งาน ของภาคเี ครือข่ายการศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกับสังคมไทย ๑.๓.๒ ศกึ ษาปจั จยั ของกลไกทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งาน ภาคีเครอื ขา่ ยการศกึ ษา/สมชั ชาการศึกษา ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ ๑.๓.๓ จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการส่งเสริมสนับสนุน การดำเนนิ งานของภาคเี ครือข่ายการศกึ ษา/สมัชชาการศกึ ษาของไทย 6 รปู แบบและกลไกการมีสว่ นรว่ มและสมชั ชาการศึกษา ๑.๔ กรอบแนวคดิ การศึกษา การศึกษาคร้ังนี้เป็นการศึกษาแบบประยุกต์ในทางสังคมศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ซ่ึงเป็นการวิจัยผสมวิธี (mixed methods research) ดว้ ยการวจิ ัยเชิงเอกสาร การวิเคราะหเ์ นอ้ื หา (content analysis) ร่วมกบั การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ (qualitative research) โดยไดก้ ำหนดกรอบแนวคิด การศกึ ษาไว้ในแผนภาพ ดังน้ ี ๑. แนวคิดการมสี ่วนร่วม ๒. รูปแบบการมสี ่วนร่วม สมชั ชาการศึกษา ๓. รูปแบบการมสี ว่ นรว่ ม สมชั ชาและ และภาคเี ครือขา่ ยการศกึ ษาที่ประสบ ภาคเี ครือขา่ ยทปี่ ระสบความสำเร็จ สมชั ชาและภาคเี ครือขา่ ย ความสำเรจ็ กรณศี กึ ษาต่างประเทศ กรณีศึกษาในประเทศ - ศึกษาเอกสาร - ประเทศฟินแลนด ์ - ประชาคมเครอื ขา่ ยนครปฐม - ในและต่างประเทศ - ประเทศแคนาดา - ภาคเี ชยี งใหม่เพอื่ การปฏิรูปการศกึ ษา - วเิ คราะห์เนอ้ื หา - ประเทศสงิ คโปร์ - จังหวัดสุราษฎรธ์ านี - สังเคราะห์ - ประเทศญ่ีปุ่น - จังหวัดสรุ ินทร์ - สรุป - จงั หวดั ชลบุรี ๔. - แนวคดิ - รูปแบบ ๕. - รปู แบบ กลไก การมสี ่วนรว่ มท่ปี ระสบความสำเร็จ - กลไก - องค์ประกอบ - กลไกที่สง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพ - กลไกท่สี ่งผลต่อประสิทธิภาพ - ปัจจยั ความสำเร็จ - แนวคิด รปู แบบการส่งเสรมิ สนับสนุนการดำเนินงานของสมัชชา และภาคีเครือขา่ ยทางการศึกษา - กลไกท่สี ่งผลต่อประสทิ ธภิ าพ - ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายการส่งเสริมสนบั สนนุ การดำเนินงานของสมชั ชาและภาคีเครอื ขา่ ยทางการศกึ ษา แผนภาพที่ ๑ แสดงกรอบการศึกษาแนวคิดการส่งเสริมและพฒั นาแนวทาง การมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศึกษา รูปแบบและกลไกการมสี ่วนรว่ มและสมชั ชาการศึกษา 7 ๑.๕ นิยามศพั ท ์ การมีส่วนร่วม หมายถึง กระบวนการ วิธีการท่ีหน่วยงานหรือ องค์กร กำหนดให้บุคคลหรือกลุ่มคนที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถ รวมตัวกันเป็นคณะบุคคล ชมรมหรือองค์กร เพ่ือช่วยเหลือการจัดการ เรียนร้ใู นสถานศึกษา พนื้ ที่ จงั หวัด ภมู ภิ าคและระดบั ชาติ ดว้ ยการสง่ เสรมิ เสนอแนะ ทำนุบำรุงรักษา ฟื้นฟู ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัด การเรียนรู้ ท้ังในด้านการวางแผน การปฏิบัติการและการติดตามผล การดำเนนิ งานตามแผนและนโยบายการจัดการศกึ ษาของชาติ สมัชชาการศึกษา หมายถึง กลุ่มคนหรือคณะบุคคลที่รวมตัวกัน ตามกระบวนการ วิธีการที่หน่วยงาน หรือองค์กรกำหนดให้ร่วมกัน วางแผน ปฏิบัติการและติดตาม การส่งเสริม เสนอแนะ ทำนุบำรุงรักษา ฟื้นฟู ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ในเชิงพื้นที่ ทั้งการ วางแผน การปฏิบัติการและการติดตามผลการดำเนินการตามแผนและ นโยบายการจดั การศกึ ษาของชาติ รูปแบบ หมายถึง ผลท่ีเกิดขึ้นจากกรอบความคิดที่กำหนด กระบวนการ วิธีการ และองค์ประกอบต่าง ๆ ของสมัชชาการศึกษาท่ีเอ้ือ ต่อแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษา การส่งเสริม เสนอแนะ ทำนุบำรุงรักษา ฟื้นฟู ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา พื้นท่ี จงั หวดั ภมู ภิ าคและระดบั ชาติ รวมทงั้ การวางแผนเชงิ นโยบาย การปฏบิ ตั กิ าร และการตดิ ตามผลการดำเนนิ งานการจดั การศกึ ษาของชาติ กลไกการส่งเสริมและพัฒนา หมายถึง กระบวนการ วิธีการ สนับสนุน การปรับปรุงและการแก้ไขปัญหาในการจัดการศึกษาระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติการที่ส่งผลให้เกิดคุณภาพของการจัดการเรียนรู้ ในสถานศกึ ษา พ้ืนที่ จังหวดั ภูมภิ าค และระดบั ชาต ิ 8 รูปแบบและกลไกการมสี ่วนร่วมและสมัชชาการศกึ ษา กลไกทสี่ ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งาน หมายถงึ กระบวนการ หรือวิธีการท่ีสามารถกำหนดคุณสมบัติหลักและคุณสมบัติย่อยต่าง ๆ ของวิธีการและองค์ประกอบท่ีมีผลต่อคุณภาพของการจัดการเรียนรู้ใน สถานศึกษา พ้นื ที่ จังหวดั ภูมภิ าค และระดับชาติ ภาคีเครือข่าย หมายถึง ความเป็นหุ้นส่วนร่วมกันระหว่าง หนว่ ยงาน องคก์ รหรอื คณะบคุ คล ทงั้ ในระดบั นโยบายและระดบั ปฏบิ ตั กิ าร เพื่อร่วมกันขับเคล่ือนเป้าหมายของแผนงาน/โครงการการจัดการศึกษา ใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงคใ์ นแต่ละพ้ืนที่ จงั หวัด ภูมิภาค และระดบั ชาต ิ ๑.๖ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการศกึ ษา ๑.๖.๑ ได้องค์ความรู้และสภาพการดำเนินงานของภาคีเครือข่าย การศกึ ษา/สมชั ชาการศกึ ษา ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ ๑.๖.๒ ไดก้ ลไกทสี่ ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งานภาคเี ครอื ขา่ ย การศกึ ษา/สมชั ชาการศึกษา กรณีศกึ ษาทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ ๑.๖.๓ ได้กลไกในการส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานของภาคี เครอื ขา่ ยการศกึ ษา/สมชั ชาการศกึ ษาทปี่ ระสบความสำเรจ็ (Best practice) ของประเทศไทย ๑.๖.๔ ได้รูปแบบการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของภาคี เครอื ข่ายการศึกษา/สมชั ชาการศกึ ษาของไทยที่พัฒนาข้ึนจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์กลไกการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ เพื่อเป็นต้นแบบ ในการดำเนินการของภาคีเครือข่ายและการจัดการศึกษาเชิงพ้ืนที่ใน ประเทศไทย รปู แบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมชั ชาการศึกษา 9 บทที่ ๒ สภาพการดำเนนิ งาน และกลไกที่สง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพ การดำเนนิ งาน กรณศี กึ ษาภาคเี ครอื ข่าย/ สมัชชาการศึกษาจากต่างประเทศ การจัดการศึกษาให้เกิดผลดีในระดับรัฐจะต้องมีการให้คำปรึกษา ต่อนโยบายการศกึ ษาระดบั ชาติ (consultation on national education policy) ซึ่งมีกระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลัก โดยมีองค์กรผู้ให้ คำปรึกษาท่ีสำคัญ คือ สภาผู้แทนราษฎร องค์กรด้านการศึกษาระดับชาติ องค์กรภาคธุรกิจการค้าที่เป็นผู้ใช้แรงงานความรู้ องค์กรระดับชาติท่ีกำกับ ดูแลสถานศึกษา องคก์ รระดบั ชาติทเี่ ป็นตวั แทนของนักเรียน และภาคสว่ น อ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือการกำหนดนโยบายและการจัดการศึกษาระดับชาติ ลำดับถัดมาย่อมเป็นการจัดการศึกษาในระดับพ้ืนท่ีท่ีเน้นการจัดการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของประชาชน ชุมชนท้องถ่ิน องค์กรปกครอง ซ่งึ ตอ้ งอาศยั กระบวนการมีส่วนรว่ ม โดยสถานศึกษาแตล่ ะ แห่งเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ประชาชน ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ทำให้สถานศึกษาได้รับการยอมรับจากชุมชน เกิดความรักและ หวงแหนสถานศึกษา มีการสนับสนุนทรัพยากรการศึกษา และให้ความ ร่วมมอื กับสถานศึกษาในการดำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ดว้ ยความเต็มใจ อย่างไรก็ตาม แนวคิดสมัชชาการศึกษามองภาพรวมย่ิงไปกว่าน้ัน คือ เน้นภาพรวมในระดับจังหวัด (provincial perspective) พื้นที่ (regional perspective) และภาพรวมระดับประเทศ (national perspective) 10 รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมชั ชาการศึกษา 8. Citizen Control Citizen Power 7. Delegated Power Tokenism 6. Partnership Non-Paticipation 5. Placation 4. Consultation 3. Informing 2. Therapy 1. Manipulation แผนภาพท่ี ๒ แสดงพลงั อำนาจทใ่ี ช้การมีสว่ นรว่ มเพื่อขบั เคลื่อนงานไปส่เู ปา้ หมาย การมีส่วนร่วมของพลเมืองต่อการศึกษาพิจารณาได้ตาม ladder of participation ของ Sherry Arnstein (1969) ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมใน ระดับการมีส่วนร่วมที่เริ่มจากระดับ manipulation จนถึงระดับ citizen control โดยท่ีแนวคิดสมัชชาการศึกษา คือ การที่เปิดให้พลเมืองเข้ามา มีส่วนร่วมได้ในระดับ delegated power และมุ่งไปสู่ citizen control ในด้านการศึกษา ซึ่งสูงกว่าแนวทางสมาคมผู้ปกครองและครู (Parent- Teacher Association) เดิมท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในระดับการให้/แจ้งข้อมูล (informing) และการเข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาของ ตัวแทนผู้ปกครองหรือตัวแทนองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในระดับตัวแทน คนในพ้ืนท่ี (placation) และระดับหุ้นส่วน (partnership) ที่พลเมือง เข้าไปมีส่วนในการต่อรองและเข้าไปเกี่ยวข้องในระบบราชการปกติ ทั้งนี้ การมสี ่วนร่วมในระดบั ดังกล่าวทำไดเ้ พยี งระดับพื้นทก่ี ารศกึ ษา รูปแบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมชั ชาการศกึ ษา 11 ดังนั้น เพ่ือให้สมัชชาการศึกษาเติบโตจากระดับพ้ืนที่การศึกษา ไปสู่ระดบั ชาติ จะตอ้ งส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมภาคพลเมือง โดยตัง้ เปน็ ระบบ ตัวแทน (delegated power) และมุ่งสู่การกำกับโดยพลเมือง (citizen control) โดยท่ีระดับการกำกับโดยพลเมืองนั้นไม่ใช่ว่าพลเมืองเข้าไป เปน็ เสยี งหลกั ในการตดั สนิ ใจหรอื เขา้ ไปมอี ำนาจในการบรกิ ารการศกึ ษา ทง้ั น ี้ สมัชชาการศึกษาระดับชาติ (national education assembly) เป็น สมัชชาที่เป็นการประชุมร่วมของทุกฝ่าย เพ่ือเป็นตัวแทนแสดงความคิด เห็นจากภาคส่วนของตนและรับฟังความคิดเห็นของกลุ่มอ่ืน เพ่ือร่วมกัน ขบั เคลอ่ื นด้วยความร่วมมือกันของสถานศึกษา ครู และภาคประชาสังคม (social movement) การท่ีพลเมืองเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ทำใหม้ กี ารเพมิ่ จำนวนผเู้ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั ประเดน็ จำเพาะ เกดิ การประสาน รว่ มมอื กนั และมกี ลมุ่ ทแ่ี ตกตา่ งหลากหลายทจ่ี ะเกดิ การรบั ฟงั ซง่ึ กนั และกนั ตลอดจนทำให้เกิดการทำงานคร่อมสายงานสำหรับบางเน้ือหาท่ีต้องการ เพื่อการส่งมอบคุณค่าท่ีสูงขึ้นอย่างถูกต้องเหมาะสมและเป็นไปตาม กฎหมายเพื่อท่ีจะทำให้เกิดการเช่ือมโยงกันบนช่องว่างของการศึกษาและ ส่งผลต่อระบบการศึกษาของประเทศชาติอย่างสมดุลและมีการตระหนักรู้ ต่อสาธารณะและการขับเคลื่อนในระดับต่าง ๆ ต่อเน่ืองกันอย่างเป็น ธรรมชาติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั ตงั้ อยบู่ นความไวว้ างใจและการแลกเปลย่ี น ข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน เน้ือหาของการมีส่วนร่วมมีขอบเขตท่ีขยายไปถึง วัฒนธรรมแห่งชาติ บรรยากาศ แนวคิดทางการเมืองและโอกาสจำเพาะ ตา่ ง ๆ ของประเทศ การทำงานของสมัชชาการศึกษาเฉพาะพื้นท่ี เน้นให้เกิดการจัด กระบวนการสมัชชาการศึกษาระดับจังหวัด (Provincial Education Assembly: PEA) เพอื่ พฒั นาและขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะเพอื่ การศกึ ษา แบบมีส่วนร่วมอย่างเป็นระบบ โดยใช้พ้ืนท่ีจังหวัดเป็นฐาน เปิดโอกาสให้ 12 รูปแบบและกลไกการมีส่วนรว่ มและสมัชชาการศึกษา กลุ่มเครอื ขา่ ยในจงั หวัด ทัง้ ภาคประชาสงั คม/เอกชน ภาควชิ าการ/วิชาชพี และภาคราชการ/การเมือง ได้เข้ามีส่วนร่วม เป็นคณะกรรมการจัดสมัชชา การศึกษาจังหวัด มีหน่วยบริหารงานและเลขานุการสมัชชาการศึกษา จังหวัด ทำหน้าที่บริหารจัดการกระบวนการอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง อีกท้ังได้จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านกระบวนการกลุ่มจังหวัด ในระดับภูมิภาค (Regional Education Assembly) ท่ีสมัชชาการศึกษา เป็นนวัตกรรมในการเปิดพ้ืนท่ีสาธารณะทางสังคมอย่างกว้างขวางและ หลากหลายซ่ึงให้ฝ่ายต่าง ๆ ได้พบปะ พูดคุย แลกเปล่ียนความคิดเห็น ความต้องการ และเรียนรู้ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ เพื่อสร้างทางเลือก ค้นหาทางออกหรือการสร้างข้อเสนอเชิงนโยบายท่ีจะนำไปสู่การปฏิบัติที่ ทำให้เกดิ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ และจะพฒั นาส่งิ ใหม่ ๆ ทด่ี งี ามร่วมกันตอ่ ไป แนวคดิ ในการศึกษากลไกเชงิ ระบบ การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษาเชิงระบบกลไกของการทำงาน เครือข่ายการมีส่วนร่วมจากองค์กร หรือหน่วยงานจากต่างประเทศ โดยการวิเคราะห์ที่เน้นชุดโครงสร้างของระบบที่สามารถใช้อธิบาย พฤติกรรมของโครงสร้างเชิงระบบเชิงบูรณาการได้ เพื่อการศึกษาวิธีการ ออกแบบให้โครงสร้างคงอยู่อย่างต่อเนื่อง เพราะระบบมีกระบวนการเชิง ระบบทที่ ำให้เกิดความเปน็ อนั หนึ่งอันเดียวกัน มีการบำรงุ รกั ษา บูรณาการ เพื่อความมั่นคงของระบบ (stability) ความเข้มเข็ง (strength) และ ความคงตัว (rigidity) ดังน้ัน การวิเคราะห์จึงต้องเน้นการจัดโครงสร้างเชิง ระบบ ซ่ึงแสดงความเก่ียวเนื่องกันของส่วนต่าง ๆ เพ่ือรองรับพันธกิจ (system of connected parts used to support a load) โดยแสดง ความเป็นกลไก (mechanical system) โดยพิจารณาถึงความจำเพาะ (specification) การทำงานได้จริง (serviceability) ได้ตามความต้องการ เบื้องต้น (functional requirement) กระบวนการวิเคราะห์ทำโดยนำ รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา 13 ข้อมูลมาจัดกลุ่มข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ (organize the aggregate formalized meaning into cluster of themes) หมวดหมู่ต้อง สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ กำหนดเปน็ ประเด็นหลกั ประเด็นรอง และสว่ น เพิ่มเติมซ่ึงเทยี บเท่าโครงสร้างหลัก (mainframe) ที่เป็นโครงสร้างพ้ืนฐาน ที่จำเป็นของระบบโครงสร้างรอง (braced frame) เป็นโครงสร้างที่จะ สร้างแรงขับเคลื่อนของระบบ และโครงสร้างสนับสนุน (facilitate) เป็น โครงสรา้ งทเี่ ขา้ มากระตนุ้ หลอ่ ลนื่ ระบบใหข้ บั เคลอื่ นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การออกแบบโครงสร้างเชิงระบบในการศึกษานี้ใช้วิธีการ คลาสสิก (classical design) เป็นแนวทางในการจัดโครงสร้างอย่างง่าย (simple structural member subject) โดยมีการพิจารณาการวาง ตำแหน่งกลไกไว้ตามผลลัพธ์ที่ได้วิเคราะห์ไว้ (alternative solutions) แล้วลองประกอบร่วมเป็นโครงสร้างที่น่าจะเหมาะสมที่สุด (suitable proportions) ทส่ี ามารถขบั เคลอ่ื นผา่ นฟนั เฟอื งของระบบ (superimposed using) โดยความเป็นไปไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผลไปสู่เป้าหมายของระบบน้ัน การออกแบบโครงสร้างเชิงกลไกกระบวนการในการศึกษาน้ีใช้ วิธีการยืดหยุ่น (elastic design) เป็นแนวทางในการจัดกลไก กระบวนการให้งานมุ่งไปในทิศทางท่ีกำหนดได้และระบบมีความยืดหยุ่น เพียงพอท่สี ามารถรองรบั แรงกดดันของภาระงานตามพันธกิจได้ การออกแบบโครงสร้างเชิงกลไกประสิทธิภาพในการศึกษานี้ใช้ วิธีการเข้มเข็ง (strength design) เป็นแนวทางผสมในการออกแบบ กลไกให้มีความเข้มแข็งและหยุ่นเหนียวไปพร้อม ๆ กันโดยการเพ่ิมตัวแปร ขนาดเล็ก (small adverse variation) เข้าไปในระบบ นั่นคือ สามารถ เพิ่มการดำเนินการให้ได้เต็มประสิทธิภาพ ทนต่อปัจจัยภายนอก และ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามภารกิจ ความถี่ของประเด็น และความยาวนาน ของภารกิจ 14 รปู แบบและกลไกการมีส่วนรว่ มและสมชั ชาการศึกษา ดังน้ันในหนังสือเล่มนี้จึงได้กำหนดสัญลักษณ์เพื่อใช้ในการอธิบาย แผนภาพกลไกเชงิ ระบบไว้ ดังนี้ ๑. วงกลมหรือฟันเฟือง ขนาดใหญ่ เป็นสิ่งแทนโครงสร้างที่ทำ หนา้ ท่ีหลกั ๒. วงกลมหรือฟันเฟือง ขนาดกลาง เป็นส่ิงแทนโครงสร้างที่ทำ หนา้ ทร่ี อง ๓. วงกลมหรือฟันเฟือง ขนาดเล็ก เป็นส่ิงแทนโครงสร้างที่ทำ หนา้ ที่สนบั สนนุ เพ่ือใช้ในการทำความเข้าใจเชิงระบบโครงสร้าง หน้าท่ีหลัก หน้าท่ีรอง และหน้าที่สนับสนุน ทั้งน้ี เพ่ือเป็นรูปแบบในการถอดระบบ โครงสรา้ งในการมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาในประเทศตอ่ ไป กรณีศกึ ษาสมัชชาการศกึ ษาของตา่ งประเทศ การศึกษานไ้ี ด้สบื ค้นแนวคดิ เรือ่ งสมัชชาการศกึ ษาและวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปเป็นกรณีศึกษาภาคีเครือข่ายสมัชชาการศึกษาของ ต่างประเทศ จำนวน ๔ ประเทศ ได้แก่ ประเทศฟินแลนด์ ประเทศ แคนาดา ประเทศสิงคโปร์ และประเทศญปี่ นุ่ ดงั น ี้ ๒.๑ กรณีศกึ ษาประเทศฟนิ แลนด์ การศึกษาในประเทศฟินแลนด์เร่ิมต้นจากการเรียนในโบสถ์โดย ใช้ภาษาพ้ืนเมืองเพ่ือให้มีความสามารถในการอ่านคัมภีร์ไบเบิล ระบบ สถานศึกษาได้แยกออกจากโบสถ์ในปี พ.ศ. ๒๔๐๙ และมีการตั้ง supervisory board of education ภายใต้กระทรวงศึกษาธิการเข้ามา ตดิ ตาม เฝา้ ดู และบริหารระบบสถานศกึ ษาทัง้ ประเทศ รูปแบบและกลไกการมีสว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา 15 ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ได้เริ่มการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาตาม ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและภาคก่อสร้างที่กำลังเติบโต เม่ือ ประเทศฟินแลนด์ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ระบบการศึกษาก็ได้ให้ สิทธิแก่ประชาชนทุกภาคส่วนและพ้ืนที่ของประเทศ รัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. ๒๔๖๒ ได้ให้การศกึ ษาแบบไม่เสียคา่ ใช้จา่ ยแก่การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และได้ ขยายระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับมหาวิทยาลัยตามการปรับ ระบบการศกึ ษาในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ระบบการศึกษาจัดให้มีการศึกษา ระดับช้ัน ประถมศึกษา ๖ ปี และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๓ ปี รวมอยู่ด้วยกัน และมีสถานศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย ซง่ึ มเี ครือขา่ ยทก่ี วา้ งขวางหลงั สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ การศกึ ษาจากระบบอาชวี ศกึ ษา (professionally oriented sector) ไดถ้ ูกพัฒนาขนึ้ คู่ขนานกบั ระบบมหาวิทยาลัย บทบาทหลักของระบบการศึกษาในระดับพ้ืนที่ พบว่า เป็นการ บรหิ ารจัดการในระดบั ท้องถ่ิน (local administration) ๑๐๐% เมอ่ื เทยี บ กับค่าเฉลี่ยในการตัดสินใจในระดับการบริหารจัดการตามรายงานของ องคก์ ารเพอ่ื ความรว่ มมอื และการพฒั นาทางเศรษฐกจิ (The Organization for Economic Co-operation and Development) ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ส่วนใหญ่จะบริหารจัดการจากส่วนกลาง (central/stage) โดยมี การบริหารในระดับพ้ืนที่เล็กน้อย มีการให้สิทธิ์ท้องถิ่นเข้ามาเก่ียวข้องราว ๑๘% และราว ๔๐% เปน็ เรื่องของแต่ละสถานศกึ ษา 16 รปู แบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศกึ ษา 100 % of decisions taken 80 60 School Local Regional or Sub-regional 40 Central or State 20 0 Finland OECD sverage แผนภาพที่ ๓ แสดงหลักการพนื้ ฐานของการจดั การศกึ ษา ประเทศฟินแลนด์ ที่มา: OECD (2013) หลักการพ้ืนฐานของการศึกษาของประเทศฟินแลนด์ คือ การให้ โอกาสท่ีเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และการพัฒนาแก่เด็กและเยาวชน สนับสนุนบทบาทหลักให้เป็นของผู้เรียน ขจัดอุปสรรคและเคร่ืองกีดขวาง การเรยี นเรยี นทง้ั ในเชงิ กายภาพ ทศั นคตหิ รอื แนวทางการสอน การสนบั สนนุ รวมถึงดา้ นสวสั ดกิ ารต่าง ๆ ระบบการบริหารการศึกษาจะมี ๒ ระดับ ได้แก่ ส่วนกลาง คือ กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม ผ่านหน่วยการศึกษาระดับชาติ เพอื่ กำหนดวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศกึ ษา โดยกำหนดนโยบายการศกึ ษา ฟรีสำหรับทุกระดับการศึกษา สิทธิในการเข้าถึงการสนับสนุนด้านการ ศึกษา การศึกษาพิเศษจำเพาะ การศึกษาตลอดชีวิต การจัดหลักสูตร แกนกลาง และทนุ สาธารณะด้านการศึกษา อีกระดับ คือ ระดับท้องถิ่น โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เข้ามามีบทบาทหลักกับสถานศึกษาในด้านการรับผิดชอบด้านบริหาร การตดั สนิ ใจและการใชท้ รพั ยากร รวมไปถงึ การมผี แู้ ทนในสมชั ชาสถานศกึ ษา รูปแบบและกลไกการมสี ว่ นรว่ มและสมัชชาการศึกษา 17 โดยอัตโนมัติ เพื่อให้การจัดการศึกษามีการบริหารจัดการตนเองและให้ ความสำคัญกับความแตกต่างของแต่ละท้องถ่ิน ใช้การประเมินคุณภาพ การศึกษาแทนการใช้ระบบควบคุมตารางเรยี นเป็นไปตามท้องถน่ิ นั้น จากการศึกษาสามารถถอดเป็นกรณีศึกษาสมัชชาการศึกษา ดว้ ยการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งและออกแบบโครงสรา้ งเชงิ ระบบแบบคลาสสกิ ได้ ดงั นี ้ แผนภาพท่ี ๔ แสดงโครงสร้างการจดั การเชงิ ระบบแบบการมสี ่วนร่วม ประเทศฟนิ แลนด์ 18 รปู แบบและกลไกการมีสว่ นร่วมและสมัชชาการศกึ ษา จากการศึกษาพบว่า การจัดการเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วม ประเทศฟินแลนด์ ประกอบดว้ ย ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ ๑. โครงสรา้ งหลัก ๑.๑ นโยบายการศกึ ษา ๑.๒ สถานศกึ ษา ๒. โครงสร้างรอง ๒.๑ การศกึ ษาฟรแี ละการเข้าถึงสทิ ธขิ องประชาชน ๒.๒ การจัดการทรัพยากรการศึกษาเชงิ พนื้ ที่ ๒.๓ หลกั สตู รการศึกษา ๒.๔ การมีส่วนร่วม ๓. ส่วนสนับสนนุ ๓.๑ สำนกั งานการศกึ ษาแหง่ ชาต ิ ๓.๒ กระทรวงการศกึ ษาและวฒั นธรรม ๓.๓ ผ้วู า่ เมอื ง (พ้นื ที่) การจัดการเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วม มีโครงสร้างท่ีเน้นการ จัดการเชิงพ้ืนที่ในระดับสถานศึกษา มีระดับการบริหาร มีการกระจาย อำนาจสู่ท้องถ่ิน แต่ละท้องถ่ินมีอิสระในการเข้ามาเกี่ยวข้องจัดการกับ สถานศกึ ษาภายในเขตพน้ื ทข่ี องตนเองในทกุ ๆ ดา้ น มอี ำนาจในการตดั สนิ ใจ ด้านนโยบายการศึกษาของแต่ละพื้นที่ในระดับสูง แต่ละพื้นที่มีนโยบาย การศกึ ษาแตกตา่ งกนั โครงสร้างรองท่ีสอดประสานเพื่อขับเคล่ือนกลไก คือ หลัก การศึกษาฟรีในทุกระดับ และสิทธิในการได้รับการสนับสนุนทางการศึกษา รวมถึงการให้ทุนการศึกษาจำนวนมาก หลักสูตรการศึกษาท่ีมีรูปแบบ การศึกษากระแสหลัก การศึกษาพิเศษ และการศึกษาตลอดชีวิต รูปแบบและกลไกการมีส่วนรว่ มและสมัชชาการศึกษา 19 การตัดสนิ ใจและการจดั สรรทรัพยากรตา่ ง ๆ โดยที่ผ้วู ่าเมือง (Major) และ ตวั แทนขององค์กรท้องถิน่ มีอำนาจในการตัดสินใจอยา่ งแท้จรงิ โครงสรา้ งสว่ นสนบั สนนุ ไดแ้ ก่ การบรหิ ารการศกึ ษาผา่ นกระทรวง การศึกษาและวัฒนธรรม (ministry of education and culture) โดยมี สำนักงานการศึกษาแห่งชาติฟินแลนด์ (Finnish national agency for education) เป็นผู้มีหน้าท่ีหลักในการออกนโยบายและกำกับนโยบาย การศึกษา มีการใช้การรับรองคุณภาพการศึกษามาเป็นเกณฑ์มาตรฐาน โดยทอ้ งถ่ินไดเ้ ข้าไปมสี ว่ นรบั ผิดชอบ “ระบบกลไกการขบั เคลอ่ื นเชงิ โครงสรา้ ง” เนน้ ใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื น ของโครงสร้างหลัก คือ นโยบายการศึกษาที่เช่ือมต่อกับสถานศึกษา โดยตรง โดยท่ีนโยบายการศึกษาขับเคล่ือนอย่างต่อเนื่องจากนโยบาย การศึกษาฟรีและการเข้าถึงสิทธิของพลเมือง โดยไปขับเคล่ือนให้เกิด หลักสูตรการศึกษาท่ีตอบสนองตรงตามความต้องการเชิงพื้นท่ีได้ ในขณะท่ี สถานศกึ ษาถกู ขบั เคลอื่ นดว้ ยการจดั การทรพั ยาการการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม โดยมีสภาเมืองและคณะกรรมการต่าง ๆ เข้ามามีส่วนเก่ียวข้องและเข้ามา มสี ว่ นรว่ มกบั ภาคประชาชนผา่ นการใหค้ วามสำคญั กบั ความคดิ เหน็ ทสี่ ง่ ผา่ น ช่องทางต่าง ๆ มายังผู้ว่าเมืองและคณะกรรมการเมือง โดยผู้ว่าเมืองม ี หน้าท่ีสนับสนุนการดำเนินการด้านการศึกษาของเมือง ทำให้มีการตดิ ตาม และกำกับดูแลสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด และมีความไวในการตอบสนอง ตอ่ ปัญหาของแตล่ ะสถานศึกษา Maruszak and Batorova (2015) ชีใ้ ห้เหน็ วา่ แนวทางการมสี ่วน ร่วมของพลเมือง (citizen participation) ของประเทศฟินแลนด์เป็น นวัตกรรมทางการปกครองใหม่ของระดับการปกครองส่วนท้องถิ่น (local administration) ตัวอย่างคือ The Tempere model โดยทำการเช่ือม โยงฝ่ายรัฐผู้มีหน้าท่ีให้บริการประชาชนด้วยอำนาจที่ได้มาโดยวิธี