กาพย พระไชยส ร ยา ม จ ดม งหมายในการแต งอย างไร

พนิ จิ วรรณคดี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ธิดารตั น์ พงษส์ ูน จารวีกร จนั ทรท์ อง ศรชัย ใจดจี รงิ โสรยา วงษว์ าสน์

หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คานา หนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เป็นหนังสือ ที่นักศึกษาวิชาภาษาไทยช้ันปีท่ี ๓ มหาวิทยาลัยราภัฎสุรินทร์ รายวิชา ETHI623317 การออกแบบและผลิตส่ือการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจัดทาข้ึน เพื่อใช้ เปน็ ส่อื ประกอบหารจดั การเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษไทย ตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มีอาจารย์ นิตยา เรืองสุวรรณ เป็น ผ้ใู ห้คาแนะนาในการจัดทา แนวการนาเสนอเน้ือหาของหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาวรรณคดีท่ีกาหนดไว้ในประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๑ เรื่องวรรณคดีสาหรับจัดการเรียน การสอนภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเพื่อให้เข้าใจถึงคุณค่าของวรรณคดีด้านต่าง ๆ เช่น คุณค่าด้านอารมณ์ คุณค่า ด้านคุณธรรม คุณค่าด้านวรรณศิลป์และคุณค่าที่สร้างสรรค์จากจินตนาการของกวี นอกจากน้ียังส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมี เหตุผล นาไปสู่ความรู้ความรู้สึกนึกคิดและวิถีชีวิตของบรรพบุรุษ ซาบซึ้งในวรรณคดี วฒั นธรรมทางภาษาและความเป็นไทย โดยนาเสนออยา่ งน่าสนใจและชวนติดตาม คณะผู้จัดทาหวังว่า หนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักการและบรรลุจุดมุ่งหมายของ หลักสูตร ขอขอบคุณท่านอาจารย์ นิตยา เรืองสุวรรณ ที่ได้ให้คานาแนะนาในการ จัดทา ให้ความรู้องค์ประกอบต่าง ๆ หลักคิดในการจัดทาหนังสือเล่มนี้ จนทาให้ หนงั สือเล่มนส้ี าเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี ธิดารตั น์ พงษส์ นู จารวีกร จนั ทรท์ อง ศรชัย ใจดีจรงิ โสรยา วงษ์วาสน์

แนวทางการใช้หนังสือ หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย เป็นบทวิเคราะห์วรรณคดี พร้อมท้ังตัวบทวรรณคดีท่ีเลือกมาให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้ศึกษาโดย พิจารณาจากสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระที่ ๕ มาตรฐาน ท ๕.๑ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้ นักเรียนเข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณืวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคณุ ค่าและนามาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน เน้ือหาในหนังสือเรียนเล่มน้ี แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกเป็น เป็นบท วิเคราะห์วรรณคดี ซ่ึงเป็นความรู้เบื้องต้นในการศึกษาวรรณคดีและกวีโวหารใน การประพนั ธ์ ส่วนที่สอง เป็นตัวบทวรรณคดี คาอธิบายศัพท์และ ความหมาย และกิจกกรม ทเ่ี ป็นตวั ชว่ ยพัฒนาในการเรยี นรผู้ ู้เรยี นในหนงั สอื เลม่ นี้ อนึ่ง ผู้เรียนพึงทราบว่า การอ่านวรรณคดีโดยท่ัวไปจะมีการตีความ ตามทัศนะของผู้อ่านด้วย บทวิเคราะห์วรรณคดีในหนังสือเรียนชุดนี้ จึงเป็นเพียง ตัวอย่างการอ่านตีความเพ่ือให้ผู้เรียนได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวรรณคดี ต่อไป ผุ้เรียนอาจมีความคิดเห็นต่างไปจากในบทวิเคราะห์นี้ก็ได้ แต่ก็ควรอธิบาย ที่มาของความคิดเห็นน้ัน ๆ ได้ ความคิดเห็นที่หลากหลายย่อมนาไปสู่การ อภิปรายแลกเปลย่ี นทรรศนะกนั อนั เปน็ จดุ ประสงคห์ น่งึ ของการศกึ ษาวรรณคดี ส่วนคาอธิบายศัพท์และข้อความในหนังสือเรียนชุดนี้เป็นการอธิบาย ความหมายตามบริบทที่ปรากฎในเรื่องวรรณคดี หากจะนาไปใช้ที่อ่ืนก็ควรจะ พิจารณาบรบิ ทใหม่ดว้ ย เพราะอาจมคี วามหมายต่างไปได้

สารบัญ หนา้ ๑ บทที่ ๑ นทิ านคากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนนี างผีเสอ้ื สมุทร ๑๕ บทวิเคราะห์ นิทานคากลอนเรอื่ งพระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณหี นนี างผีเส้อื สมุทร ๒๔ คาอธบิ ายศัพท์และข้อความ ชวนคดิ พนิ ิจคุณค่า ๓๗ บทที่ ๒ อศิ รญาณภาษติ บทวเิ คราะห์ อศิ รญาณภาษติ คาอธิบายศัพทแ์ ละขอ้ ความ ชวนคดิ พินิจคุณค่า บทท่ี ๓ คาพ่อสอนลกู บทวิเคราะห์. คาพ่อสอนลกู ในสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว คาอธบิ ายศพั ทแ์ ละขอ้ ความ ชวนคดิ พนิ ิจคณุ คา่ บทท่ี ๔ บทพากย์เอราวัณ บทวเิ คราะห์ บทพากยเ์ อราวัณ อธิบายศพั ท์ ชวนคดิ พนิ จิ คณุ คา่

บทที่ ๑ นิทานคากลอนเรอื่ งพระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสือ้ สมุทร

๒ บทวิเคราะห์ ความรักเป็นเร่ืองดีงามที่ชักนาให้คน ๒ คนมาใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน แต่ถ้า เป็นความรักที่มิได้เกิดจากความสมคั รใจของทงั้ สองฝ่ายก็ยากทจี่ ะครองชีวิตคู่ ร่วมกันได้อย่างปกติสุขหรืออย่างยาวนาน ความคิดดังกล่าวสะท้อนให้เห็น อย่างชัดเจนในชีวิตอู่ของพระอภัยมณีกับนางผีเสื้อสมุทร ในนิทานคากลอน เรือ่ งพระอภัยมณซี งึ่ เป็นผลงานเรื่องเอกของสุนทรภู่นอกจากน้ีในกรณีท่ีแม่ให้ กาเนดิ ลูกแล้วมิได้สนใจเล้ียงดู ความผูกพันระหว่างแม่ลูกก็จะมีน้อย เฉกเช่น ความสัมพนั ธร์ ะหว่างนางผเี สอื้ สมุทรกบั สินสมุทรในนทิ านดากลอนเรอ่ื งนี้ นิทานคากลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณหี นีนางผเี ส้อื สมทุ ร

๓ รักแบบจาใจไม่จรี งั ยั่งยนื พระอภัยมณีและศรีสุวรรณเดอนทางออกจากบ้านเมืองหลังจากท้าว สุทัศน์ผู้เป็นพระชนกเนรเทศด้วยเหตุที่เรียนวิชาไม่สมกับที่เป็นโอรสกษัตริย์ ทั้งสองได้พบพราหมณ์ ๓ คน คือ โมรา สานน และวิเชียร พราหมณ์ท้ังสาม แปลกใจที่พระอภัยมณีเลือกวิชาปี่แทนที่จะเรียนศิลปะการใช้อาวุธอื่นๆ พระ อภัยมณีจึงเป่าป่ีอวดอานุภาพของเพลงปี่มีผลให้พราหมณ์ทั้งสามและศรี สุวรรณเคลิม้ หลับ เม่อื นางผีเสอื้ สมุทรไดฟ้ ังและเห็นรูปโฉมอันงดงามของพระ อภัยมณกี ็หลงใหล และจับตัวพระภัยมณีไปอยู่กับตนในถ้าใต้ทะเล นางแปลง กายเปน็ หญิงงามด้วยความกลวั ว่าพระอภยั มณีจะรังเกียจหน้าตาน่าเกลียดน่า กลัวของนาง แม้พระอภัยมณีจะทราบดีว่าหญิงงามท่ีเห็นเป็นนางผีเส้ือสมุทร แต่ก็ไม่สามารถปฏิเสธความตอ้ งการของนางได้ จงึ จาใจเปน็ สามีของนางหลงั จากท่คี าดคั้นให้นางสัญญา ว่าจะไมจ่ ับพระองคก์ ินเปน็ อาหาร พระอภยั มณีครองคู่ กบั นางผีเสอ้ื สมุทรจนนางให้กาเนิดบตุ รชายคนหนงึ่ ชอื่ สนิ สมุทร พระอภยั มณีเลี้ยงดูและอบรมสนิ สมุทรจนสนิ สมุทรมอี ายไุ ด้แปดปี วนั หนึง่ สินสมทุ รดนั หนิ ท่ปี ิดปากถ้าออกไปเทย่ี วและจบั เงือกเฒา่ จากท้องทะเลมาได้คนหน่ึง พระอภัยมณีช่วยชีวิตเงือกเฒ่าไว้และบอกว่า พระองค์คิดจะหนีจากนางผีเสื้อสมุทร แต่ก็ไม่ทราบว่าถ้าที่อาศัยอยู่นี้อยู่ท่ีใด และควรจะตอ้ งหนไี ปในทศิ ทางใด เงอื กเฒ่าจงึ บอกตาแหน่งท่ีพระอภัยมณีอยู่ และแนะนาใหห้ นีไปยงั เกาะแก้วพิสดาร นทิ านคากลอนเร่อื งพระอภยั มณี ตอนพระอภัยมณีหนนี างผีเส้อื สมทุ ร

๔ นางผีเส้ือสมุทรผู้หลงรักสามีมากกว่าลกู นางผีเส้ือสมุทรเป็นตัวอย่างของผู้หญิงท่ีรักสามีมากกว่ารักลูก นาง ผีเสื้อสมุทรไม่สนใจเล้ียงดูสินสมุทรเท่าท่ีควร แต่ปล่อยให้เป็นหน้าท่ีของพระ อภัยมณีซ่ึง \"เฝ้าเลี้ยงลูกผูกเปลแล้วเห่ช้า\" และยัง “สอนให้เจ้าเป่าปีมีวิชา เพลงศาสตราสารพัดหัดชานาญ\" สินสมุทรผูกพันกับพระอภัยมณีและรักบิดา มากกวา่ เพราะพระอภยั มณเี ล้ยี งดูสินสมุทรอย่างใกล้ชดิ และไม่เคยขู่สินสมุทร ให้กลวั เหมือนอย่างทีน่ างผีเสื้อสมุทรทา ดังในคากลอนวา่ ฝา่ ยกมุ ารสนิ สมทุ รสุดสวาท ไม่หา่ งบาทบดิ าอัชฌาสัย ความรกั พ่อยิง่ กวา่ แม่มาแต่ไร ด้วยมิได้ขู่เขญ็ เช่นมารดา นทิ านคากลอนเรอ่ื งพระอภยั มณี ตอนพระอภัยมณีหนนี างผีเสือ้ สมทุ ร

๕ พ่ีมนษุ ย์สดุ สวาทเป็นชาติยักษ์ ด้วยเหตุที่พระอภัยมณีถูกบังคับขืนใจให้จาต้องอยู่กับนางผีเส้ือสมุทรโดยที่ ไมเ่ คยมคี วามรักนางมาก่อนทาให้ไม่มีความรู้สึกผูกพันรักใคร่ พระอภัยมณีอธิบาย แก่นางผีเสื้อสมุทรว่าพระองค์กับนางผีเส้ือสมุทรน้ันต่างเผ่าพันธ์ุกัน ไม่สมควรใช้ ชีวิตอยู่ร่วมกัน เพราะพระองค์ไม่ชินกับการอยู่ในถ้าและอยากจะกลับไปหาพระ ชนกชนนีและอนุซาศรีสวุ รรณท่ีพลัดพรากจากกนั ดงั ในคากลอนตอ่ ไปนี้ พระอภัยใจอ่อนถอนสะอืน้ อุตสา่ ห์ฝืนพกั ตร์ว่านจิ จาเอย๋ แมผ่ เี สือ้ เม่ือไมเ่ หน็ ในใจเลย พไ่ี ม่เคยอยู่ในถ้าใหร้ าคาญ คิดถึงน้องสองชนกท่ีปกเกลา้ จะสรอ้ ยเศรา้ โศกานา่ สงสาร ด้วยพลดั พรากจากมาเปน็ ช้านาน ไม่แจ้งการวา่ ขา้ งหลังเป็นอย่างไร จงึ จารา้ งหา่ งห้องให้น้องโกรธ จงงดโทษพย่ี าอชั ฌาสัย น่จี นใจดว้ ยนางต่างตระกลู แม้นไปได้ก็จะพาแกว้ ตาไป จงคิดหักความสวาทใหข้ าดสูญ พม่ี นษุ ยส์ ุดสวาทเปน็ ชาตยิ ักษ์ กลับไปอยดู่ ูหาอย่าอาดูร จงเพมิ่ พนู ภาวนารกั ษาธรรม์ นิทานคากลอนเร่อื งพระอภยั มณี ตอนพระอภัยมณีหนนี างผีเส้ือสมทุ ร

๖ พระอภยั มณีผู้เสยี สระ นทิ านคากลอนเรื่องพระอภยั มณี ตอนพระอภยั มณีหนีนางผเี สอื สมทุ ร สะท้อนลกั ษณะนิสยั ประการหนึ่งของพระภัยมณี คือการยอมสละชีวิตตนเอง เพ่ือความอยู่รอดของผู้อ่ืน ดังปรากฏในตอนท่ีเงือกเฒ่ากล่าวแก่พระอภัยมณี วา่ ผเี สือ้ สมทุ รคงจะติดตามมาทนั และทุกคนคงจะไมร่ อดชีวติ พระอภยั มณีได้ ขอให้เงือกเฒ่าส่งพระองค์ไว้ท่ีเกาะ แล้วให้รีบหนีไปเสีย ต่อจากน้ันก็ส่ังสิน สมุทรให้กลับไปกับนางผีเสื้อสมุทร พร้อมท้ังส่ังลาสินสมุทรเป็นการลาตาย แสดงว่าพระอภัยมณีคิดว่าถ้านางผีเส้ือสมุทรได้ตัวพระอภัยมณีแล้วคงเลิก ตามทาร้ายผู้อื่น การกระทาของพระอภัยมณีเท่ากับว่ายอมสละชีวิตตนเอง เพอ่ื ให้เงอื กและสินสมุทรรอดไปได้ ดงั ในคากลอนวา่ จะไปไหนไมพ่ ้นผเี ส้อื น้า วิบากกรรมกจ็ ะส้อู ยเู่ ป็นผี ทา่ นสง่ เราเข้าท่เี กาะละเมาะน้ี แลว้ รีบหนไี ปในน้าแตล่ าพัง แมน้ นางยกั ษ์จะมารบั จงกลับหลัง แลว้ ว่าแกส่ นิ สมทุ รสดุ ทีร่ กั อันตวั พอ่ ขอตายวายชวี งั กันแสงสัง่ ลูกยาดว้ ยอาลัย นทิ านคากลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณหี นีนางผเี ส้อื สมทุ ร

๗ ความเสยี สระของเงอื กเฒ่า ในเน้ือหาตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือสมุทร ตัวละครหลายตัวแสดง น้าใจต่อกันประทับใจ นอกจากพระอภัยมณีที่แสดงเจตจานงสละชีวิตตนเอง เพ่อื ใหเ้ งอื กและสนิ สมุทรหนีพ้นจากเง้ือมมือของนางผีเส้ือสมุทรแล้ว เงือกเฒ่า ทั้งคู่ก็แสดงน้าใจด้วยการสละชีวิตของตน เพ่ือหลอกล่อนางผีเสื้อสมุทรให้ ติดตามไปอีกทางหนึ่ง ลูกสาวจะได้พาพระอภัยมณีพ้นจากเงื้อมมือของนาง ผีเสอื้ สมทุ รไปได้ แมน้ างผีเส้ือสมทุ รจะขู่ตะตอกถามหาพระอภัยมณี แต่ทั้งสอง กย็ อมตายโดยไม่ยอมบอกความจรงิ ดงั ในคากลอนว่า ถงึ มว้ ยมอดมใิ ห้แจง้ แห่งนสุ นธิ์ ท้ังสองเงอื กเสอื กกายหมายไมร่ อด จึงกล่าวแกลง้ แสรง้ เสด้วยเหก์ ล เธออยบู่ นเขาขวางริมทางมา ขา้ จะพาไปจับจงกลบั หลัง ใหไ้ ดด้ งั มุง่ มาดปรารถนา ไมเ่ หมือนคาราพนั ทส่ี ญั ญา จงเขน่ ฆา่ ให้เราม้วยไปดว้ ยกนั อสุรผี เี ส้อื กเ็ ชื่อถือ ยุดเอามอื ขวาซา้ ยใหผ้ ายผนั เงือกกพ็ ามาถึงไดค้ รง่ึ วนั แกลังราพนั พดู ลอ่ ให้ต่อไป นางผีเสอ้ื เบ่ือหูรเู้ ทา่ ถึง จงึ วา่ มึงตอแหลมาแกไ้ ข มาถึงนข้ี ี้โน่นเนื่องกันไป แกล้งจะใหห้ า่ งผัวไมก่ ลัวกู แลว้ นางยกั ษห์ กั ขาฉีกสองแขน ไมห่ ายแตน้ เคย้ี วกนิ ส้ินทั้งคู่ แลว้ กลับตามข้ามทางท้องสนิ ธู ออกวา่ ยวแู่ หวกนา้ ด้วยกาลัง นิทานคากลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณหี นนี างผีเสอื้ สมทุ ร

๘ ความเมตตาของพระฤาษแี หง่ เกาแก้วพิสดาร ถ้าไม่ได้รับความช่วยเหลือจากพระฤาษีแห่งเกาะแก้วพิสดารที่มายืนรอรับ พระอภัยมณีกับนางเงือกท่ีหาดทรายและร่ายคาถาขู่นางผีเส้ือสมุทรให้กลัว พระ อภยั มณแี ละนางเงือกกค็ งไมส่ ามารถพนั เงื้อมมือของนางผีเสอื้ สมทุ รมาได้ สนุ ทรภู่ บรรยายการรอดพน้ ของพระอภัยมณีกับนางเงือกจากการไล่ติดตามอย่างฉิวเฉียด ของนางผีเส้อื สมุทรวา่ พระอภยั มณเี ห็นผเี สอื้ ความกลวั เหลอื ว่ายควา้ งอยู่กลางหน ยกั ษ์กระโจมโถมจบั แทบอับจน พอเห็นคนอยู่ทีห่ าดตวาดครืน เขา้ ถึงท่ผี ีเสือ้ ก็ถึงด้วย กระชัน้ ฉวยผิดเลือกเกลือกเขา้ ต้นื พอโยคีมีคาถาลงมายนื ผีเสื้อต่นื ตวั สัน่ ขยน้ั ยั้ง พระอภยั ภมู นิ ทรก์ ับสนิ สมุทร แล้วกราบกรานโยคมี กี าลงั ชว่ ยกนั ฉดุ นางเงือกเสอื กเขา้ ฝั่ง แขกฝร่งั พรัง่ พรอ้ มล้อมพดู จา พระโยคีมีจติ คดิ สงสาร จงึ วา่ ทา่ นหนีตายหมายมาหา เราลงมาคอยช่วยดว้ ยเมตตา แตก่ ิจจาไม่กระจ่างยงั คลางแคลง ฯลฯ นทิ านคากลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณหี นนี างผีเสือ้ สมทุ ร

๙ ความสาคญั ของปญั ญา นิทานคากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร สะท้อนให้เห็นความสาคัญของสติปัญญาอยู่มาก ไม่ว่าจะเป็นสติปัญญาของเงือก เฒา่ ของพระอภยั มณี ของนางผีเสอื้ สมุทร หรอื ของสนิ สมุทร พระอภยั มณีได้รบั คาแนะนาจากเงือกให้หนไี ปยังเกาะแก้วพสิ ดารโดยลวงให้ นางผีเสื้อสมุทรให้อดอาหารเพ่ือให้อ่อนแรงเสียก่อน เป็นการตัดโอกาสนางผีเสื้อ สมุทรไม่ให้ตามพระอภัยมณีได้ทัน เหตุการณ์ตอนน้ีแสดงให้เห็นความสาคัญของ การวาแผนก่อนลงปฏิบัติ ไม่ไช่เป็นการหนีตามยถากรรม เงือกน้ันรู้สภาพ ภูมิศาสตร์ และรู้กาลังของตนว่าสามารถพาพระอภัยมณีหนีการติดตามของนาง ผีเสื้อสมุทรได้นานเท่าใด การรู้เขารู้เราเช่นน้ีทาให้ประมาณกาลังตนเองได้โดยไม่ ประมาท นอกจากนี้ ยงั มองการณ์ไกลหาทางให้พระอภัยมณีมีโอกาสโดยสารเรือท่ี พลัดเข้ามายังเกาะแก้วพิสดารกลับไปยังบ้านเมืองของตนได้อีกด้วย ดังปรากฏใน คาพูดท่เี งือกเฒ่ากล่าวแก่พระอภัยมณีดังน้ี แมน้ พระองค์ทรงฤทธ์จิ ะคิดหนี ถงึ โยคีเขา้ สานกั ไม่ตกั ษัย เผื่อสาเภาเขาซัดพลัดเขา้ ไป ก็จะไดโ้ ดยสารไปบ้านเมอื ง ล้วนเขาโขดคิรรี ตั นข์ นัดเนอ่ื ง แตท่ างไกลไมน่ อ้ ยถงึ รอ้ ยโยชน์ จงทราบเบอื้ งบงกชบทมาลย์ กลางคงคาสารพดั จะขดั เคอื ง แมน้ กาลงั ดังข้าจะพาหนี เจ็ดราตรีเจยี วจงึ จะถงึ สถาน อสุรีมีกาลงั ดงั ปลาวาฬ ตามประมาณสามวันจะทันตวั นิทานคากลอนเรือ่ งพระอภยั มณี ตอนพระอภัยมณหี นนี างผเี สือ้ สมทุ ร

๑๐ คาอธบิ ายศพั ท์และข้อความ คาศัพท์ ความหมาย กระโจมโจน โถมและพุ่งเขา้ ใสเ่ ตม็ กาลงั กลัน้ ในท่นี ีห้ มายความวา่ กลน้ั หายใจ ขนุ ไศล ภเู ขาใหญ่ คล้ายคลา้ ย เคลื่อนไหวไปเรอ่ื ย ๆ เจา้ ฟ้าในธาตรี เจา้ แผน่ ดนิ ในทีน่ ้หี มายถึง พระอภยั มณี เฉโก ฉลาดแกมโกง ชกั หลงั ถอยหลงั หนี ตรีชา ตาหนิ กลา่ วโทษ ทาไขหู ทาเปน็ ว่าไมไ่ ดย้ ิน ทารกั ทาเปน็ รักใคร่ คือ พระอภัยมณสี วมนิ้วมีแกล้งทาเปน็ รัก ใคร่นางผีเสอ้ื สมุทร นางมารจะนานมา อีกนานกว่านางผีเส้ือสมทุ รจะกลบั มา บัลลงั ก์ ในทนี่ ห้ี มายถงึ แทน่ หนิ ท่ีใชเ้ ปน็ ท่ีนัง่ หรอื ทีน่ อน มานุษย์ มาจากคาวา่ “มนษุ ย์” ในท่ีนี้ยดื เสยี งสระอะเป็นสระอา เพราะต้องการใหส้ มั ผัสกับคาว่า “ย่า” ในความวา่ “ด้วย ระลอก เดมิ ทีป่ยู ่าเป็นมานษุ ย์” ละเมาะ คลื่น พมุ่ ไม้ นทิ านคากลอนเรอ่ื งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณหี นนี างผีเสือ้ สมุทร

๑๑ คาอธิบายศัพทแ์ ละขอ้ ความ คาศพั ท์ ความหมาย ลูกไม้ เป็นคาทคี่ นโบราณใชใ้ นความหมายว่าผลไม้ ปจั จุบันพบ ในคาวา่ “สม้ สูกลกู ไม้” เลกิ ศลิ า ยกหนิ ขน้ึ โว้เว้ พดู หาเรื่อง พดู จาเหลวไหล สมทุ รไท ท้องทะเลอันกว้างใหญ่ หบุ ห้อง ถา้ เห่ กลอ่ ม อยา่ สญู ใจ อย่าแลง้ นา้ ใจ นทิ านคากลอนเรอื่ งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณีหนนี างผเี สอ้ื สมทุ ร

๑๒ ชวนคิดพินจิ คุณค่า วิเคราะหเ์ น้ือหา ๑. อธิบายลักษณะเฉพาะของตัวละครทนี่ ักเรียนสนใจมากที่สุด ยกตวั อย่างและ วาดภาพประกอบ ๒. วิเคราะหพ์ ฤติกรรมของตวั ละครทีน่ า่ เห็นใจมากทสี่ ุด พร้อมทง้ั ให้เหตุผล ๓. นางผเี สอ้ื สมทุ รควรปฏบิ ตั ติ นเชน่ ไรจงึ จะเปน็ ที่รกั ของลูกและสามี นกั เรียน คดิ ว่าควรมหี ลกั การครองเรอื นอย่างไรจึงจะทาให้ชีวิตคู่ยืนยาว ๔. ถ้านักเรยี นเป็นพระอภยั มณี นกั เรียนจะคดิ หนนี างผีเส้อื สมุทรหรอื ไม่ เพราะ เหตุใด ๕. หาขอ้ ดขี องนางผีเสื้อสมุทรท่ีเกยี่ วข้องกบั พระอภยั มณแี ละสินสมุทร นิทานคากลอนเร่อื งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณีหนีนางผเี สื้อสมุทร

๑๓ พิจารณาภาษาการประพันธ์ ๑. เลอื กคาประพนั ธ์จากเร่ืองพระอภยั มณี ตอนพระอภัยมณีหนนี างผีเส้อื สมุทร ทนี่ กั เรยี นชอบมากที่สดุ ประมาณ ๒-๓ บท บอกเหตุผลว่าชอบบทนัน้ เพราะเหตใุ ด โดยคานึงถึงคณุ คา่ ทางดา้ นวรรณศลิ ปแ์ ละการนาไปใชป้ ระโยชน์ด้วย ๒. รวบรวมคาที่แสดงอาการเคลอ่ื นไหว และคาเลียนเสียงธรรมชาติท่ีพบในเรอื่ ง บันทึกลงสมดุ คาศัพทข์ องนักเรียน แลว้ นาเสนอหน้าชน้ั เรยี น ๓. ยกตัวอยา่ งคาประพันธท์ ่ีมสี มั ผสั ใน ทั้งสมั ผัสพยัญชนะและสมั ผัสสระอย่างละ ๒ บท พร้อมท้งั อธบิ ายลกั ษณะของสมั ผสั ดังกลา่ ว นทิ านคากลอนเรอ่ื งพระอภยั มณี ตอนพระอภยั มณหี นีนางผีเสือ้ สมุทร

๑๔ เลอื กสรรนาไปใช้ ๑.ประกวดอ่านทานองเสนาะเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนาง ผีเสื้อสมทุ รโดยรว่ มกนั กาหนดเกณฑท์ ีใ่ ชใ้ นการประกวด ๒. แสดงบทบาทสมมุติเร่ืองพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ สมุทรในวันสุนทรภู่หรือวันภาษาไทยแหง่ ชาติ ๓. จัดแข่งขนั แตง่ สักวากลอนสดระหว่างหอ้ งเรยี นเรอ่ื งพระอภัยมณี พระอภัยมณีหนีนางผเี สอ้ื สมุทร ๔. หาโอกาสชมการแสดงละครเรื่องพระอภยั มณี หรือชมหนุ่ กระบอก หุ่น ละครเล็กและการต์ นู เร่อื งดงั กล่าว ๕. จัดกิจกรรมแข่งขันตอบปัญหาเรื่องพระอภัยมณี เพื่อส่งเสริมการอ่าน อย่างกวา้ งขวางและลึกซ้ึง นิทานคากลอนเรอ่ื งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณีหนนี างผเี สอื้ สมุทร

๑๖ บทวเิ คราะห์ ชายขา้ วเปลอื กหญงิ ข้าวสารโบราณวา่ น้าเพ่ิงเรอื เสือพ่ึงปา่ อัชฌาสัย เรากจ็ ติ คดิ ดูเล่าเขาก็ใจ รกั กันไว้ดีกวา่ ช่างระวังการ คาสอนท่ีคุ้นหูข้างต้นน้ีอยู่ในวรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิต หรือที่เรียกกัน ว่าเพลงยาวเจ้าอิศรญาณ หรือภาษิตอิศรญาณก็มี ผู้ส่งนิพนธ์คือหม่อมเจ้าอิศร ญาณ กวีสาคัญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเก้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าอิศร ญาณเป็นพระโอรสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศ มีพระนาม เดิมว่าอะไรน้ันไม่ปรากฏ แต่มีสมณชายาขณะผนวชอยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหารว่าอิส สรญาโณ มีเร่ืองเล่ากันว่าครั้งหน่ึงทรงทาอะไรแปลกไปจนมีผู้ตาหนิให้รู้สึกน้อย พระทัยวรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิตซึ่งทรงนิพนธ์ข้ึนในเวลาต่อมาจึงแฝงด้วย น้าเสียงบน่ แกมเสียดสีประชดประชันแต่ก็มี. มุ่งหมายเพ่ือส่ังสอนเตือนใจให้ฉุกคิด กอ่ นท่ีจะทาส่ิงใดและสอนเก่ียวกับการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นในสังคมเพื่อให้อยู่ร่วมกัน ไดอ้ ย่างมคี วามสุข อศิ รญาณภาษติ

๑๗ คาสอนในอศิ รญาณภาษติ คาประพันธ์ในอิศรญาณภาษิตบทหนึ่งๆอาจมีคาสอนหลายเรื่องอยู่ด้วยกันแทนท่ีจะ กล่าวถงึ เร่อื งใดเรือ่ งหนง่ึ ใหจ้ บเป็นเรอ่ื งๆไป เช่น เดนิ ตามรอยผใู้ หญ่หมาไมก่ ัด ไปพดู ขัดเขาทาไมขัดใจเขา คาประพันธ์วรรคแรกสอนให้ประพฤติปฏิบัติตามแนวทางที่ผู้ใหญ่ทามาก่อนแล้วเพื่อ ไมใ่ ห้เกดิ ความเสียหายสว่ นวรรคหลงั สอนให้ระมดั ระวงั คาพดู และไมพ่ ูดขัดคอผอู้ น่ื ชายข้าวเปลอื กหญิงข้าวสารโบราณว่า นา้ พง่ึ เรือเสือพึ่งปา่ อัชฌาสัย คาประพันธ์วรรคแรกเหยียบผู้ชายเหมือนเค้าเปลือกซ่ึงเมื่อตกที่ใดก็งอกและ เจริญเติบโตได้แต่ผู้หญิงเปรียบเหมือนข้าวศาลซ่ึงไม่อาจเจริญงอกงามต่อไปได้ส่วนคา ประพันธ์วรรคท่ีสองเปรียบคนในสังคมเดียวกันเหมือนน้ากับเรือและเสือกับป่าท่ีต้อง พึง่ พาอาศัยกนั อิศรญาณภาษติ

๑๘ อิศรญาณภาษติ มเี น้ือหาคาสอนทหี่ ลากหลาย สอนให้เห็นความสาคัญของปัญญาแต่อยากอวดรู้ ดังท่ีว่าจะเรียนคมเรียนเถิดอย่า เปิดฝัก คือให้เป็นคนใฝ่รู้แตใ่ ห้เก็บความร้ไู วฉ้ ายเมอ่ื ถึงเวลาสมควร สอนให้รู้จักคิดใคร่ครวญไตร่ตรองก่อนจะพูดหรือทาสิ่งใดดังท่ีว่าเห็นตอหลักปัก ขวางหนทางอยู่พิเคราะห์ดูควรทึ่งแล้วจึงถอนเห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทาปากบอน ตรองเสยี ก่อนจงึ ค่อยทากรรมทง้ั มวล สอนให้รู้จักอดทนลาบาก หม่ันขวนขวายหาความรู้ดังที่ว่าเอาหลังตากแดดเป็นนิจ คิดคานวนรถู้ ถ่ี ว้ นจงึ สบายเม่ือปลายมอื สอนใหห้ มนั่ พิจารณาใจของตนดังท่วี า่ เกดิ เป็นคนเชิงดูให้รู้เท่าใจของเราไม่สนใจใคร จะสอนเราจึงต้องสารวจใจตนเพือ่ วา่ หากมขี ้อผดิ พลาดใดกจ็ ะไดแ้ ก้ไขเสยี สอนใหม้ ีใจหนักแนน่ ไม่หลงเชอ่ื คาพดู ยยุ งโดยง่ายให้รู้จักไตร่ตรองให้ดีเสียก่อนที่จะ คอยตามคาพดู ของผู้อื่นดังที่วา่ อนั เสาหนิ แปดศอกตอกเปน็ หลกั ไปมาพักบ่อยเข้าเสายังไหวจงฟังหูไว้หูคอยดูไปเช่ือ นา้ ใจดีกว่าอย่าเชอื่ ยุ สอนให้ระมัดระวังคาพูด เช่นสอนว่าไม่ควรพูดขัดใจผู้อ่ืนจะทาให้ผิดใจกันได้อย่าง ทวี่ ่าไปพูดขดั เคา้ ทาไมขัดใจเขาหรอื เม่ือดเู ห็นส่ิงใดแล้วก็อย่าพูดเร่ืองของผู้อ่ืนออกไป ดงั ท่วี ่าเห็นเตม็ ตาแลว้ อย่าอยากทาปากบอน อิศรญาณภาษติ

๑๙ สอนให้เคารพและให้ความสาคญั แก่ผู้อาวโุ ส อย่างท่ีวา่ คอ่ ยดาเนินตามไต่พูดไปหนา้ ใจความว่าผู้มีคุณอยา่ หุนหวน หมายถึง คนท่ีเกิดกอ่ นย่อมมคี วามรู้และประสบการณม์ ากกวา่ สอนให้ทาความดี หากมบี ุญแต่ไม่ทาความดีก็ไมเ่ กดิ ผลดแี ก่ตัวดังท่วี ่า ถึงบุญมีไมป่ ระกอบชอบไมไ่ ดต้ อ้ งอาศัยคดิ ดีจึงมผี ลบุญหาไมแ่ ลว้ อย่าได้ทะนงตน ปถุ ชุ นรักกบั ชังไม่ยงั่ ยนื คาสอนส่วนใหญใ่ นอิสระยานภาษิตมเี นอื้ หาท่ีใชไ้ ดท้ ุกยุคทกุ สมยั แม้สงั คม ปจั จบุ นั จะเปลี่ยนไปจากสงั คมแต่ก่อนมากคาสอนเหลา่ น้ยี ังคงใช้ไดด้ ีอยเู่ ชน่ สอน ให้ออ่ นนอ้ มทอมตนเมอ่ื จะต้องขอความชว่ ยเหลอื จากผู้ใดดังทว่ี ่าอยากใช้เขาเรา ตอ้ งก้มประนมกรหรอื ท่วี า่ หญงิ เรยี กแมช่ ายเรียกพอ่ ยอไว้ใช้ โวหารเปรยี บเทียบในอศิ รญาณภาษิต เม่ือจะสอนใหร้ ู้จักประมาณตนมีให้ทาอะไรเกนิ กาลงั และฐานะของตนกม็ ีกก็ ล่าว เปรยี บวา่ จะสร้างสง่ิ ใดใหส้ งู ก็อย่าสงู เกนิ กวา่ ทฐี่ านจะรบั น้าหนกั ไวไ้ ด้ เพราะจะ ทาให้ลม้ และเมอ่ื มคี วามรสู้ งู กม็ ใี หอ้ วดก็สามารถแต่ใหเ้ ป็นคนคมในฝกั ตอ่ เมอ่ื ถงึ คราวทต่ี อ้ งแสดงภูมิรู้ปรากฏจึงนาความรู้น้นั ออกมาใช้ เม่ือจะเตอื นใหป้ ระเมินกาลังของศตั รโู ดยเฉพาะผทู้ ่มี อี านาจกอ่ นท่ีเราคดิ จะตอ่ สู้ ดว้ ยกม็ กี ็เปรยี บเทียบกบั การลอ้ เลน่ กบั หมู่เฮาซ่ึงเปน็ สตั วท์ ีอ่ ันตรายมากผ้ทู ี่คิดจะ ล้อเลน่ ต้องเปน็ คนใจกลา้ มคี วามปราดเปรียววอ่ งไวตดั สินใจได้อยา่ งเด็ดขาดทันที อยา่ งทวี่ า่ ลอ้ งูเห่าเล่นกไ็ ด้ใจกล้ากล้า แตว่ า่ อยา่ ยักเยือ้ งเข้าเบอ้ื งหาง ตอ้ งวอ่ งไวในทานองคล่องทา่ ทาง ตบหวั ผางเดยี วม้วนจึงควรลอ้ อิศรญาณภาษติ

๒๐ อิศรญาณภาษติ เทศนาคาไทยให้เป็นทาน อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร สาหรับคนเจอื จติ จริตเขลา โดยตานานศุภอรรถสวัสดี ต้องหามา้ มโนมัยใหญย่ าวรี ดว้ ยมวั เมาโมห์มากในซากผี ชายขา้ วเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า สาหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย เราก็จติ คิดดเู ลา่ เขาก็ใจ น้าเพงิ่ เรอื เสอื พ่ึงป่าอชั ฌาสยั ผใู้ ดดดี ตี ่ออยา่ ก่อกิจ รกั กันไวด้ ีกว่าชา่ งระวังการ สบิ ดีกไ็ มถ่ งึ กับกึ่งพาล ผู้ใดผิดผ่อนพกั อยา่ หกั หาญ รกั ส้ันนน้ั ให้รอู้ ยู่เพียงสนั้ เป็นชายชาญอยา่ เพ่อคาดประมาทชาย มิใชต่ ายแต่เขาเรากต็ าย รักยาวน้นั อย่าให้เยิ่นเกนิ กฎหมาย อยา่ ดถู กู บุญกรรมว่าทานอ้ ย แหงนดูฟา้ อย่าให้อายเทวดา อย่านอนเปลา่ เอากระจกยกออกมา นา้ ตาลย้อยมากเม่ือไรไดห้ นักหนา เห็นตอหลกั ปกั ขวางหนทางอยู่ ส่งดหู น้าเสยี ทีหนึ่งแลว้ จึงนอน เห็นเต็มตาแล้วอยา่ อยากทาปากบอน พเิ คราะหด์ ูควรทงึ้ แล้วจงึ ถอน คอ่ ยดาเนินตามไต่ผไู้ ปหนา้ ตรองเสยี กอ่ นจึงค่อยทากรรมทง้ั มวล เอาหลังตากแดดเปน็ นจิ คิดคานวณ ใจความวา่ ผู้มีคณุ อย่าหนุ หวน เพชรอย่างดีมีคา่ ราคาย่งิ รู้ถ่ถี ว้ นจึงสบายเม่ือปลายมือ ตอ่ ผดู้ ีมีปญั ญาจงึ หารอื สง่ ให้ลงิ จะรู้คา่ ราคาหรือ ของสง่ิ ใดเจ้าว่างามต้องตามเจ้า ใหเ้ ขาลือเสยี วา่ ชายน่ขี ายเพชร จาไดท้ กุ สง่ิ จรงิ หรอื เท็จ ใครเลยเล่าจะไมง่ ามตามเสด็จ เกิดเปน็ คนเชงิ ดูให้หรือเท่า พรกิ ไทยเมด็ นิดเดยี วเคย้ี วยังรอ้ น อยากใช้เขาเราต้องกม้ ประนมกร ใจของเราไมส่ อนใจใครจะสอน เปน็ บ้าจี้นิยมชมว่าเอก ใครเลยห่อนจะว่าตัวเปน็ ววั มอ อนั ยศศกั ด์ิมใิ ช่เหล้าเมาแต่พอ คณุ โหยกเหยกรกั ษายากลาบากหมอ ถ้าเขายอเหมือนอยา่ งเกาให้เราคนั อศิ รญาณภาษติ

๒๑ คาอธบิ ายศัพทแ์ ละความหมาย คาศัพท์ ความหมาย ข่อื คา ขอื่ และคาเปน็ เครื่องจองจา นกั โทษสมยั โบราณ ทาอวดเกง่ แขวะ กบั ข่อื ราหมายความวา่ แสดง คนท่ีจนเอง อานาจโออ้ วดทาส่งิ ที่ทา้ ทา้ ย คนโหยกเหยก บทลงโทษ บา้ จ้ี เอาสง่ิ มีคมแหวะควา้ นใหก้ ว้าง ตะบนั ในทน่ี ้ีหมายถงึ ไม้ไผเ่ จาะรู อชั ฌาศัย คนทที่ าตนเองให้ยากจน คนไมไ่ ดเ้ ร่อื งแก้ไขยาก ในที่นี้หมายถงึ บา้ ยอ ทม่ิ หรอื แทงกดลงไป ความมีนา้ ใจเก้อื กลู กัน อิศรญาณภาษติ

๒๒ ชวนคิดพนิ จิ คุณค่า วเิ คราะหเ์ น้อื หา ๑.นกั เรยี นได้ข้อคดิ อะไรบ้างจากข้อความตอ่ ไปนแ้ี ละจะสามารถนาขอ้ คิดทีไ่ ดน้ น้ั ไปใช้ ประโยชนไ์ ด้อย่างไร ๑.๑ ชายขา้ วเปลือกหญิงข้าวสารโบราณวา่ นา้ พงึ่ เรือเสือพึ่งปา่ อัชฌาสยั ๑.๒ ยานอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทหี น่งึ แลว้ จึงนอน ๑.๓ เอาหลังตากแดดเป็นนจิ คิดคานวณ ร้ถู ถ่ี ้วนจึงสบายเม่ือปลายมอื ๑.๔ อันยศศักดิม์ ิใชเ่ หลา้ เมาแตพ่ อ ถา้ เขายอเหมอื นอยา่ งเกาใหเ้ ราคัน ๒. ให้นักเรยี นยกตัวอยา่ งคาประพันธ์ท่สี ะทอ้ นวถิ ชี ีวติ ของคนในสังคมไทยที่พบอิศรญาณ ภาษิต เชน่ การพงึ่ พาอาศยั กันการวางตนในสงั คม วิธกี ารผกู มิตรเป็นต้น ๓.ชว่ ยกันรวบรวมประเด็นคาสอนท่ีนา่ สนใจในอิศรญาณภาษิตพร้อมท้งั อธิบายความหมาย ของข้อความตามความเข้าใจของนกั เรยี นเช่น ผใู้ ดดีดตี ่ออย่าก่อกจิ ผใู้ ดผดิ ผ่อนพกั อยา่ หักหาญ อิศรญาณภาษติ

๒๓ พิจารณาภาษาคาประพันธ์ ๑. อธิบายความตอ่ ไปนี้ ตามความเขา้ ใจของนักเรียน ๑.๑ ตานานศภุ อรรถ ๑.๒ คนเจือจติ จรติ เขลา ๑.๓ ไม่ควรก้าเกินหนา้ กอ็ ย่าเกิน ๑.๔ ผเี รือนตวั ไมด่ ผี ีอื่นพลอย ๒. รวบรวมคาหรือข้อความท่ีสามารถตีความได้นอกเหนือจากความหมายตาม ตัวอักษรแล้วให้ความหมายของคานั้นๆ ตามเหตุผลของแต่ละบุคคลเช่น ตอหลัก ปลายมอื ผ้ดู ี แหงนดูฟ้า หาไวท้ กั เป็นต้น ๓. เพ่ือนสุภาษิตอิศรญาณปวดที่ชอบมาเรียบเรียงเป็นภาษาของนักเรียนเองแล้ว นามาแตง่ เป็นเร่อื งเพอ่ื ใช้แสดงบทบาทสมมตุ ิ อศิ รญาณภาษติ

๒๕ บทวเิ ครำะห์ คำพอ่ สอนลกู …จงอุตสาหะเล่าเรยี นโดยความเพียรอย่างยง่ิ เพือ่ จะได้มโี อกาส ทีจ่ ะทาการให้เปน็ คณุ แกบ่ ้านเมืองของตวั เอง และโลกท่ตี วั ได้มา เกดิ … …เงนิ ทองทจ่ี ะใชส้ อยในค่ากนิ อยู่ นงุ่ หม่ หรอื ใช้สอยเบด็ เสร็จทั้งปวง จงเขม็ดแขมใ่ ช้แตเ่ พียงพอท่อี นุญาตใหใ้ ช้ อย่าทาใจตัว มือโต สุร่ยุ สรุ ่าย… …จงนกึ ไวใ้ หเ้ สมอวา่ เงนิ ทองทีแ่ ลเหน็ มากๆ ไมไ่ ด้เปน็ ของหามา ไดโ้ ดยงา่ ยเหมือนเวลาที่จ่ายไปงา่ ยนัน้ เลย… ถ้าจะใช้คาต้ังต้นนี้เป็นคาตักเตือนลูกหลานที่จากบ้านไปศึกษาต่างถ่ินต่างแดนก็ น่าจะเหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะความตั้งใจเล่าเรียนและการใช้จ่ายอย่างประหยัดเป็นเร่ือง สาคญั สาหรับผอู้ ยใู่ นวัยเรียน ซงึ่ มกั จะมีสิง่ ล่อใจให้หลงไปในทางอ่นื ได้ง่าย คาเตอื นน้ีขึ้นต้นว่า “จงนึกไว้ให้เสมอ…” จึงเป็นเสมือนเสียงสั่งสอนของพ่อแม่ท่ีตามไปตักเตือนอยู่เนืองๆ คาสอนข้างต้นเป็นส่วนหน่ึงของพระบรมราโชวาท ท่ีพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเเกพระเจ้าลูกยาเธอ ๔ พระองค์ ท่ีเสด็จไปทรงศึกษา วิชาการ ณ ต่างประเทศ ได้เเก่ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ พระองค์เจ้าพีรพัฒนศักด์ิ พระองค์เจา้ ประวิตรวฒั โนดม พระองคเ์ จ้าจิรประวัตวิ รเดช คาพอ่ สอนลกู

๒๖ เนื่องจากพระเจ้าลูกยาเธอท้ัง ๔ พระองค์ เสด็จไปทรงศึกษาต่างแดนขณะยังทรง พระเยาว์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยในเรื่องการปฏิบัติพระองค์ ได้ ทรงกาชับมิให้อวดอ้างว่าเป็นเจ้านายและมิให้แสดงอานาจ แต่ให้มีความอ่อนน้อม ว่าง่าย และ ประพฤติชอบในเร่ืองการใช้เงิน โปรดให้พระราชณโอรสใช้อย่างประหยัด เพราะแม้จะเป็นเงิน ส่วนพระองค์แต่ก็เป็นเงินแผ่นดินที่ราษฎรถวายในฐานะท่ีทรงเป็นผู้ทานุบารุงบ้านเมือง ทรง กาชับไม่ให้ก่อหนี้สิน ถึงหากมีหน้ีสินก็จะไม่ส่งใช้หนี้ให้โดยมิทรงลงโทษในเรื่องการศึกษาโปรด ให้พระราชโอรสศึกษาวชิ าภาษาและวิชาเลข โดยไม่ต้องละเลยภาษาไทยเพื่อจะได้นาวิชาการที่ ไดศ้ ึกษามาถา่ ยทอดเปน็ ภาษาไทยได้ คาสอนในพระบรมราโชวาทแสดงให้เห็นแนวพระราชดาริที่ส่งคานึงถึงประโยชน์ ของประเทศชาติและประชาชนเป็นสาคัญ ดังท่ีทรงกาชับให้พระราชโอรสตระหนักถึงคุณของ แผ่นดิน เม่ือจะได้กลับมาทดแทนคุณบ้านเกิดเมืองนอน แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงคานึงถึง ความสุขและความสาเร็จของพระโอรสอยู่เสมอ เชน่ เดียวกบั พ่อโดยท่วั ไปทร่ี ักและเป็นห่วงใยลูก หวังจะได้เห็นลูกอยู่อย่างมีความสุขเป็นที่นับหน้าถือตาและไม่เป็นที่ครหาของผู้ใด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวจึงตรัสย้าอยู่หลายครั้งเพื่อให้พระโอสถทรงตระหนักถึง ความรักและความห่วงใยของพระองค์ ตลอดจนเหตุผลท่ีทรงเข้มงวดในเร่ืองต่างๆ ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปน้ี …. ความปรารถนาของพอ่ ไม่อยากจะใหล้ ูกมีอานาจท่จี ะ เกะกะอย่างนั้นเลย เพราะรู้เปน็ แน่วา่ เมื่อรกั ลูกเกินไป ปล่อยให้ ไมก่ ลัวใครและประพฤติการช่ัวเช่นน้นั คงจะเปน็ โทษแกต่ ัวลกู นัน่ เองทัง้ ในปจั จบุ นั และอนาคต… …พอ่ รักลกู จริง แตไ่ มร่ ักลกู ยังชนดิ น้นั เลย เพราะรเู้ ป็น แน่ว่าถ้าจะรกั อยา่ งน้นั ตามใจอยา่ งนัน้ จะไม่เปน็ การมคี ุณอนั ใด แก่ตวั ลกู ผ้ไู ดร้ บั ความรักนน้ั เลย เพราะจะเปน็ ผ้ไู มไ่ ดว้ ิชาที่ ปรารถนาจะให้ได้ จะไปได้แต่วชิ าท่จี ะทาให้เสียช่ือเสียงและ ไดค้ วามร้อนใจอยู่เป็น คาสอนต่างๆขา้ งตน้ แมจ้ ะเปน็ พระบรมราโชวาทของพระเจ้าแผ่นดิน แตก่ ็สะท้อนให้ เห็นวิถีชีวิตของคนไทยท่ัวๆไป ซึ่งสืบทอดกันมาแต่โบราณ ดังจะเห็นได้ว่าบิดาซ่ึงเป็นหัวหน้า ครอบครัวน้ันมีความห่วงใยอนาคตของบุตร จึงเพียรปลูกฝังส่ังสอนและแนะแนวทางในการ ดาเนินชีวิตเพ่อื ให้บุตรเป็นคนมีสัมมาคารวะ มีความประพฤติสุจริต ประหยัดมัธยัสถ์ และไม่ทา ตัวให้เป็นที่เดือดร้อนหรือเป็นปัญหาแก่ผู้อ่ืน ในสังคมไทยบิดาและมารดาจึงเป็นประดุจครูคน แรกที่อบรมส่งั สอนและปลูกฝังจรยิ ธรรมให้แก่บุตรเพ่ือให้เปน็ คนดีและเป็นกาลังของสงั คม คาพ่อสอนลูก

๒๗ คณุ ค่ำทำงวรรณศิลป์ พระบรมราโชวาทมีรูปแบบเป็นจดหมายร้อยแก้ว ใช้เทศนาโวหารด้วยสานวน ภาษางา่ ยๆ ตรงไปตรงมา ตอนใดที่เปน็ คาสั่ง กจ็ ะทรงระบชุ ดั เจนวา่ เป็นพระราชประสงค์ เชน่ ขอจดหมายคาส่ังตามความประสงคใ์ ห้แกล่ กู บรรดา ซ่งึ จะให้ออกไปเรียนหนังสือในประเทศยุโรป จงประพฤตติ าม โอวาททจ่ี ะกล่าวต่อไปน้ี ๑. การซ่งึ จะให้ออกไปเรียนคร้งั นี้ มีความประสงคม์ ุ่งหมาย แต่จะให้ไดว้ ิชาความรูอ้ ยา่ งเดียว ไมม่ ั่นหมายจะใหเ้ ปน็ เกิยรตยิ ศ ชอ่ื เสียง…. เมือ่ มีรบั สัง่ แลว้ กท็ รงช้ีแจงตอ่ ไป เช่น “ขออธบิ ายความประสงคข์ ้อน้ีให้ชดั …” “คาส่ัง” ต่างๆ จึงมีเหตุผลหนักแน่นและชัดเจน ทาให้ผู้รับคาส่ังเห็นชอบและยินดีที่จะปฏิบัติ ตามโดยดี ตอนใดท่เี ป็น “คาสอน” จะทรงใช้วธิ โี น้มนา้ วใจโดยทรงช้ีให้เห็นข้อดแี ละขอ้ เสยี เปรียบเทียบกนั เช่น เมือ่ ตรสั สอนมิใหไ้ ว้ยศเป็นเจ้าว่าดังนี้ …ถ้าเปน็ เจ้านายแลว้ ต้องรกั ษายศในกจิ การทัง้ ปวง ท่ีจะทาทุกอยา่ ง เปน็ เครือ่ งลอ่ หูล่อตาคนทัง้ ปวงทีจ่ ะให้พอใจดู พอใจฟงั จะทาอันใดกต็ อ้ งระวงั ไปทกุ อยา่ ง ท่ีสดุ จนจะซ้ือจ่าย อันใดกแ็ พงกวา่ คนสามญั เพราะเขาถอื วา่ มัง่ มี เป็นการเปลอื งทรัพย์ ในท่ีไมค่ วรจะเปลือง เพราะเหตุวา่ ถงึ จะเป็นเจา้ ก็ดีเป็นไพร่ก็ดี เม่อื อยู่ในประเทศไมใ่ ช่บ้านของตวั เองก็ไม่มีอานาจที่จะทา ฤทธ์เิ ดชอันใดไปผดิ กบั คนสามัญได้ จะมปี ระโยชน์อยนู่ ดิ หน่ึง แต่เพียงเขา้ ทีป่ ระชุมสงู ๆได้ แตถ่ ้าเป็นลูกผู้มีตระกลู กจ็ ะเขา้ ท่ี ประชุมสูงๆ ไดเ้ ทา่ กันกบั เป็นเจา้ นน่ั เอง…. คาพ่อสอนลูก

๒๘ นอกจากนี้ ยงั มีการใช้ภาพพจนเ์ ปรยี บเทยี บให้เกดิ จินตภาพอยหู่ ลายแห่ง เชน่ …ชีวติ สงั ขารของมนษุ ยไ์ ม่ยง่ั ยนื ยดื ยาวเหมือนเหล็ก เหมือนศลิ า ถงึ โดยวา่ จะมพี ่ออยู่ในขณะหนึ่ง กค็ งจะมีเวลาท่ีไมม่ ี ไดข้ ณะหนง่ึ เปน็ แนแ่ ท้ ถา้ ประพฤตคิ วามชว่ั เสยี แต่ในเวลา มีพ่ออยแู่ ลว้ โดยจะปดิ บังซอ่ นเร้นอยไู่ ด้ดว้ ยอย่างหน่ึงอยา่ งใด เวลาไม่มพี อ่ ความช่ัวน้ันคงจะปรากฏเป็นโทษตดิ ตัวเหมอื นเงา ตามหลังอย่ไู ม่ขาด… พระบรมราโชวาทท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๔ พระองค์ นับได้ว่าเป็นงานเขียนร้อยแก้วช้ินเอกของไทยที่ทรงคุณค่า ควรแกก่ ารศึกษา พระราชวงศเ์ ธอกรมหมื่นพทิ ยาลงกรณ์ ผู้ทรงแปลพระบรมราโชวาทว่าฉบับ น้ีเป็นภาษาอังกฤษเผยแพร่มาแล้ว ได้ทรงวิจารณ์ลักษณะการใช้ภาษาของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวคร้ังที่มีพระราชดารัสพระราชทานแกนักเรียนซึ่งประชุมกันเฝ้าท่ี หน้าพลับพลา ท้องสนามหลวงเมือ่ วนั ที่ 11 มกราคม ร.ศ. ๑๑๖ ตอนหนง่ึ วา่ …อา่ นแลว้ เข้าใจแจม่ แจ้งเหมือนดงั เดินไปในทีเ่ ตียนราบ ไมต่ อ้ งปลกู หญา้ รก ไม่สะดดุ ขอนไม้ทนี่ อนขวางทาง ไมต่ ้อง ปีนขา้ มร้วั ไม่ตอ้ งโจนข้ามคู ไมต่ ้องอัดลมหายใจเพอ่ื จบั เบง่ ปญั ญา ให้รู้ความหมายของหนังสอื ไมต่ อ้ งเดินทางคดเคี้ยวเป็นงเู ลื้อย … ทรงใช้สานวนอย่างที่พดู กนั อย่เู สมอๆ ไมส่ ่งประดิดประดอย แตล่ ะประโยคใหเ้ ปน็ ประโยคทรงเครอื่ ง เปรียบเหมือนแต่งตวั ธรรมดาเดนิ ไปตามสบาย ไมใ่ ช้น่งุ หางหงส์ คาดเจียรบาด สวมชฎา เดนิ ท่ายี่เกออกฉาก เม่ือจะตรสั ว่ากระไรก็ตรสั ออกมา ตรง ๆ ตามภาษาธรรมดา เราก็เข้าใจทันที… คาพอ่ สอนลูก

๒๙ คำพอ่ สอนลูก พระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้ำเจำ้ อยู่หัว ขอจดหมายคาสงั่ ตามความประสงคใ์ ห้แกล่ ูก บรรดาซึง่ จะใหอ้ อกไปเรียนหนังสือในประเทศ ยุโรป จงประพฤติตามโอวาททีจ่ ะกล่าวตอ่ ไปนี้ ๑. การซ่งึ จะใหอ้ อกไปเรยี นครงั้ น้ี มีความประสงคม์ ุ่งหมายจะใหไ้ ดว้ ชิ าความรู้ อย่างเดยี ว ไม่ม่ันหมายจะใหเ้ ป็นเกียรติยศช่อื เสยี งอย่างหนึง่ อย่างใดในชัน้ ซ่งึ ยังเปน็ ผ้เู รียนวชิ า นี้อยู่เลย เพราะฉะนน้ั ท่ีจะไปครัง้ นี้ อย่าใหไ้ วย้ ศวา่ เปน็ เจา้ ให้ถอื ศักด์เิ สมอลูกผมู้ ีตระกลู ในกรงุ สยาม คอื อยา่ ใหใ้ ช้ ฮิสรอเเยลไฮเนสปรนิ ซ์ นาหนา้ ช่ือ ให้ใชแ้ ตช่ ือ่ เดิมของตวั เฉยๆ เมื่อผอู้ ่ืน เค้าจะเติมหน้าชื่อหรือจะเตมิ ใชช้ ือ่ ตามธรรมเนียมกต็ ามทเี ถดิ อยา่ คัดคา้ นเค้าเลย แตไ่ ม่ตอ้ งใช้ คาว่านายตามอย่างไทยซงึ่ เป็นคานาของชอ่ื ลูกขุนนางทเ่ี คยใช้ในแทนมิสเตอร์ เม่ือเรียกชอ่ื ไทย ในภาษาองั กฤษบ่อยๆเพราะวา่ เปน็ ภาษาไทยซง่ึ จะทาให้เปน็ ทฟี่ ังขดั ขัดๆหูไป อธบิ ายความประสงค์ขอ้ นีใ้ ห้ชดั ว่า เหตุใดจึงได้ไม่ให้ไปเป็นยศเจ้าเหมือนอาของตัว ที่เคยไปแตก่ ่อน ความประสงค์ข้อน้ี ใช่ว่าจะเกิดข้ึนเพราะไม่มีความเมตตากรุณาหรือจะปิดบัง ซอ่ นเรน้ ไมใ่ ห้รู้วา่ เปน็ ลูกอยา่ งนนั้ เลย พอ่ คงรับว่าเป็นลูก และมีความเมตตากรุณาตามธรรมดา ท่ีบิดาจะกรุณาต่อบุตร แต่เห็นว่าซ่ึงจะเป็นยศเจ้าไปนั้นไม่เป็นประโยชน์อันใดแก่ตัวนัก ด้วย ธรรมดาเจ้านายฝ่ายเขามีน้อย เจ้านายฝ่ายเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามีน้อยตัวก็ยกย่องทานุบารุง กันใหญ่โตมากกว่าเรา ฝ่ายเราจะไปมียศเสมออยู่กับเขา แต่ความบริบูรณ์และยศศักดิ์ไม่เต็มท่ี เหมือนอย่างเขาก็จะเป็นที่น้อยหน้า และเห็นเป็นเจ้านายเมืองไทยเลวไปและถ้าเป็นเจ้านาย แล้ว ต้องรักษายศศกั ด์ใิ นกจิ การท้งั ปวงที่จะทาทุกอยา่ ง เป็นเคร่ืองล่อตาล่อหูคนท้ังปวงที่จะให้ พอใจดูพอใจฟัง จะทาบันไดก็ต้องระวังตัวไปทุกอย่าง ที่สุดจนจะซ้ือจ่ายอันใดแพงกว่าคน สามัญ เพราะเขาถือว่ามั่งมีเป็นการเปลืองทรัพย์ ในท่ีไม่ควรจะเปลือง เพราะเหตุว่าถึงจะเป็น เจ้าก็ดีเป็นไพร่ก็ดี เม่ืออยู่ในประเทศไม่ใช่บ้านเมืองของตัวเองก็ไม่มีอานาจที่จะทาฤทธ์ิเดชอัน ใดไปผิดกับคนสามัญได้ จะมีประโยชน์อยู่นิดนึงเพียงแต่เข้าท่ีประชุมสูงๆได้ แต่ถ้าเป็นลูกผู้มี ตระกูลกจ็ ะเข้าทปี่ ระชมุ สงู ๆ ไดเ้ ท่ากันกับเปน็ เจา้ คาพ่อสอนลกู

๓๐ ๒. เงินท่ีใช้สอยในการเล่าเรียนกินอยู่นุ่งห่มทั้งปวง จะใช้เงินพระคลังข้างที่ คือ เงินที่เป็นส่วนสิทธ์ิขาดแก่ตัวพ่อเอง ไม่ใช้เงินท่ีสาหรับจ่ายราชการแผ่นดินเงินรายน้ีได้ฝาก ไว้ที่แบงก์ซ่ึงจะได้มีคาสั่งให้ราชทูตจ่ายเป็นเงินสาหรับเรียนวิชาช้ันต้น ๕ ปีละ 320 ปอนด์ เงิน 1600 ปอนด์ สาหรับเรียนวชิ าช้ันหลังอกี ๕ ปี ปีละ 400 ปอนด์ เงนิ 2000 ปอนด์ รวม เปน็ คนละ 3600 ปอนด์ จะไดร้ ูว้ ชิ าเสรจ็ สน้ิ อย่างช้าใน 10 ปีแต่เงินน้ีฝากไว้ในแบงก์คงจะมี ดอกเบ้ียมากข้ึน เหลือการเล่าเรียนแล้วจะได้ใช้ประโยชน์ของตัวเองตามชอบใจ เป็นส่วน ยกให้เงินส่วนของใครจะให้ลงช่ือเป็นของผู้นั้นฝากเองแต่ได้กาหนดยังไม่ถึงอายุ 21 ปีเต็ม จะเรียกเอาเงินค่าใช้สอยเองไม่ได้ จะต้ังผู้จัดการแทนไว้ท่ีนอก ให้เป็นผู้ช่วยจัดการไปฝาก เงินไว้แห่งใดเท่าใด และผู้ใดเป็นผู้จัดการจะได้ทาหนังสือมอบให้อีกฉบับหน่ึง สาหรับท่ีจะ ไดไ้ ปทวงเอาในเวลาต้องการได้ การซึ่งใช้เงินพระคลังข้างท่ีไม่ใช้เงินแผ่นดินอย่างเช่นเคยใช้จ่ายให้เจ้านายและ บุตรข้าราชการไปเล่าเรียนแต่ก่อนน้ัน เพราะเห็นว่าพ่อมีลูกมากด้วยกัน การซึ่งให้โอกาส และใหท้ นุ ทรัพยซ์ ึ่งจะได้เล่าเรยี นวิชาน้ีเป็นทรัพย์มรดกอันประเสริฐดีกว่าทรัพย์สินเงินทอง อื่นๆดว้ ยเปน็ ของติดตัวอย่ไู ด้ ไมม่ ีอนั ตรายท่ีจะเสื่อมสญู ลกู คนใดท่มี สี ติปัญญาเฉลียวฉลาด ก็ดีหรือไม่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี ก็จะต้องส่งออกไปเรียนวิชาทุกคนตลอดโอกาสที่จะ เป็นไปได้เหมือนหนึ่งได้แบ่งทรัพย์มรดกให้แก่ลูกเสมอๆ กันทุกคน ก็ถ้าจะใช้เงินแผ่นดิน สาหรับให้ไปเล่าเรียนแก่ผู้ซึ่งไม่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด กลับมาไม่ได้ทาราชการคุ้มกับเงิน แผน่ ดนิ ทีล่ งไปก็จะเปน็ ทีต่ ิเตยี นของคนบางจาพวกว่ามีลูกมากเกินไป จนต้องใช้เงินแผ่นดิน เป็นค่าเล่าเรียนมากมายเหลือเกิน แล้วซ้าไม่เลือกฟั้นเอาแต่ท่ีเฉลียวฉลาดจะได้รับราชการ คนโงค่ นเง่าก็เอาไปเล่าเรียนให้เปลืองเงิน เพราะค่าที่เป็นลูกของพ่อ ไม่อยากจะให้มีมลทิน ทจ่ี ะพดู ตเิ ตียนเกยี่ วข้องกับความปรารถนาซ่ึงจะสงเคราะห์แก่ลูกให้ทั่วถึงโดยเท่ียงธรรมจึง ไมไ่ ด้ใช้เงนิ แผน่ ดิน อกี ประการหนง่ึ เล่า ถงึ ว่าเงินพระคลังข้างท่ีน้ันเองก็เป็นส่วนหน่ึงในเงินแผ่นดิน เหมอื นกัน เว้นแต่เป็นส่วนท่ียกให้แก่พ่อใช้สอยในการส่วนตัว มีการทากุศลและสงเคราะห์ บุตรภรรยา เป็นต้น เห็นว่าการสงเคราะห์ด้วยเล่าเรียนดังน้ันเป็นดีกว่าอย่างอ่ืนๆ จึงได้เอา เงินรายนี้ใช้เป็นการมีคุณต่อแผ่นดิน ท่ีไม่ต้องแบ่งเงินแผ่นดินมาใช้เป็นค่าเล่าเรียนขึ้นอีก ส่วนหนง่ึ และผลจากคาคดั คา้ นต่างๆเพราะเหตุที่พอ่ ได้เอาเงินส่วนท่ีพ่อจะได้ใช้เองน้ันออก ให้เราเรียนดว้ ยเงนิ รายนี้ ไมม่ ีผ้หู น่งึ ผู้ใดทจ่ี ะแทรกแซงว่าควรใช้อย่างน้ัน ไม่ควรใช้อย่างนั้น ไดเ้ ลย คาพอ่ สอนลกู

๓๑ ๓.จงรู้สึกตัวเป็นนิจเถิดว่า เกิดมาเป็นเจ้านายมียศบรรดาศักด์ิมากจริงอยู่ แต่ไม่เป็นการจาเป็นเลยท่ีผู้ใดเป็นเจ้าแผ่นดินข้ึน จะต้องใช้ราชการอันเป็นช่องที่จะหา เกียรติยศช่ือเสียงและทรัพย์สมบัติ ถ้าจะว่าตามการซึ่งเป็นมาแต่ก่อน เจ้านายซ่ึงจะหา ช่องทาราชการได้ยากกว่าลูกขุนนาง เพราะเหตุท่ีเป็นผู้มีวาสนาบรรดาศักดิ์มากจะรับ ราชการในตาแหน่งต่าๆ ซ่ึงเป็นกระไดข้ันแรก คือเป็นนายรองหุ้มแพรมหาดเล็ก เป็นต้น กไ็ ม่ได้เสียแลว้ จะไปแต่งตัง้ ให้ว่าการใหญ่โตสมแก่ยศศักดิ์ เม่ือไม่มีความรู้และสติปัญญา มากพอท่ีจะทาการในตาแหน่งน้ันก็เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นเจ้านายจะเป็นผู้ได้ทา ราชการมีช่ือเสียงดี ก็อาศัยสติปัญญา ความรู้ และความเพียรของตัว เพราะฉะนั้นจง อุตสาหะเล่าเรียนโดยความเพียรอย่างยิ่ง เพื่อจะได้มีโอกาสท่ีจะทาการให้คุณแก บ้านเมืองของตัว และโลกท่ีตัวได้เกิดมา ถ้าจะถือว่าเกิดมาเป็นเจ้านายแล้วน่ิงอยู่สบาย ตลอดชีวิต ดังนน้ั จะไม่ผิดอนั ใดกับสัตวด์ ริ ัจฉานอยา่ งเลวนัก สัตว์เดรจั ฉานมักเกิดมากินๆ นอนๆ แล้วก็ตาย แต่สัตว์บางอย่างยังมีหนังมีเค้ามีกระดูกเป็นประโยชน์ได้บ้างแต่ถ้าคน ประพฤติอย่างสัตวด์ ริ จั ฉานแล้วจะไมม่ ีประโยชนอ์ นั ใดยิ่งกว่าสัตว์ิดิรัจฉานบางพวกไปอีก เพราะฉะนัน้ จงอตุ สาหะท่ีจะเรียนวิชาเข้ามาเป็นกาลังท่ีจะทาตัวให้ดีกว่าสัตว์ดิรัฐฉานให้ จงได้ จงึ จะนับว่าเปน็ การได้สนองคุณพ่อฉันไดค้ ิดทานบุ ารุงเพ่ือจะให้ดตี ้งั แตเ่ กิดมา คาพอ่ สอนลกู

๓๒ ๔.อย่าไดถ้ อื ตัวว่าตัวเปน็ ลูกเจ้าแผน่ ดนิ พ่อมีอานาจยิ่งใหญ่อยู่ในบ้านเมืองถึง จะเกะกะไม่กลัวเกรงคุงเหงผู้ใดเขาก็คงจะมีความเกรงใจพ่อ ไม่ต่อสู้หรือไม่อาจฟ้องร้อง ว่ากล่าว การซ่ึงเช่ือใจดังน้ันเป็นการผิดแท้ทีเดียวเพราะความปรารถนาของพ่อไม่ อยากจะใหล้ กู มีอานาจท่ีจะแกะกะอย่างน้ันเลย เพราะรู้เป็นแน่ว่าเมื่อรักลูกเกินไปปล่อย ให้ไม่กลัวใครและประพฤติการช่ัวเช่นนั้น คงจะเป็นโทษแก่ลูกนั่นเองท้ังในปัจจุบันและ อนาคตเพราะฉะน้ันจึงรู้เถิดว่า ถ้าได้ทาความผิดเม่ือใดจะได้รับโทษทันที การท่ีมีพ่อเป็น เจ้าแผ่นดินน้ันจะไม่เป็นการช่วยเหลืออุดหนุนแก้ไขอันใดได้ เลยอีกประการหนึ่ง ชีวิต สังขารของมนุษย์ไม่ย่ังยืนยืดยาวเหมือนเหล็กเหมือนศิลา ถึงโดยว่าจะมีพ่ออยู่ใน ขณะหน่ึงก็คงจะมีเวลาท่ีไม่ได้มีขณะหน่ึงเป็นแน่แท้ถ้าประพฤติความช่ัวเสียแต่ในเวลามี พ่ออยู่แล้วโดยจะปิดบังซ่อนเร้นอยู่ได้ด้วยอย่างหนึ่งอย่างใด เวลาไม่มีพ่อความช่ัวนั้นคง จะปรากฏเป็นโทษติดตัวเหมือนเงาตามหลังอยู่ไม่ขาด เพราะฉะนั้น จงเป็นคนออมน้อม ว่าง่ายสอนง่าย จงประพฤติตัวหันมาทางที่ชอบที่ถูกอยู่เสมอ จงละเว้นเวลาท่ีช่ัวซึ่งรู้ได้ เองแกต่ วั หรอื มผี ูต้ ักเตือนแนะนาให้รูแ้ ล้ว อย่าให้ลว่ งให้เปน็ ไปไดเ้ ลยเปน็ อนั ขาด ๕. เงินทองทีจ่ ะใช้สอยในคา่ กินอยู่ นุ่งหม่ หรือใชส้ อยเป็นสิทธิท์ ง้ั ปวงจงใช้จ่าย เพียงพอท่ีอนุญาตให้ใช้ อย่าทาใจโตมือสุรุ่ยสุร่ายโดยถือว่าตัวเป็นเจ้านายม่ังมีมาก หรือ ถอื วา่ พอ่ เป็นเจา้ แผ่นดินมเี งินทองถมไปขอบอกเสียให้รู้จกั แตต่ ้นไม่ว่าถ้าผู้ใดไปเป็นหนี้มา จะไม่ยอมใช้หนี้ให้เลย หรือถ้าเป็นการจาเป็นต้องใช้จะไม่ใช้เปล่าโดยไม่มีโทษแก่ตัวเลย พงึ รเู้ ถิดวา่ ตอ้ งใชห้ นเ้ี มอื่ ใดก็จะต้องรับโทษเม่ือน้ันพร้อมกัน อย่าเช่ือถ้อยคาผู้ใดหรืออย่า หมายใจว่าโดยจะใชส้ รุ ยุ่ สุร่ายไปเหมือนอย่างเช่นคนเค้าไปแต่ก่อน แต่พ่อเค้าเป็นขุนนาง เคา้ ยงั ใช้กันได้ไมว่ ่าอะไรกัน ถ้าคิดดังนั้นคาดดังนั้นเป็นผิดแท้ทีเดียว พ่อรักลูกจริง แต่ไม่ รักลกู อย่างชนิดน้นั เลยเพราะรู้เป็นแนว่ ่าถ้าจะรักอย่างนนั้ ตามใจอยา่ งน้ัน จะไม่เป็นการมี คุณอันใดแก่ตวั ลกู ผู้ได้รบั ความรักนนั้ เลย เพราะจะเปน็ ผไู้ มไ่ ด้วิชาที่ปรารถนาจะให้ได้ จะ ไปไดใ้ จวชิ าทจ่ี ะทาให้เสยี ชอื่ เสยี งและได้รับความเดือดร้อนอยู่เป็นนิจ จึงนึกไว้ให้เสมอว่า เงินทองท่ีแลเห็นมากๆไม่ได้เป็นของหามาได้โดยง่าย เหมือนเวลาที่จับจ่ายไปง่ายนั้นเลย เงินที่ส่วนตัวได้รับเบี้ยหวัดหรือเงินกลางปีอยู่เสมอก็ด้วยอาศัยเป็นพ่อ ส่วนเงินที่พ่อได้ หรือลูกได้เพราะพ่อน้ันก็เพราะอาศัยท่ีพ่อเป็นผู้ทานุบารุงรักษาบ้านเมือง เพ่ือจะให้เป็น กาลังท่ีจะหาความสุขคุ้มกับค่าท่ีเหน็ดเหน่ือยท่ีต้องรับการในตาแหน่งอันสูงหรือเป็น ผู้รักษาความสุขของเค้าท้ังปวง เงินนั้นไม่ควรจะนามาใช้จ่ายในการท่ีไม่เป็นประโยชน์ใน เรือ่ งท่ีไมเ่ ป็นเรอ่ื ง และไม่มคี ณุ กลับให้โทษแก่ตวั ซงึ่ จะเป็นการมีคุณประโยชน์แก่ตนและ ผู้อื่นในทางชอบธรรมซึ่งจะเอาหน้ีให้แก่ลูกพูดทาความช่ัวจนเสียซับไปน้ันสมควรอยู่หรือ เพราะฉะน้ัน จึงต้องถามว่าไม่ยอมท่ีจะใช้หนี้ให้ โดยว่าจะต้องใช้ให้ก็จะต้องมีโทษเป็น ประกันม่ันใจว่าจะไม่ต้องใช้อีก เพราะจะคิดรับในโทษท่ีทานั้น จึงจะยอมใช้ให้ได้ใช้ให้ เพราะจะไม่ให้ทรัพย์ผู้อื่นสูญเสียเท่าน้ัน ใช่จะใช้ให้ด้วยความรักใคร่ ไม่ได้ให้บุตรว่ามี ความยินดีต่อความประพฤติของบทนั้นเลย เพราะฉะนั้นจงจาไว้ต้ังใจอยู่ให้เสมอว่าตัว เปน็ คนจนมเี งนิ ใชเ้ ฉพาะแต่ท่รี กั ษาความสุขของตัวพอสมควรเทา่ นั้น คาพอ่ สอนลกู

๓๓ ๖.วิชาที่จะออกไปเรียนนั้น ก็คงต้องเรียนภาษาและหนังสือในสามภาษา คือ อังกฤษ ฝร่ังเศส เยอรมัน ให้ได้แม่นยาชัดเจนคล่องแคล่วจนถึงแต่งหนังสือได้สองภาษา เปน็ อยา่ งนอ้ ยเป็น วิชาหนังสอื อยา่ งหนง่ึ กับวชิ าเลขใหเ้ รยี นรคู้ ิดใชไ้ ด้ในการต่างๆอีกอย่าง นี้ เป็นต้น วิชาสองอย่างที่จาเป็นจะต้องเรียนให้รู้ให้ได้จริงๆเป็นช้ันต้นในวิชาอ่ืนๆ ที่จะ เรียนต่อไปให้เป็นวิชาชานาญพิเศษในกิจการข้างวิชาน้ันจะตัดสินไปแน่นอนว่าให้เรียนส่ิง ใดในเวลานี้ก็ยังไม่ควรจะต้องไว้เป็นคาส่ังต่อภายหลังเม่ือรู้วิชาช้ันต้นพอสมควรแล้วแต่ บัดน้ีจะคอยตักเตือนอย่างนึงก่อนว่าซึ่งให้ออกไปเรียนภาษาวิชาการในประเทศยุโรปนั้น ใช่ว่าจะต้องการเอามาใช้แต่เฉพาะภาษาฝร่ังอย่างเดียว ภาษาไทยและหนังสือไทยซึ่งเป็น ภาษาของตัวหนังสือของตัว คงจะต้องใช้อยู่เป็นนิจ จงเข้าใจว่าภาษาต่างประเทศนั้นเป็น แต่พื้นของความรู้ เพราะวิชาความรู้ในหนังสือไทยท่ีมีผู้แต่งไว้นั้นเป็นแต่ของเก่าๆ มีน้อย เพราะไม่ได้สมาคมกับชาติอ่ืนมาช้านานเหมือนวิชาการในประเทศยุโรปท่ีได้สอบสวนซึ่ง กันและกันเจริญรุ่งเรืองมากแล้วน้ัน ฝ่ายหนังสือไทยจึงไม่พอท่ีจะเล่าเรียนจึงต้องไปเรียน ภาษาอน่ื เพอ่ื จะไดเ้ รยี นวิชาใหก้ วา้ งขวางออกแลว้ นากลับมาใช้ให้เปน็ ๗. จงรวู้ ่าการเล่าเรียนของลูกทั้งปวงนั้น พ่อได้มีความวางใจมอบธุระสิทธิ์ขาด แกก่ รมหมนื่ เป็นธุระทุกส่ิงทกุ อยา่ งอยใู่ นกรุงเทพ เม่ือมีธุระขัดข้องประการใดให้มีหนังสือ มาถงึ กรมหมืน่ ก็จะรตู้ ลอดไดถ้ งึ พ่อแลว้ นัน้ คงจะเอาธุระทานุบารุงทุกส่ิงทุกอย่างให้สาเร็จ ตลอดไปได้ ส่วนท่ีในประเทศยุโรปนั้นถ้าไปอยู่ในประเทศใดท่ีมีราชทูตของเราอยู่ ราชทูต คงจะเอาเป็นธุระดูแลทุกสิ่งทุกอย่างเม่ือมีการขัดข้องลาบากประการใดจงช้ีแจงความให้ ทา่ นราชทตู ทราบ คงจะจัดการได้ตลอดไปเมื่อไปอยู่ในโรงเรียนแห่งใด จงประพฤติการให้ เรียบร้อยตามแบบอย่างซึ่งเขาต้ังลงไว้จงอุตสาหะพากเพียรเรียนวิชาให้รู้มาได้ช่วยกาลัง พอ่ เป็นทช่ี นื่ ชมยนิ ดสี มกบั ทม่ี คี วามรักน้ันเถิด คาพอ่ สอนลกู

๓๔ คำอธิบำยศัพท์และควำมหมำย คาศพั ท์ ความหมาย เงนิ กลางปี เบ้ียหวัดท่จี ่ายกลางปี เงินพระคลงั ขา้ งที่ เงินแผ่นดนิ สว่ นทีถ่ วาย ตง้ั ลงไว้ พระมหากษัตริย์เพื่อทรงใช้ในพระ เบยี้ หวดั ราชกรณตี า่ งๆ เลอื กฟนั้ กาหนดไว้ เลว ฟุ้งซา่ น เงนิ ทพ่ี ระมหากษัตริยพ์ ระราชทาน เปน็ รายปี เลือกเฟน้ ต่าศักดิ์ ในที่นี้หมายความวา่ ฟ้งุ ซ่านเกินไป คาพ่อสอนลกู

๓๕ ชวนคิดพนิ จิ คณุ คำ่ วิเครำะห์เนอ้ื หำ ๑.เพราะเหตใุ ดพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าอยู่หัวทรงจึงส่งั สอนพระเจ้าลกู ยาเธอขณะ ทรงศึกษาวิชาการในยโุ รปดงั ตอ่ ไปนี้ ๑.๑ อย่าให้ไว้ยศว่าเป็นเจ้า ให้ถือเอาบรรดาศักดิ์เสมอลูกผู้มีตระกูลในกรุง สยาม คืออย่าใหใ้ ชอ้ ิสรอแยลไฮเนสปรน้ิ ซน์ าหน้าชอื่ ใหใ้ ชแ้ ตช่ ่ือเดิมของตัวเฉยๆ ๑.๒ เงินท่ีจะใช้สอยในการเล่าเรียนกินอยู่นุ่งห่มทั้งปวงน้ัน จะใช้เงินพระคลัง ขา้ งท่ี คอื เงนิ ท่ีเปน็ ส่วนสทิ ธขิ์ าดแก่ตวั พอ่ เอง ไมใ่ ชเ้ งนิ ท่ีสาหรบั จ่ายราชการแผน่ ดนิ ๑.๓ ขอบังคับว่าให้เขียนหนังสือถึงพ่อทุกคน อย่างเดือนละฉบับเม่ือเวลายัง เขียนอังกฤษไม่ได้ ก็ให้เขียนมาเป็นหนังสือไทย ถ้าเขียนอังกฤษหรือภาษาหนึ่งภาษาใดได้ ให้เขียนภาษาอน่ื น้ันมาฉบับหนึ่ง ให้เขียนคาแปลเป็นภาษาไทยอีกฉบับหน่ึง ติดกันมาอย่า ใหข้ าด ๒.สาระสาคญั ในวรรณคดีคาพ่อสอนลูก สะท้อนใหเ้ ห็นวา่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ ัว ทรงสง่ั สอนพระราชโอรสใหบ้ าเพ็ญตนเปน็ ประโยชนแื ก่บา้ นเมอื งอย่างไรบ้าง ๓.สรุปสาระสาคัญในพระบรมราโชวาทแต่ละข้อ แล้วเรียบเรียงเป็นถ้อยคาสานวนของ นกั เรียน คาพอ่ สอนลกู

๓๖ พิจารณาภาษาการประพนั ธ์ ๑.ยกตัวอย่าง กลมุ่ คา หรอื ประโยคในวรรณคดีเรื่องคาพ่อสอนลูกที่ใช้ตา่ งกับปัจจุบัน และ อธิบายว่าตา่ งอย่างไร ๒.ข้อความใดบา้ งทมี่ ีความหมายลกึ ซึ้งกนิ ใจและกระทบใจผู้อา่ น ยกตัวอยา่ งและบอกเหตุผล ประกอบ เลือกสรรนาไปใช้ สาระสาคัญในวรรณคดีคาพ่อสอนลูกเร่อื งใดที่อาจนามาใช้กับนกั เรยี นหรือคนทว่ั ไปได้ ยกมา กล่าว ๒-๓ ขอ้ คาพอ่ สอนลูก

บทที่ ๔ บทพากยช์ ้างเอราวณั

๓๘ บทวเิ คราะห์ ช้างเอราวัณ เอราเป็นช่ือช้างทรงของพระอินทร์ เน่ืองจากเป็นสัตว์จากจินตนาการ ของกวีจึงมีลักษณะพิเศษต่างจากช้างโดยทั่วไป ในพระบรมราชาธิบายของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเร่ืองช้าง ทรงอธิบายว่าตามตานานของ โบราณไทย บอกเพียงว่าช้างเอราวัณมีกายสีขาวและมีเศียร ๓๓ เศียร แต่ใน วรรณคดีบางเร่ือง เช่น ไตรภูมิพระร่วง ตอนพรรณนาสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ และ รามเกียรติ์ตอนพระอินทร์เสด็จลงมาสร้างเมืองอยุธยามีบทพรรณนาสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ และรามเกียรติ์ตอนพระอินทร์สร้างเมืองเสด็จลงมาสร้างเมืองอยุธยามี บทพรรณนารายละเอียดของช้างเอราวัณไว้อย่างพิสดารว่า เศียรหน่ึงมี ๗ งา งา หนึ่งมี ๗ สระ สระหนึ่งมีกอบัว ๗ กอ กอบัวหน่ึงมีดอกบัว ๗ ดอก ดอกหน่ึงมีบัว ๗ กลีบ กลีบหนึง่ มีเทพธิดาร่ายรา ๗ องค์ แต่ละองค์มีบริวาร ๗ นาง ตัวเลขน้ีทา ให้มีผู้คิดตั้งโจทย์ให้เด็ก ๆ ลองคูณหาคาตอบ เช่น นับนางฟ้าได้สามล้านแปด แสนปดหมืน่ สองพนั ส่ีร้อยเจด็ สิบเจ็ดองค์ เป็นตน้ จานวนมหาศาลน้ีเป็นเพียงการ สมมตุ ใิ ห้เกิดจนิ ตภาพความอลังการของช้างเอราวณั ซึ่งเป็นเทพพาหนะ ตามคติไตรภูมิพระร่วง เอราวัณเป็นเทพบุตรชื่อไอยราวัณ เม่ือพระ อินทร์จะเสด็จที่ใด ไอยราวัณก็จะเนรมิตตนเป็นช้างเผือกใหญ่เพ่ือเป็นพาหนะ ของพระอินทร์ ในรามเกียรต์ิช้างเอราวัณปรากฏในตอนศึกอินทรชิต ซ่ึงบรรยาย เหตุการณ์ตอนที่อินทรชิต โอรสของทศกัณฐ์ยกทัพไปรบกับพระราม อินทรชิต แปลงเป็นพระอินทร์ แล้วให้เสนายักษ์ชื่อการุณราชแปลงกายเป็นช้างเอราวัณ บทละครเรอ่ื งรามเกยี รติพ์ ระราชนิพนธพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬา โลกมหาราชพรรณนาลักษณะของช้างเอราวัณว่ากายสูง ใหญ่ สขี าวดงั เงินและมีรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ดงั น้ี บทพากย์ช้างเอราวัณ

๓๙ สามสบิ สามเศยี รอลงการ์ เศยี รหนง่ึ เจ็ดงางามงอน งาหนง่ึ เจ็ดสระโกสมุ สระหนง่ึ มปี ทมุ เกสร เจด็ ก้านกอชอู รชร กอหนง่ึ บานสลอนเจด็ ผกา ดวงหนึ่งเจ็ดกลีบสุบงกช กลนิ่ รสซา่ นนาสา กลบี หนงึ่ มีเทพธดิ า เจด็ นางกลั ยายพุ าพาล แตล่ ะองค์ทรงโฉมอรชร ราฟอ้ นจาเรยี งเสียงหวาน นางหนึง่ ลว้ นมีบริวาร เจ็ดองคเ์ ยาวมาลย์วไิ ลวรรณ บทพรรณนานี้ให้ความสาคัญต่อเน้ือเรื่อง กล่าวคือ ความย่ิงใหญ่และ งดงามของช้างทรงและกระบวนทัพทาให้พระลักษณ์เข้าใจว่าพระอินทร์เสด็จมา ครั้นอินทรชิตส่ังให้บริวารอสูรท่ีแปลงกายเป็นเทวดาและนางฟ้าร่ายรา พระ ลักษณ์ก็เคล้มิ พระวรกายเสยี ทีอินทรชิต บทพากย์ชา้ งเอราวัณ

๔๐ บทละครเร่อื งรามเกียรต์ิ รามเป็นวรรณคดีไทยท่ีได้รับมาจากอินเดียเรื่องรามายณะ คนไทยนิยม วรรณคดเี ร่อื งรามเกียรตเิ์ ป็นเวลาช้านานแลว้ ดงั ปรากฏในตานาน นิทานพ้ืนบ้าน ชื่อ สถานท่ี งานจิตรกรรม ประติมากรรม และวรรณคดีสาหรับการแสดง เช่น บทละคร บทพากย์โขนและบทพากย์หนังใหญ่ แม้ต้นฉบับวรรณคดีส่วนใหญ่สูญหายไปแล้ว ต้ังแต่เสยี กรงุ ศรอี ยุธยา แตค่ นไทยก็ยงั จดจาเรื่องรามเกียรตไ์ิ ดส้ ืบตอ่ กนั มา ตอ่ มาในสมัยธนบุรีจึงเร่ิมมีการฟ้ืนฟูเร่ืองรามเกียรต์ิสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรต์ิไว้บางตอนเพื่อใช้แสดงละคร และเม่ือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ก็ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสานักรวบรวมเรื่องรามเกียรต์ิมา ฟ้ืนฟูใหม่เพ่ือใช้ในการแสดงละครสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ รามเกียรติ์สานวนน้ีเป็น บทละครทีม่ ีความยาวกว่า ๑๐๐ เลม่ สมดุ ไทย และมีเน้ือหาครบถว้ นสมบูรณ์ บทละครเรอ่ื งรามเกียรต์ิใช้สาหรับแสดงละครในซ่ึงเป็นละครท่ีผู้แสดงเป็น หญิงล้วนเน้นการร่ายราอันอ่อนช้อยงดงามและถูกแบบ ต่างกับละครนอกซ่ึงเป็น ละครชาวบ้าน ใช้ผู้ชายแสดง มีบทตลก บทบริภาษได้ และเรื่องที่แสดงเป็นเรื่อง จักรๆ วงศ์ๆ เร่ืองใดก็ได้ ส่วนละครในนั้นจากัดไว้เพียง ๓ เรื่อง ได้แก่ รามเกียรต์ิ อิเหนา และอุณรุท\" แด่เดิมละครในเป็นละครของพระมหากษัตริย์ แสดงอยู่ในเขต พระราชฐานเท่านั้น เพราะถือเป็นเคร่ืองราชูปโภคอย่างหนึ่งซ่ึงคนท่ัวไปจะทาเทียม มิได้ ต่อมาจึงมีการจัดแสดงได้ท่ัวไป แต่ก็ยังรักษาระเบียบแบบแผนของการแสดง ละครในไว้อย่างเคร่งครัดในรัชกาลต่อ ๆ มามีพระราชนิพนธ์รามเกียรต์อีกหลาย สานวน ได้แก่ บทละครรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย บทละครรามเกียรต์ิพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และบทละครรามเกียรด์ิพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวบท พากยห์ รอื คาพากยเ์ ร่อื งรามเกียรติ์

๔๑ บทพากยห์ รือคาพากยเ์ ร่ืองรามเกยี รติ์ การแสดงมโหรสพไทยซ่ึงนิยมกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา นอกจากละคร แล้วยังมหี นังใหญแ่ ละโขนหนังงใหญ่เป็นการแสดงท่ีใช้หนังสัตว์สลักเป็นรูปภาพ เชิดได้ท้ังหน้าจอแหละหลังจอ มีบทพากย์ประกอบการแสดงเจรจาและใช้ป่ี พาทย์กบั เกราะไม้ประกอบ สว่ นโขนมวี วิ ัฒนาการมาจากหนังใหญ่ โดยใช้ผแู้ สดง บทบาทแทนตัวหนัง เดิมผู้แสดงโขนสวมหัวปิดหน้าทั้งหมดจึงต้องมีผู้พูดแทน เรียกว่าผู้เจรจา ต่อมาผู้แสดงเป็นเทวดามนุษย์ชายหญิงสวมแต่เคร่ืองประดับ ศรี ษะ ไมป่ ดิ หนา้ ท้งั หมด แต่ก็ยังคงผู้เจรจาแบบเดิม ในสมัยอยุธยามีการนาเน้ือ เร่ืองจากรามเกียรติ์มาแต่งเป็นบทสาหรับการแสดงมหรสพประเภทหนังใหญ่ และโขนโดยเฉพาะ บทประพันธ์น้ันเรียกว่า บทพากย์ หรือที่โบราณเรียกว่า คา พากย์ ส่วนใหญ่แต่งเป็นกาพย์ ในการแสดงหนังใหญ่มีบทพากย์บรรยายเป็น หลักและมีตัวหนังเป็นส่วนประกอบ เท่าท่ีปรากฏต้นฉบับตกทอดมา บทพากย์ หนังใหญ่มีการดาเนินเร่ืองติดต่อกันยาว บทพากย์หนังใหญ่จึงเรียกว่า คาพากย์ ยาว ส่วนบทพากย์โขนซึ่งเรียกว่าคาพากย์สั้น มักดาเนินเรื่องเป็นตอน ๆ ไม่ ตอ่ เนอื่ ง ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระบท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์บางตอนข้ึน ได้ แห่ บทพากย์นางลอย บทพากย์นาคบาศ และบทพากย์ช้างเอราวัณ ท่ีนามาให้ นักเรียนศึกษาในหนังสือเรียนเล่มน้ีคือบทพากย์ช้างเอราวัณซึ่งเป็นพระราช นิพนธ์ในรชั กาลที่ ๒ บทพากย์ช้างเอราวณั

๔๒ บทละครเรอื่ งรามเกียรติ์ รามเป็นวรรณคดีไทยที่ได้รับมาจากอินเดียเร่ืองรามายณะ คนไทยนิยม วรรณคดีเร่ืองรามเกียรต์ิเป็นเวลาช้านานแล้ว ดังปรากฏในตานาน นิทานพื้นบ้าน ช่ือสถานที่ งานจิตรกรรม ประติมากรรม และวรรณคดีสาหรับการแสดง เช่น บท ละคร บทพากย์โขนและบทพากย์หนังใหญ่ แม้ต้นฉบับวรรณคดีส่วนใหญ่สูญ หายไปแล้วตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยา แต่คนไทยก็ยังจดจาเร่ืองรามเกียรติ์ได้สืบต่อ กนั มา ต่อมาในสมัยธนบุรีจึงเร่ิมมีการฟื้นฟูเร่ืองรามเกียรต์ิสมเด็จพระเจ้าตาก สินมหาราชทรงพระราชนิพนธ์เร่ืองรามเกียรต์ิไว้บางตอนเพื่อใช้แสดงละคร และ เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุง รัตนโกสินทร์ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมใหก้ วใี นราชสานักรวบรวม เรื่องรามเกียรติ์มาฟ้ืนฟูใหม่เพ่ือใช้ในการแสดงละครสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ รามเกียรติ์สานวนน้ีเป็นบทละครที่มีความยาวกว่า ๑๐๐ เล่ม สมุดไทย และมี เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ บทละครเร่ืองรามเกียรติ์ใช้สาหรับแสดงละครในซึ่งเป็นละครที่ผู้แสดง เป็นหญิงล้วนเน้นการร่ายราอันอ่อนช้อยงดงามและถูกแบบ ต่างกับละครนอกซึ่ง เป็นละครชาวบ้าน ใช้ผู้ชายแสดง มีบทตลก บทบริภาษได้ และเร่ืองท่ีแสดงเป็น เร่ืองจักรๆ วงศ์ๆ เรื่องใดก็ได้ ส่วนละครในนั้นจากัดไว้เพียง ๓ เรื่อง ได้แก่ รามเกียรติ์ อิเหนา และอุณรุท\" แด่เดิมละครในเป็นละครของพระมหากษัตริย์ แสดงอย่ใู นเขตพระราชฐานเท่าน้ัน เพราะถือเป็นเคร่ืองราชูปโภคอย่างหนึ่งซ่ึงคน ท่ัวไปจะทาเทียมมิได้ ต่อมาจึงมีการจัดแสดงได้ท่ัวไป แต่ก็ยังรักษาระเบียบแบบ แผนของการแสดงละครในไว้อย่างเคร่งครัดในรัชกาลต่อ ๆ มามีพระราชนิพนธ์ รามเกียรต์อีกหลายสานวน ได้แก่ บทละครรามเกียรต์ิพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บทละครรามเกียรต์ิพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และบทละครรามเกียรด์ิพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวบทพากยห์ รือคาพากยเ์ ร่ืองรามเกียรต์ิ บทพากย์ชา้ งเอราวณั

๔๓ บทพากยช์ ้างเอราวัณ อินทรชิตบิดเบอื นกายนิ เหมือนองคอ์ มรินทร์ ทรงคชเอราวณั ๏ ชา้ งนมิ ิตฤทธิแรงแขง็ ขัน เผอื กผ่องผวิ พรรณ สสี งั ข์สะอาดโอฬาร์ ๏ สามสิบสามเศียรโสภา เศยี รหน่งึ เจด็ งา ดง่ั เพชรรัตนร์ ูจี ๏ งาหนึง่ เจ็ดโบกขรณี สระหน่ึงย่อมมี เจ็ดกออุบลบนั ดาล ๏ กอหน่ึงเจด็ ดอกดวงมาลย์ ดอกหนง่ึ แบ่งบาน มกี ลบี ได้เจด็ กลีบผกา ๏ กลบี หน่งึ มเี ทพธดิ า เจ็ดองค์โสภา แน่งน้อยลาเพานงพาล อีกเจ็ดเยาวมาลย์ ๏ นางหน่ึงยอ่ มมบี รวิ าร ลว้ นรปู นริ มิตมายา ๏ จบั ระบาราร่ายส่ายหา ชาเลืองหางตา ทาทีดังเทพอปั สร ๏ มีวมิ านแก้วงามบวร ทกุ เกศกญุ ชร ดงั เวไชยนั ต์อมรนิ ทร์ มาถงึ สมรภมู ิชัย ฯ บทพากย์ชา้ งเอราวณั

๔๔ ซองหางกระวิน ผ้าทพิ ยป์ กตระพอง ๏ เคร่ืองประดบั เกา้ แกว้ โกมิน เปน็ เทพบตุ รควาญ สรอ้ ยสายชนกั ถกั ทอง เปลี่ยนแปลงกายคง ทพั หลงั สบุ รรณ ๏ ตาขา่ ยเพชรรตั น์รอ้ ยกรอง คนธรรพป์ ีกขวา ห้อยพู่ทกุ หูคชสาร โตมรศรชัย พอพระสุรยิ ศ์ รี ๏ โลทันสารถขี ุนมาร เฟ่อื งฟงุ้ วนา ขับท้ายทน่ี ั่งช้างทรง ร่อนราถาลง ไกข่ นั ปกี ตี ๏ บรรดาโยธาจตั ุรงค์ หาคเู่ คยี งประสาน เปน็ เทพไทเทวัญ สรา่ งแสงอโณทัย ธบิ ดนิ ทร์เธอบรรเทอื ง ๏ ทัพหน้าอารักขไพรสัณฑ์ กนิ นรนาคนาคา บทพากย์ชา้ งเอราวณั ๏ ปีกซา้ ยฤาษิตวทิ ยา ต้งั ตามตารับทพั ชัย ๏ ลว้ นถอื อาวุธเกรยี งไกร พระขรรคค์ ทาถว้ นตน ๏ เมื่อน้ันจึงพระจกั รี อรณุ เรอื งเมฆา ๏ ลมหวนอวลกล่นิ มาลา นวิ าสแถวแนวดง ๏ ผึ้งภูห่ มคู่ ณาเหมหงส์ แทรกไซใ้ นสรอ้ ยสุมาลี ๏ ดเุ หว่าเรา้ เรง่ พระสุรยิ ศ์ รี ก่กู อ้ งในท้องดงดาน ๏ ปักษาต่ืนตาขันขาน สาเนยี งเสนาะในไพร ๏ เดอื นดาวดับเศร้าแสงใส ก็ผ่านพยบั รองเรือง ๏ จบั ฟา้ อากาศแลเหลอื ง บรรทมฟ้นื จากไสยา

๔๕ ไพโรจน์รูจี เรงิ ร้องถวายชัย ๏ เสด็จทรงรถแกว้ โกสยี ์ กรกมุ พระขรรค์ จะแขง่ ซึ่งแสงสุริยใ์ ส กกึ ก้องกากง พดั โบกพัชนี ๏ เทยี มสนิ ธพอาชาไนย แตรสังข์เสยี ง ชันหรู ะเหดิ หฤหรรษ์ เลื่อนลั่นสน่นั ใน ๏ มาตลีสารถีเทวัญ อ่อนเอียงเพยี ง ขบั รถมากลางจัตุรงค์ เนอื้ นกตกใจ ๏ เพลารอยพลอยประดบั ดมุ วง หสั ดนิ อนิ ทรี กระทบกระทง่ั ธรณี ๏ มยรุ ฉัตรชุมสายพรายศรี กบ่รี ะบายโบกลม ๏ อึงอนิ ทเภรีตีระงม ประสม ประสานเสนาะในไพร ๏ เสียงพลโหร่ อ้ งเอาชยั พภิ พเพียงทาลาย ๏ สตั ภัณฑบ์ รรพตท้ังหลาย ปลาย ประนอมประนมชมชัย ๏ พสธุ าอากาศหวาดไหว ซกุ ซ่อนประหวน่ั ขวญั หนี ๏ ลกู ครุฑพลดั ตกฉิมพลี คาบชา้ งก็วางไอยรา บทพากยช์ ้างเอราวณั

๔๖ ๏ วานรสาแดงเดชา หักถอนพฤกษา ถอื ตา่ งอาวธุ ยุทธยง แหลกลู่ลม้ ลง ๏ ไม้ไหลย้ ูงยางกลางดง เทวญั จนั ทรี โปรยทพิ มาลยั ละเอยี ดดว้ ยฤทธิโยธี พมุ่ บุษปมาลา ๏ อากาศบดบังสุริยศ์ รี เรง่ รัดหัสดนิ เอื้อนอรรถวัจนา ทกุ ช้ันอานวยอวยชัย สมรภูมไิ พรสณฑ์ ๏ บา้ งเปดิ แกลแก้วแววไว ทกุ ทสี หสั นัยน์ บดั นีเ้ ธอมา ซอ้ งสาธุการบชู า ฤๅจะกลับเป็นกล ๏ ชกั รถร่ีเรือ่ ยเฉ่อื ยมา กงรถไม่จดธรณินทร์ ๏ เร่งพลโยธาพานรินทร์ วานรให้เร่งรีบมา ๏ เม่อื น้นั พระศรีอนชุ า ตรัสถามสุครีพขุนพล ๏ เหตไุ ฉนสหสั นยั น์เสดจ็ ดล เธอมาดว้ ยกลอันใด ๏ สุครพี ทลู ทัดเฉลยไข เสด็จด้วยหมเู่ ทวา ๏ อวยชัยถวายทพิ มาลา เหน็ วปิ ริตดฉู งน ๏ ทรงเครื่องศัสตราแย่งยล ไปเข้าดว้ ยราพณอ์ าธรรมม์ บทพากยช์ า้ งเอราวณั

๔๗ ๏ พระผู้เรอื งฤทธแิ ขง็ ขัน คอยดสู าคญั อยา่ ไว้พระทัยไพรี ตรสั สั่งเสนี เคลบิ เคลิม้ วรกาย ๏ เมอื่ นนั้ อนิ ทรชติ ยกั ษี วณั ทอดทศั นา ให้จับระบาราถวาย จงึ จับศรทรง หมายองคพ์ ระอนุชา ๏ ให้องค์อนุชานารายณ์ โลกลั่นองึ อล จะแผลงซ่ึงศสั ตรศรพล ตอ้ งองค์อนิ ทรีย์ ๏ อนิ ทรชิตสถิตเหนือเอรา เหน็ องค์พระลกั ษณ์ฤทธิรงค์ ๏ เคลบิ เคลมิ้ หฤทยั ใหลหลง พรหมาสตร์อนั เรืองเดชา ๏ ทูนเหนอื เศียรเกลา้ ยกั ษา ก็แผลงสาแดงฤทธริ ณ ๏ อากาศกอ้ งโกลาหล อานาจสะท้านธรณี ๏ ศรเตม็ ไปท่ัวราศี พระลักษณก์ ก็ ลิ้งกลางพล บทพากยช์ า้ งเอราวณั

๔๘ อธบิ ายคาศัพท์ กง ส่วนท่เี ป็นวงของรถ กบี่ ลิง โกมิน พลิยสแี ดงเข้ม กินนร อมนษุ ย์ที่มรี ปู รา่ งครงึ่ คนครงึ่ นก ถา้ เปน็ หญิงเรยี กกนิ นรี จบั ระบา เรม่ิ ฟ้อนรา ฉมิ พลี ตน้ ง้วิ ตามเรอื่ งไตรภมู ิ ทีเ่ ชงิ เขาพระสเุ มรมุ ปี า่ ตน้ ง้วิ อยู่ รอบสระ ฉิมพลหี รอื สมิ พลี เปน็ ที่อาศัยของฝงู ครฑุ ชนัก เคร่อื งผูกชา้ ง ทาด้วยเชอื กเปน็ ปมหรือหว่ งหอ้ ยพาดลง มาเพ่ือใหค้ น ทข่ี ค่ี อชา้ งใช้หัวแม่มอื แมเ่ ท้าคบี กันตก ชันหู อาการแสดงการเตรยี มความพรอ้ มของสตั ว์ ชุมสาย เครอื่ งสูงเปน็ รปู ฉัตรสามชน้ั มสี ายไหมหอ้ ย ดวงมาลย์ ดอกไม้ โตมร หอกดา้ มสัน้ ใช้พุ่งหรอื ซัดไป ถา ถลา โผลง เทพอัปสร นางฟา้ ธรณนิ ทร์ แผน่ ดนิ ธิบดนิ ทร์ พรระราชาผูย้ ่งิ ใหญ่ หมายถึงพระราม นาค สัตวใ์ นนิยาย มหี งอนเป็นงูใหญ่ บรรเทอื ง ประเทอื ง ทาให้ดีข้ึน บทพากยช์ า้ งเอราวณั

บดิ เบอื นกายนิ ๔๙ โบกขรณี ผกา แปลงกาย ผ้าทพิ ย์ สระบวั ดอกไม้ พระจักรี ผา้ ห้อยหน้าพระพทุ ธรปู หรอื ราชอาสนห์ รือพลับพลา ในทน่ี ้ี คอื ผา้ ตระพองช่างเพ่ือตกแต่งความสวยงาม พระลกั ษณ์ ผถู้ ือจกั ร คือพระนารายณ์ ในที่น้ีหมายถงึ พระรามผเู้ ป็นปาง พระสุริยศ์ รี หน่งึ ของพระนารายณ์ พัชนี พระอนชุ าตา่ งพระมารดาของพระราม พัดโบก พระอาทติ ย์ พัด พานรินทร์ เครอ่ื งสงู สาหรบั แสดงอิสรนิ ยศ เป็นพัดสาหรับโบกลมถวาย มาตลี พระมหากษตั ริยซ์ งึ่ ประทบั ณ ท่สี งู มารยา พญาวานร ในที่นี้คอื วานรกองทัพพระราม แย่งยล สารถขี องพระอนิ ทร์ รถแกว้ โกสีย์ การแสรง้ ทา รอย แยงยล ดงู าม ราพณ์ รถทรงพระอนิ ทร์ ราศี เปน็ ลวดลาย ฤทธริ งค์ ทศกณั ฑ์ ฤทธิรณ จักรราศี ลอยฟา้ มีความสามารถในการสรู้ บ โลทัน มีความสามารถในการสรู้ บ วิทยา เหาะ เวไชยันต์ สารถีของอินทรชติ วทิ ยาธร วมิ านหรอื รถของพระอินทร์ บทพากยช์ า้ งเอราวณั

๕๐ สมรภูมชิ ัย สนามรบ สร้อยสมุ าลี ดอกไม้ สหัสนัยน์ พระอินทร์ ผมู้ พี ันตา สตั ภณั ฑ์ ช่ือภูเขาทัง้ ๗ ทล่ี ้อมรอบเขาพระสเุ มรุ สบุ รรณ ครุฑ ไสยา การนอน ทีน่ อน หัสดนิ อินทรี นกหสั ดี เป็นสตั วใ์ นวรรณคดีโบราณ ตวั ใหญ่ มกี าลังเท่าชา้ ง ๕ เชือก มกี รงเลบ็ ใหญ่ มงี วง กนิ เน้อื คนและสตั ว์เป็นอาหาร อยู่ บรเิ วณปา่ หิมพานต์ เหมหงส์ หงส์ทอง อรรณุ เวลาใกล้ร่งุ อารักขไพรสัณฑ์ เทวดาท่ีดแู ลป่า อินทเภรี กลองที่ใช้ตเี ป็นสัญญาณในกองทัพเวลาออกศกึ ในสมัย โบราณ บทพากย์ช้างเอราวัณ

๕๑ ชวนพนิ ิจคดิ คุณคา่ ๑. เหตุใดอินทรชิตจึงต้องแปลงกายเป็นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณเพื่อลวง พระรามท้ัง ๆ ทอ่ี ินทรชิตก็มฝี มี อื ในการรบ ๒. พระลักษณเ์ สียทีอนิ ทรชติ เพราะความหลง ให้นักเรียนยกตัวอย่างเก่ียวกับ ความลุ่มหลงที่อาจทาให้ชีวิตผิดพลาดได้ และระบุจะระมัดระวังไม่ให้เกิด ข้ึนกับนักเรยี นไดอ้ ยา่ งไร ๓. ยกคาประพันธ์ตอนท่ีนักเรียนคิดว่าแสดงความย่ิงใหญ่ที่สุดของช้าง เอราวัณ ๔. ยกตัวอย่างคาประพันธ์ที่คิดว่ามีความไพเราะมากที่สุด พร้อมท้ังชี้ให้เห็น วา่ เพราะอยา่ งไร ๕. สรุปขอ้ คิดและคตเิ ตอื นใจทไ่ี ดร้ ับจากเรอ่ื งบทพากยช์ า้ งเอราวัณ บทพากยช์ ้างเอราวณั

๕๒ บทพากยช์ ้างเอราวัณบทนีป้ รากฏการใชล้ กั ษณะของ ภาษาเป็นอย่างไร และจงอธิบายคุณคา่ ของการอา่ น บทประพันธ์นี้ • สามสิบสามเศยี รโสภา เศยี รหนง่ึ เจ็ดงา ดงั่ เพชรรตั น์รจู ี • ๏ งาหนงึ่ เจ็ดโบกขรณี สระหน่ึงย่อมมี เจ็ดกออุบลบันดาล • ๏ กอหนงึ่ เจด็ ดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน มีกลบี ไดเ้ จ็ดกลบี ผกา • ๏ กลีบหน่ึงมเี ทพธิดา เจ็ดองค์โสภา แนง่ น้อยลาเพานงพาล • ๏ นางหน่งึ ย่อมมบี รวิ าร อกี เจ็ดเยาวมาลย์ ล้วนรปู นริ มติ มายา • ๏ จับระบาราร่ายสา่ ยหา ชาเลืองหางตา ทาทดี งั เทพอปั สร • ๏ มีวิมานแกว้ งามบวร ทกุ เกศกญุ ชร ดงั เวไชยันตอ์ มรินทร์ บทพากยช์ า้ งเอราวณั

อินทรชติ บดิ เบือนกายิน เหมือนองค์อมรินทร์ ทรงคชเอราวัณ ช้างนมิ ิตฤทธแิ รงแข็งขนั เผือกผ่องผิวพรรณ สสี ังข์สะอาดโอฬาร์ สามสิบสามเศยี รโสภา เศียรหน่ึงเจด็ งา ดั่งเพชรรตั นร์ จู ี งาหนึง่ เจด็ โบกขรณี สระหนง่ึ ย่อมมี เจด็ กออุบลบันดาล กอหนึง่ เจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึง่ แบ่งบาน มกี ลบี ไดเ้ จด็ กลบี ผกา กลีบหนงึ่ มีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา แนง่ น้อยลาเพานงพาล นางหนง่ึ ย่อมมบี ริวาร อกี เจด็ เยาวมาลย์ ล้วนรปู นริ มิตมายา จับระบาราร่ายส่ายหา ชาเลืองหางตา ทาทดี ังเทพอัปสร มีวิมานแกว้ งามบวร ทุกเกศกุญชร ดงั เวไชยันตอ์ มรินทร์ (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั )