จำนวนประชากรจ งหว ดส ราษฎร ธาน ท ม อาย 26-40 ป

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนษุ ยจ์ ังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

คำนำ

สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี (สนง.พมจ.สฎ) เป็น รำชกำรบริหำรส่วนภูมิภำคของกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ มีภำรกิจในกำรจัดทำ นโยบำยและยุทธศำสตรก์ ำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทงั้ รำยงำนสถำนกำรณ์ ทำงสังคมของจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลำงข้อมูลทำงสังคมของจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี และสำมำรถชี้ประเด็นเฝ้ำ ระวังปัญหำทำงสังคมที่อำจจะเกิดข้ึน ในอนำคตได้ ตลอดจนให้จังหวัดและท้องถ่ินสำมำรถนำข้อมูลวำงแผน แก้ไขปญั หำทำงสังคมไดอ้ ยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ

“รำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ปี 2563” ฉบับน้ี เป็นกำรรวบรวม ข้อมูลทุติยภูมิจำกหน่วยงำนในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนีอนุเครำะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของ จังหวัด ส่วนท่ี 2 สถำนกำรณ์ทำงสังคมของจังหวัด และส่วนท่ี 4 สถำนกำรณ์ทำงสังคมเชิงประเด็น และส่วนที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ เพ่ือให้เห็นควำมเปล่ียนแปลงทำงสังคมและประเดน็ ปญั หำท่ีเกิดข้ึนในระดบั พ้ืนที่ มี วตั ถุประสงค์เพ่ีอรำยงำนข้อมูลให้หน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้องได้รับทรำบเกิดควำมตระหนักต่อสถำนกำรณ์ทำงสังคม และร่วมกนั วำงแผนขับเคลื่อนงำนเพื่อนำไปสู่กำรแกไ้ ขปญั หำสังคม

สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรำษฎร์ธำนีหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ รำยงำน ฯ ฉบบั นี้ จะเป็นประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงำนและประชำชนทส่ี นใจ นำไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด

สำนกั งำนพัฒนำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดสุรำษฎรธ์ ำนี 20 สิงหำคม 2563

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นของมนุษยจ์ งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

คณะท่ีปรึกษำ

1. นำยสุชำติ แสงพรม พฒั นำสงั คมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั สรุ ำษฎร์ธำนี คณะผู้จัดทำ

1. นำงสำอำง โชคชัยวฒั นำ หวั หนำ้ กลมุ่ นโยบำยและวชิ ำกำร 2. นำงสำงจริ ัชยำ ศุทธำรกรู นกั พฒั นำสงั คมชำนำญกำร 3. นำงสำววลำลักษณ์ ตนั้ ซ้ำย นักพฒั นำสงั คมปฏิบตั ิกำร 4. นำยต่อศักดิ์ นำคแสงจันทร์ นกั พฒั นำสังคม 5. นำงสำวนภิ ำพร จติ มงั นกั พฒั นำสงั คม 6. นำงสำวจิรำรตั น์ ทวดสง เจ้ำหนำ้ ท่รี ะบบงำนคอมพวิ เตอร์

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันของมนษุ ย์จังหวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

สำรบัญ หนำ้ 1 คำนำ 1 1 สำรบญั 1 2 สำรบัญตำรำง 3 สำรบญั แผนภำพ 6

บทสรปุ ผบู้ ริหำร 11 25 บทที่ 1 บทนำ 32

1. หลักกำรและเหตผุ ลกำรจัดทำรำยงำน 33 2. คำนยิ ำม 35 3. วตั ถปุ ระสงคก์ ำรเก็บข้อมูล 36 4. สถำนกำรณท์ ำงสงั คม 5. กำรเปล่ียนแปลงภำพรวมของสถำนกำรณ์ทำงสังคมทสี่ ำคญั ของจังหวดั

บทท่ี 2 ข้อมูลทวั่ ไปของจงั หวัด

1. ข้อมลู ทำงกำยภำพของจังหวัด 2. ข้อมูลประชำกรของจงั หวดั

บทที่ 3 สถำนกำรณท์ ำงสงั คมของจังหวดั

1. สถำนกำรณ์เชงิ กลมุ่ เปำ้ หมำย 2. สถำนกำรณ์ทำงสงั คมเชงิ ประเด็น 3. สถำนกำรณ์ทำงสงั คมทนี่ ำ่ ห่วงใยของจงั หวัด

บทที่ 4 บทสรปุ /ข้อเสนอแนะ

1. สรุปสถำนกำรณส์ ำคญั ของจงั หวดั 2. ข้อเสนอแนะ

บรรณำนุกรม

สานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ ของมนุษย์จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

สำรบัญตำรำง

หน้ำ

1. ตำรำงแสดงอำเภอ พ้นื ท่ี ตำบล หมบู่ ้ำน 4

2. ตำรำงแสดงประชำกร 6

3. ตำรำงแสดงสดั สว่ นอำยุประชำกร 6

4. ตำรำงเครอ่ื งชีเ้ ศรษฐกิจดำ้ นอุปทำน 9

5. ตำรำงแสดงผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด 9

6. ตำรำงเครอ่ื งชเ้ี ศรษฐกิจด้ำนอุปสงค์ 9

7. ตำรำงเครอ่ื งชี้ด้ำนรำยได้เกษตรและด้ำนกำรเงิน 10

8. ตำรำงเครือ่ งเสถยี รภำพทำงกำรเงิน 10

9. ตำรำงประชำกรเด็ก 11

10. ตำรำงจำนวนนักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษำ/มัธยมศึกษำ 12

11. ตำรำงจำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษำ/มัธยมศกึ ษำท่ีออกกลำงคัน 12

12. ตำรำงจำนวนเด็กท่อี ยู่ในดแู ลของสถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชนจังหวดั สุรำษฎร์ธำนี

13

13. ตำรำงเดก็ ทถ่ี กู กระทำควำมรนุ แรงในครอบครัว/ทำรณุ กรรมทำงร่ำงกำย จติ ใจ เพศ ท่ีมีกำรแจง้ เหตุ

14

14. ตำรำงแมเ่ ดก็ ทตี่ ้ังครรภก์ อ่ นวัยอันควร (แมว่ ยั รนุ่ ) 14

15. ตำรำงแสดงจำนวนแมเ่ ดก็ ขอลงทะเบียนขอรับสทิ ธิเงนิ อดุ หนุนเพ่อื กำรเลีย้ งดเู ดก็ แรกเกดิ

14

16. ตำรำงแสดงจำนวนประชำกรผสู้ ูงอำยุ 15

17. ตำรำงแสดงจำนวนสถำนผสู้ งู อำยุในพืน้ ที่ 17

18. ตำรำงแสดงจำนวนผู้สงู อำยุทีไ่ ด้รบั เบีย้ ยงั ชีพ 18

19. ตำรำงแสดงจำนวนคนพกิ ำรรบั เงินทุนก้ยู ืมเพื่อกำรประกอบอำชพี 21

20. ตำรำงสถำนกำรณ์ครัวเรือนท่มี จี ดทะเบยี นทะเบยี นสมรส/กำรหย่ำ 22

21. ตำรำงครอบครวั ทม่ี กี ำรกระทำควำมรนุ แรงต่อกนั 22

22. ตำรำงแสดงดชั นคี วำมเข้มแข็งของครอบครวั 23

23. ตำรำงแสดงกำรใหค้ วำมช่วยเหลือคนไรท้ ี่พ่งึ รับตัวเขำ้ รบั กำรสงเครำะห์ 24

24. ตำรำงแสดงกำรให้กำรชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหำทำงสังคม 24

สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนษุ ย์จังหวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

สำรบัญตำรำง (ต่อ)

หน้ำ

25. ตำรำงแสดงจำนวนผูค้ มุ้ ครองช่วยเหลอื กำรคำ้ มนษุ ย์ 25

26. ตำรำงแสดงสถิติกำรได้รับแจ้งและดำเนินกำรคุ้มครองช่วยเหลือผู้ตกเป็นเหยื่อกำรค้ำมนุษย์และกลุ่ม

เสี่ยงประจำปงี บประมำณ 2562 27

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั ของมนษุ ยจ์ ังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

สำรบัญแผนภำพ (ตอ่ )

หน้ำ

1. แผนภูมิเปรียบคำ่ ดชั นแี ตล่ ะมติ ิ ปี 2560 - 2562 และค่ำดัชนีปี 2559 2

2. แผนภำพแสดงสัดส่วนของประชำกร 6

3. แผนภำพแสดงจำนวนประชำกรระดบั อำเภอ 7

4. แผนภำพแสดงอตั รำควำมหนำน่ำของประชำกรในพน้ื ทอ่ี ำเภอ 7

5. แผนภูมแิ สดงกำรเพมิ่ ข้นึ ของประชำกร 7

6. แผนภูมิแสดงรอ้ ยละกำรเพิ่มขนึ้ ของประชำกร 7

7. แผนภูมิอัตรำพ่ึงพงิ 8

8. แผนภมู ดิ ัชนีกำรสูงวยั 8

9. แผนภูมจิ ำนวนประชำกรเด็กท่ีเพิ่มข้นึ 11

10. แผนภำพแสดงจำนวนประชำกรเดก็ ต่อพื้นทีอำเภอ 11

11. แผนภำพสดั สว่ นร้อยละประชำกรเดก็ ตอ่ ประชำกรรวมในระดบั พนื้ ที่ 11

12. แผนภำพแสดงจำนวนนักเรียนระดบั ประถมศกึ ษำ/มธั ยมศกึ ษำ 11

13. แผนภำพแสดงจำนวนนกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษำ/มธั ยมศกึ ษำ ทอี่ อกกลำงคัน 11

14. แผนภำพแสดงจำนวนคดีอำญำท่ีเดก็ เป็นผกู้ ระทำ/ถูกกระทำ 12

15. แผนภำพแสดงจำนวนแม่เด็กตั้งครรภก์ อ่ นวยั อนั ควรระดับอำเภอ 14

16. แผนภำพแสดงจำนวนประชำกรผูส้ ูงอำยุ ระดับพ้นื ทอ่ี ำเภอ 15

17. แผนภำพแสดงจำนวนร้อยละประชำกรผู้สงู อำยุในพื้นทีร่ ะดบั อำเภอ 15

18. แผนภมู แิ สดงจำนวนประชำกรผู้สงู อำยุ 16

19. แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละประชำกรผสู้ ูงอำยุ 16

20. แผนภำพแสดงสถำนกำรณผ์ ูส้ งู อำยุในพ้ืนทีร่ ะดบั อำเภอ 17

21. แผนภำพแสดงผู้สูงอำยไุ ด้รับเบยี้ ยงั ชีพ ระดับอำเภอ 18

22. แผนภูมิแสดงสัดส่วนคนพิกำรตำมชว่ งอำยุ 19

23. แผนภูมิแสดงคนพกิ ำรตำมประเภทควำมพกิ ำร 19

24. แผนภมู ิแสดงคนพกิ ำรคนพิกำรท่เี พิ่มข้นึ 20

25. แผนภูมิแสดงร้อยสดั ส่วนคนพิกำรท่ีเพ่ิมข้ึน 20

26. แผนภำพแสดงจำนวนคนพิกำรในระดับอำเภอ 21

27. แผนภำพแสดงจำนวนขอ้ มลู ครัวเรอื นในจงั หวดั สุรำษฎร์ธำนี 22

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันของมนษุ ย์จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

สำรบัญแผนภำพ (ต่อ)

หน้ำ

28. แผนภมู แิ สดงคำ่ เฉลี่ยดชั นีทผี่ ำ่ นเกณฑ์มำตรฐำนครอบครวั เขม้ แขง็ ปี 2561 23 29. แผนภูมแิ สดงค่ำเฉล่ยี ดชั นที ีผ่ ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนครอบครวั เขม้ แข็งปี 2562 23 30. แผนภูมิแสดงจำนวนคดีควำมผิดฐำนคำ้ มนุษย์ของจังหวดั สุรำษฎร์ธำนี 26 31. แผนภมู แิ สดงจำนวนผเู้ สียหำยกำรค้ำมนุษย์ของจงั หวัดสรุ ำษฎรธ์ ำนี 26 32. แผนภมู แิ สดงสถติ กิ ำรคุม้ ครองช่วยเหลอื ผเู้ สียหำยจำกกำรค้ำมนุษย์ 28 33. แผนภูมิภำพแสดงจำนวนครัวเรือนได้ผลกระทบจำกกำรแพรร่ ะบำดของ 31

โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนำ (COVID –19) 31 34. แผนภมู ิภำพแสดงครัวเรอื นจำนวนไดร้ ับกำรชว่ ยเหลือได้ผลกระทบจำกกำร 32 แพร่ระบำดของ 31 โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนำ (COVID –19) 35. แผนภำพกำรดำเนนิ กำรชว่ ยเหลอื ผรู้ บั ผลกระทบได้ผลกระทบจำกกำร

แพรร่ ะบำดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนำ (COVID –19)

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั ของมนษุ ย์จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

บทสรปุ ผู้บริหำร

รำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ประจำปี 2563 จัดทำขึ้นเพ่ือนำเสนอ ภำพรวมสถำนกำรณท์ ำงสงั คมทีเกิดขน้ึ ในปี โดยใชข้ ้อมูลดำ้ นตำ่ งๆ ทไ่ี ด้ควำมอนเุ ครำะห์จำกหนว่ ยงำนรำชกำร ในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี (ข้อทุตยิ ภูมิ) ท่ีสำมำรถอ้ำงอิงได้ และข้อมูลจำกกำรจัดเก็บข้อมูล (ข้อมูลปฐมภูมิ) จำก หน่วยงำน พม. ในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี (One home) มำประกอบกำรนำเสนอ และสรุปเพื่อช้ีให้เห็นประเด็น ต่ำงๆ ทำงสังคมโดย ส่วนท่ีหน่ึงข้อมูลท่ัวไปของจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ประกอบด้วยภำพรวมของโครงสร้ำง ประชำกร แนวโน้ม เศรษฐกิจ ส่วนท่ีสอง สถำนกำรณ์ทำงสังคมของจังหวัด ประกอบด้วยสถำนกำรณ์เด็ก สถำนกำรณ์ผู้สูงอำยุ สถำนกำรณ์ครอบครัว สถำนกำรณ์คนไร้ท่ีพึ่ง และสถำนกำรณ์ผู้ประสบปัญหำทำงสังคม ส่วนท่ีสำม สถำนกำรณ์ทำงสังคมเชิงประเด็นประกอบด้วยสถำนกำรณ์ด้ำนกำรค้ำมนุษย์ สถำนกำรณ์กำรแพร่ ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ (COVID-19) และสถำนกำรณ์ทำงสังคมท่ีน่ำห่วงใยของจังหวัด ส่วนที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ รวมถึงกำรนำเสนอตัวช้ีวัดเกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำสังคมตัวช้ีวัดควำมม่ันคงของมนุษย์ ของจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ซึ่งจะทำให้เห็นระดับของควำมมั่นคงและกำรพัฒนำมนุษย์ในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนีและ สำมำรถเปรียบเทียบเพ่อื นำไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ในเชงิ นโยบำย

รำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม ปี 2563 โดยจำแนกเป็นสถำนกำรณ์ตำมบริบทของพ้ืนที่ กำรเปล่ียนแปลงภำพรวมของจังหวัดสุรำษฎร์ธำนีพบว่ำมีค่ำดัชนีควำมม่ันคงของมนุษย์ ปี 2559 – 2561 จังหวดั สุรำษฎร์ธำนี มีค่ำดัชนีควำมม่ันคงของมนุษย์ 65.45 ตำ่ กว่ำค่ำเฉล่ียภำพรวมของประเทศ (ค่ำดัชนี ควำมม่ันคงของมนุษย์ 69.76) อยู่ในอันดับท่ี 58 จำก 77 จังหวัดท่ัวประเทศ หำกพิจำรณำภำพรวมของ จังหวดั สุรำษฎร์ธำนีถือว่ำดีข้ึนกวำ่ ปี 2559 แตค่ ่ำดชั นีก็ยังอยู่ต่ำกวำ่ ค่ำเฉล่ียประเทศ มิติที่มีค่ำดัชนีดีที่สุด คือ มิติสุขภำพ อยู่อันดับท่ี 9 จำก 77 จังหวัด (79.43 จำกค่ำเฉล่ียท่ัวประเทศ 70.25) ในทำงกลับกัน จังหวัดสุ รำษฎร์ธำนี มีค่ำดัชนีในมิติศำสนำและวัฒนธรรม อยู่ในอันดับท่ี 75 ของประเทศ โดยตัวชี้วัดที่บ่งช้ีสำคัญ คือ คนอำยุ 6 ปีขึ้นไป ทุกปฏิบตั ิกิจกรรมทำงศำสนำอย่ำงน้อยสัปดำห์ละ 1 คร้ัง น้อยอนั ดับที่ 75 จำก 77 จังหวัด และจำนวนศำสนำสถำนทุกประเภทต่อประชำกร 100,000 คน อยู่อันดับท่ี 69 ของประเทศ สถำนกำรณ์ กลุม่ เป้ำหมำย และประเด็นทำงสังคมของจังหวดั ดังนี้

ด้ำนประชำกร จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ณ วนั ที่ 31 มิถุนำยน 2563 จำนวน 1,070,220 คน (ชำย 527,569 คน หญิง 541,937 คน) ประชำกรหนำแน่นเป็นลำดับที่ 59 ของประเทศ จำนวนประชำกร ลำดับท่ี 3 ของภำคใต้ และลำดับที่ 2 ของกลุ่มภำคใต้ตอนบน มีครัวเรือน 355,218 ครัวเรือน ภำพรวมสถำนกำรณ์ ประชำกร ปี 2559 – 2562 เพ่มิ ขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง พบว่ำประชำกรวยั ทำงำน (อำยุ 26 – 59 ปี ) ร้อยละ 50.33 มอี ัตรำพ่ึงพิงรวม ปี 2561 อัตรำรอ้ ยละ 52.11 ช่วงปี 2558 – 2561 มีแนวโนม้ รวมสูงข้นึ ทกุ ปี ท่ีประชำกรวัย ทำงำนจะต้องดูแลประชำกรเด็กและประชำกรผู้สูงอำยุ สัดส่วนประชำกร ปี 2563 พบว่ำ ประชำกรอำยุต่ำ

สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั ของมนุษยจ์ งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

กว่ำ 18 ปี (เด็ก) จำนวน 250,364 คน คิดเป็นร้อยละ 23.39 ประชำกรอำยุ 19 ปี – 25 ปี (เยำวชน) จำนวน 117,251 คน คิดเป็นร้อยละ 10.96 ประชำกรอำยุ 26 – 59 ปี จำนวน 538,613 คน คิดเป็นร้อยละ 50.33 และประชำกรอำยุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 163,991 คน คิดเปน็ ร้อยละ 15.32 โดยทีจำนวนประชำกรในระดบั พน้ื ท่ี พบว่ำอำเภอเมืองสรุ ำษฎร์ธำนมี จี ำนวนประชำกรมำกท่ีสุด

ด้ำนเด็ก ประชำกรเด็กในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ณ วันท่ี 30 มิถุนำยน 2563 จำนวน 250,364 คน ร้อยละ 23.39 สถำนกำรณ์ประชำกรเด็กช่วงปี 2559 – 2561 ลดลงอย่ำงต่อเน่ือง ประชำกรเด็กในระดับ อำเภอ พบอำเภอเมืองสุรำษฎร์ธำนีมำกที่สุด จำนวน 41,483 คน แต่เม่ือเปรียบเทียบประชำกรเด็กต่อ ประชำกรรวมทั้งหมดในระดบั อำเภอพบว่ำ อำเภอพระแสงมรี ้อยละประชำกรเดก็ มำกท่ีสุด ร้อยละ 25.89 เด็ก อยู่ในระดับกำรศึกษำประถมศึกษำ จำนวน 91,247 คน ระดบั มัธยมศึกษำ จำนวน 57,218 คน รอบปี พบเด็กท่ี ออกกลำงคนั ระดับประถมศึกษำ จำนวน 113 คน ระดับมัธยมศกึ ษำ จำนวน 165 คน

สำหรับด้ำนพฤติกรรมเด็กจำนวนคดีอำชญำกรรมท่ีเด็กและเยำวชนเป็นถูกกระทำ รอบปี 2562 จำนวน 174 คดี และเปน็ ผู้กระทำจำนวน 13 คดี จำกข้อมูลมีประเด็นด้ำนท่ีเด็กท่ีตอ้ งไดร้ ับกำรแก้ไข เด็กที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (แม่วัยรุ่น) จำนวน 715 คน สูงขึ้นเพิ่มขึ้นจำกปี 2562 สำหรับเด็กท่ีอยู่ในกำรดูแล ของสถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชนจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ในรอบปี 2562 จำนวนคดีที่เด็กกระทำควำมผิด มำกท่ีสุดเปน็ คดีควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดมำกที่สุด รองลงคดีเก่ียวกับชีวติ และร่ำงกำย และคดคี วำมผิดอนื่ ๆ ตำมนโยบำยกำรพัฒนำคนตลอดช่วงชีวิตเป็นกำรระบบคุ้มครองทำงสังคมแก่เด็ก เพื่อให้เด็กได้รับกำรดูแลให้มี คณุ ภำพชวี ิตที่ดี มพี ฒั นำเหมำะสม ตำมวยั พบว่ำเด็กทไี่ ดร้ ับเงินอดุ หนนุ เพ่อื กำรเลี้ยงดเู ด็กแรกเกดิ จำนวน 31,188 คน ร้อยละ 39 ของจำนวนประชำกรเด็กปฐมวยั (อำยุแรกเกดิ – 5 ปี) จำนวน 78,406 คน แม่เด็กได้รบั เงินอุดหนุน ตำมโครงกำรเงินอุดหนุนเพ่ือกำรเลี้ยงดูเด็กแรกเกดิ เป็นแม่เด็กที่อำยุไม่เกิน 18 ปี จำนวน 2,439 คน (7.82%) และเปน็ แม่เด็กท่ีอำยไุ ม่เกนิ 20 ปี จำนวน 4,771 คน (15.29%)

ด้ำนผู้สูงอำยุ ประชำกรผู้สูงอำยุในจังหวดั สุรำษฎร์ธำนี จำนวน 163,991 คน ร้อยละ 15.32 ถือว่ำจังหวัดสุรำษฎร์ธำนีได้ก้ำวเข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุ สถำนกำรณ์ประชำกรผู้สูงอำยุ ปี 2559 – 2562 มี จำนวนเพ่ิมสูงขึ้นทกุ ปี ทั้งนี้ดัชนสี ูงวยั ปี 2561 อัตรำร้อยละ 73.65 ช่วง ปี 2558 – 2561 มีอตั รำกำรเพ่ิมขึ้น อย่ำงต่อเน่ือง โดยจำนวนประชำกรผู้สูงอำยุในระดับพื้นที่อำเภอ พบว่ำอำเภอเมืองสุรำษฎร์ธำนีมีจำนวนประชำกร ผู้สูงอำยุมำกท่ีสุด เพื่อเม่ือเปรียบเทียบจำนวนประชำกรผู้สูงต่อจำนวนประชำกรรวมทั้งหมดในระดับพื้นท่ีอำเภอ อำเภอไชยำมีรอ้ ยละประชำกรผ้สู งู อำยมุ ำกทีส่ ุด รอ้ ยละ 17.47

สถำนกำรณ์ผู้สูงอำยุในพ้ืนที่จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี จำกกำรสำรวจประชำกรผู้ท่ีอำศัยอยู่ในพ้ืนท่ี จำนวน 132,275 คน พบว่ำเป็นผู้สูงอำยุติดสังคม จำนวน 115,432 คน ผู้สูงอำยุติดบ้ำน 5,086 คน และ ผู้สูงอำยุติดเตียง 1,161 คน ท้ังนี้มีผู้สูงอำยุได้รับเบ้ียยังชีพ จำนวน 142,521 คน ร้อยละ 88.51 ของประชำกร ผู้สูงอำยุในจังหวัดสรุ ำษฎรธ์ ำนีทัง้ หมด

สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนษุ ย์จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

ดำ้ นคนพิกำร คนพิกำรจังหวดั สุรำษฎรธ์ ำนี ณ วนั ที่ 30 มิถุนำยน 2563 จำนวน 21,468 คน (ชำย 11,903 คน หญิง 9,566 คน ) ร้อยละ 1.95 ของประชำกรทง้ั หมดในจงั หวัดสรุ ำษฎรธ์ ำนี สถำนกำรณ์ คนพิกำร ปี 2559 - 2562 มีจำนวนเพ่มิ สงู อยำ่ งต่อเน่ือง จำนวนคนพกิ ำรในระดบั พนื้ ที่ อำเภอเมอื งสรุ ำษฎร์ ธำนี มคี นพกิ ำรมำกทส่ี ดุ แต่เพ่ือเปรยี บเทียบจำนวนคนพกิ ำรต่อจำนวนประชำกรรวมในพ้ืนทอ่ี ำเภอ พบว่ำ อำเภอไชยำมีร้อยละคนพิกำรมำกที่สุดมำกทส่ี ุด รอ้ ยละ 3.39

สัดส่วนอำยุคนพิกำร อำยุแรกเกิด – 18 ปี จำนวน 1,814 คน (ร้อยละ 7.99 ) อำยุ 19 ปี – 59 ปี จำนวน 10,087 คน (ร้อยละ 47.32 ) และอำยุ 60 ปีข้ึนไป (ร้อยละ 44.68 ) ประเภทควำมพกิ ำร โดย พบว่ำคนพิกำรทำงกำรเคล่ือนไหวหรือทำงร่ำงกำยมำกท่ีสุด จำนวน 10,612 คน (ร้อยละ 48.87 ) รองลงมำ คนพิกำรทำงกำรได้ยินหรือส่ือควำมหมำย จำนวน 4,087 คน ( ร้อยละ 19.21 ) และคนพิกำรทำงสติปัญญำ จำนวน 2,003 คน (ร้อยละ 9.48) โดยคนพิกำรคนพิกำรทำงออทิสตกิ ท่ีมีสถำนกำรณ์ที่แนวโน้มเพมิ่ ข้ึนอยำ่ ง น่ำสนใจท่ียังเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง สำหรับคนพิกำรพิกำรได้รับเบี้ยควำมพิกำร จำนวน 19,982 คน ร้อยละ 96.24 คน จำกจำนวนคนพิกำร 20,763 คน

ด้ำนครอบครัว จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี มีจำนวนครัวเรือน 355,218 ครัวเรือน จำแนกอยู่ใน เขตเทศบำล จำนวน 140,263 ครัวเรือน นอกเขต 194,955 ครวั เรือน สถำนกำรณ์ควำมเข้มแขง้ ครอบครวั ใน จงั หวัดสุรำษฎร์ธำนี ปี 2561 – 2562 พบวำ่ ปี 2561 สำรวจครอบครัว จำนวน 1,858 ครอบครวั ค่ำเฉลี่ย ดัชนีควำมเข้มแข้งของครอบครัวภำพรวม ระดับคะแนน 84.29 ท่ียังสูงกวำ่ เกณฑ์มำตรฐำน และในปี 2562 สำรวจครอบครัว จำนวน 1,280 ครอบครัว ค่ำเฉลี่ยดัชนีควำมเข้มแข้งของครอบครัวภำพรวม ระดับคะแนน 81.56 ที่ยังสูงกว่ำเกณฑ์มำตรฐำน เมื่อมีกำรเปรียบเทียบพบว่ำค่ำเฉลี่ยดัชนีควำมเข้มแข้งของครอบครัว ภำพรวม ปี 2562 ลดลงจำกปี 2561 ลดลงในทุกด้ำน โดยที่พบว่ำด้ำนสัมพันธ์ภำพลดลงต่ำกว่ำเกณฑ์ ตดิ ต่อกนั และหำกพิจำรณำในตัวช้ีวัดยอ่ ยพบว่ำ ในมิติกำรยอมรับ/เคำรพควำมคิดเหน็ ซ่ึงกนั และกัน และแก้ไข ปัญหำข้อขัดแย้งด้วยเหตุผล รวมถึงมิติกำรสื่อสำรระหว่ำงกันอย่ำงมีคุณภำพ และกำรแสดงออกถึงควำมรัก และเอำใจใส่ระหว่ำงกนั ทีม่ ีระดับคะแนนคอ่ นข้ำงที่กว่ำเกณฑค์ ำ่ มำตรฐำน

สำหรับครอบครัวท่ีมีกำรกระทำควำมรุนแรงต่อกัน จำนวน 36 ครอบครัว เพ่ิมข้ึน จำกปี 2562 ที่มีจำนวน ครอบครัวท่ีมีกำรกระทำควำมรุนแรงต่อกัน จำนวน 20 ครอบครัว ลักษณะกระทำ ควำมรุนแรงเกิดจำกกำรใช้รนุ แรงทำงร่ำงกำย สำเหตสุ ่วนใหญ่เกิดจำกกำรใชย้ ำเสพติด

สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ (COVID-19) จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี มีจำนวนผู้ติดเชื้อคงท่ี จำนวน 18 รำย มำต้ังแต่วันที่ 10 เมษำยน 2563 (ข้อมูล ณ วันที่ 14 สิงหำคม 2563 ในพื้นท่ี 6 อำเภอ สำนกั งำนพฒั นำสังคมและควำมมัน่ คงของมนุษย์จังหวัดสุรำษฎรธ์ ำนีรว่ มกบั องค์กรปกครอง สว่ นท้องถิ่นและอำสำสมัครพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ สำรวจพบผู้ประสบปัญหำทำงสังคมที่ไดร้ ับ ผลกระทบจำกกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ (COVID –19) จำนวน 14,748 ครัวเรือน (ชำย 4,473 คน หญิง 10,275 คน) เปน็ คนพิกำร 2,619 คน

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั ของมนษุ ยจ์ ังหวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎรธ์ านี ประจาปี 2563

จำกข้อมูลดังกล่ำว สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี โดยกลุ่มนโยบำยและวิชำกำร ได้จัดเวทีประชำคมระดมควำมคิดเห็นเพื่อให้ได้ประเด็นในกำรจัดทำโครงกำร ปีงบประมำณ ๒๕๖๔ และพัฒนำศักยภำพองค์กำรสวัสดิกำรสังคมในกำรเขียนโครงกำรด้ำนสวัสดิกำรสังคม เม่ือวันที่ ๑๗ กรกฎำคม ๒๕๖๓ ได้นำเสนอสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวดั สุรำษฎร์ธำนี ระดมควำมคิดเห็นกำร เขยี นโครงกำรด้ำนสวสั ดกิ ำรสังคม เพ่อื รองรบั กำรแก้ไขปัญหำ ดังน้ี

  1. โครงกำรเชิงพ้ืนที่ “ประชำชนในพื้นที่ชุมชนท่ีประสบปัญหำทำงสังคม” ประเด็นปัญหำสำเหตุเกิดจำกด้ำน เศรษฐกิจ และคุณภำพชีวิตท่ีต่ำลง รวมถึงได้รับผลกระทบแพร่ระบำดของ โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนำ (COVID -๑๙) ส่งผลให้ทำให้รำยได้ไม่เพียงพอแก่กำรเล้ียงชีพ ไม่มีงำนทำ โดยมีแนว ทำงกำรส่งเสริมดำ้ นนันทนำกำร กำรจัดกิจกรรมสำนสัมพันธ์ครอบครัว และกิจกรรมส่งเสริมกำรสร้ำงรำยได้/ อำชีพเสรมิ กำรส่งเสริมแกไ้ ขปญั หำด้ำนกำรคุมกำเนิด ใหค้ วำมร้เู กย่ี วกบั เข้ำใจสื่อ
  1. โครงกำรเชิงประเด็น เด็กและเยำวชนที่เสี่ยงต่อต้ังครรภ์ไม่พร้อม” ประเด็น ปัญหำท่ีเกิดจำก กำรเลี้ยงดูท่ีไม่เหมำะสมสภำพแวดล้อมท่ีมีควำมเสี่ยง รวมถึงเด็กออกจำกโรงเรียนกลำงคัน รวมถึงส่อื ทำงสังคมทำงต่ำงๆ โดยมีแนวทำงสง่ เสรมิ กิจกรมสำนสัมพนั ธ์ในครอบครัว กำรให้ควำมรู้แก่เดก็ และ เยำวชนท่ีรู้เท่ำทันส่ือต่ำงๆ และกำรส่งเสริมด้ำนกำรคุมกำเนิดในเด็กวยั รุ่น เด็กถูกทอดท้ิง ไม่ได้เรียนหนังสือ ผสู้ ูงอำยุที่อย่ใู นครอบครัวที่ไมม่ ผี ู้ดแู ล

ประเด็นปัญหำท่ีเกิดจำกครอบครัวที่มีฐำนยำกจน กลุ่มวัยทำงำนที่จะต้องไปทำงำน ต่ำงจังหวดั จะตอ้ งให้ผสู้ ูงอำยุอย่กู ับเด็กตำมลำพัง และรวมถึงกำรม่ัวสุมกับอบำยมขุ โดยมีแนวทำงกำรส่งเสริม สรำ้ งควำมร้คู วำมเข้ำใจในครอบครวั และสร้ำงรำยได้/อำชีพเสริม

เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวเสี่ยงต่อกำรถูกกระทำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว ประเด็น ปญั หำท่ีเกิดครอบครัวที่มีเก่ียวข้องกับยำเสพติด ม่ัวสุมกับอบำยมุข และกำรไม่มีเวลำให้กันและกันแนวทำงกำร ส่งเสรมิ สร้ำงควำมรูค้ วำมเข้ำใจในครอบครวั และกจิ กรรมสำนสมั พนั ธ์ครอบครวั

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั ของมนุษยจ์ งั หวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

บทท่ี 1 บทนำ การคุม้ ครองเพอ่ื สรา้ งความมนั่ คงในชีวติ ที่สามารถ หนา้ 1 ใช้ประโยชน์ในการปอ้ งกัน และแกไ้ ขความเสี่ยงต่อ 1.1 หลักกำรและเหตุผลกำรจัดทำ การเกิดปัญหาสังคม รวมถงึ ข้อมลู สถานการณ์ของ รำยงำน ประเด็นปัญหาทางสังคมสาคัญท่ีเกิดข้ึนในราย ไตรมาสและรอบปี เปน็ กระทรวงภาคสงั คมในการทา หน้าที่เป็นองค์กร และกลไกด้านสังคมในการ (2) “รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด” พัฒนาสังคมการสร้างความเป็นธรรม และความ หมายถึง รายงานข้อมูลด้านสังคมในระดับจังหวัด เสมอภาคในสังคม และการส่งเสริมและพัฒนา ที่บรู ณาการขอ้ มูลทุติยภมู จิ ากแหลง่ ที่เก่ียวขอ้ ง คุณภาพในชีวิตสถาบันครอบครัว และชุมชน เพื่อให้สามารถบรรลุนโยบายของรัฐบาลท่ีให้ 1.3 วัตถุประสงคก์ ำรเก็บขอ้ มูล ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน สตรี ผู้ดอ้ ยโอกาส คนพิการ และผู้สงู อายุ (1) เพื่อให้มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับ มีความม่ันคงในการดารงชีวิตอย่างย่ังยืน โดย จังหวัดที่ครบถ้วนถูกต้อง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย บูรณาการแนวคิด ทิศทาง และการบริหารให้เป็น สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการป้องกัน แก้ไขปัญหา ระบบจากภาคีทกุ ภาคส่วนและทกุ ระดับ และกาหนดแนวทางการพัฒนามิติงานด้านสังคมท่ี เกดิ ขน้ึ สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในฐานะหน่วยงาน (2) เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท้ังในระดับ ระดับภูมิภาค มีภารกิจในการจัดทานโยบายและ ทอ้ งถ่ิน และระดับจังหวัดนาข้อมูลไปใช้ในการกาหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ แผนงาน เพ่ือการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหา มนุษย์ในระดับจังหวัด รวมท้ังรายงานสถานการณ์ สงั คมทเ่ี กดิ ข้นึ ทางสังคมของจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลทาง สังคมของจังหวัดสุราษฎร์ธานี และสามารถ (3) เพื่อให้หน่วยงานระดับกระทรวงนาข้อมูลไป ชป้ี ระเด็นเฝ้าระวังปัญหาทางสังคมท่อี าจจะเกิดข้ึน ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์สถานการณ์ แนวโน้ม ในอนาคตได้ ตลอดจนให้จังหวัดและท้องถ่ิน กาหนดเป็นนโยบายและแผนงานในการพัฒนาสังคมท่ี สามารถนาข้อมูลวางแผนแก้ไขปญั หาทางสังคมได้ มงุ่ สู่ความม่ันคงของมนษุ ย์ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.4 สถำนกำรณท์ ำงสงั คมจงั หวัด 1.2 คำนิยำม ประกอบดว้ ย (1) “ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม” หมายถึง ข้อมูลท่ีบ่งช้ีลักษณะของกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องให้ (1.) ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของจงั หวดั

ประกอบข้อมูลทางกายภาพของจังหวัด ความเป็นมาของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ขนาดท่ีต้ัง ภูมิอากาศของจังหวัด และข้อมูลประชากรของ จังหวัดท่ีมีข้อมูลประชากร และการจาแนกช่วงวัย สถานการณ์แนวโน้มประชากร สถานการณ์อัตรา

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมัน่ ของมนุษย์จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

พงึ่ พิง/ดัชนีสูงวัย และภาวะเศรษฐกิจการคลังของ อัตราผู้ป่วยทางสุขภาพจิตต่อประชากร 100,000 จังหวัด คน ติดอันดับ 50 ของประเทศ ในขณะที่อัตราการ เจ็บปว่ ยด้วยโรคสาคัญ 5 โรคต่อประชากร 100,000 (2.) สว่ นท่ี 2 สถานการณ์ทางสังคมของจงั หวัด คน อยใู่ นลาดบั ที่ 43 ของประเทศ นอกจากนี้ มติ ิท่ีมี ประกอบดว้ ย สถานการณ์เชงิ กลมุ่ เป้าหมาย การพัฒนาและมีค่าดัชนีสูงกว่าปี 2559 เช่น มติ ิการ ทางานและรายได้ มิติครอบครัว มิติความปลอดภัย สถานการณ์เด็ก สถานการณ์ผู้สูงอายุ สถานการณ์ ในชีวิตและทรัพย์สิน และมิติสิทธิและความเป็น ครอบครัว สถานการณ์คนไร้ท่ีพึ่ง และสถานการณ์ ธรรมเป็นต้น ผูป้ ระสบปญั หาทางสังคม ในทางกลับกัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีค่า (3.) สถานการณท์ างสังคมเชิงประเด็น ดัชนีในมิติศาสนาและวัฒนธรรม อยู่ในอันดับท่ี 75 ประกอบด้วยสถานการณ์การค้ามนุษย์ใน ของประเทศ โดยตัวช้ีวัดที่บ่งช้ีสาคัญ คือ คนอายุ 6 ปีข้ึนไป ทุกปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อย จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานการณ์การแพร่ระบาด สัปดาห์ละ 1 คร้ัง น้อยอันดับท่ี 75 จาก 77 จังหวัด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) และ และจานวนศาสนาสถานทุกประเภทต่อประชากร สถานการณ์ทางสงั คมท่ีนา่ หว่ งใยของจงั หวดั 100,000 คน อยู่อันดับที่ 69 ของประเทศ

(4.) บทสรุปและข้อเสนอแนะ หนา้ 2 สรุปประเดน็ สถานการณ์สาคัญของจังหวดั

1.5 กำรเปลย่ี นแปลงภำพรวมของ สถำนกำรณ์ทำงสังคมที่สำคัญของจงั หวัด

จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีค่าดัชนีความมั่นคง ของมนุษย์ ปี 2559 – 2561 จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีค่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์ 65.45 ต่ากว่า ค่าเฉลี่ยภาพรวมของประเทศ อยูใ่ นอันดบั ที่ 58 จาก 77 จังหวัดทั่วประเทศ หากพิจารณาภาพรวมของ จังหวัดสุราษฎร์ธานีถือว่าดีข้ึนกว่าปี 2559 ในหลาย ๆ มิติ แต่ค่าดัชนีก็ยังอยตู่ ่ากว่าค่าเฉล่ียประเทศ มิติ ท่มี ีค่าดัชนีดีที่สุด คือ มิติสุขภาพ อยู่อันดับที่ 9 จาก 77 จังหวัด (79.43 จากค่าเฉลี่ยท่ัวประเทศ 70.25) ซึ่งตัวช้ีวัดที่สาคัญ คืออัตราการเข้าถึงบริการของ ผู้ป่วยต่อประชากร 100,000 คน มากกท่ีสุดเป็น อันดับท่ี 5 ของประเทศอัตราบคุ ลากรทางการแพทย์ ต่อประชากรมากเป็นอันดับ 15 จาก 77 จังหวัด

สานักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ ของมนษุ ย์จังหวัดสุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

บทที่ 2 ข้อมูลท่ัวไปของจังหวัด เมอื งรอ้ ยเกำะเงำะอรอ่ ย หนา้ 3 หอยใหญ่ ไขแ่ ดง แหลง่ ธรรมะ 2.1. ข้อมูลทำงกำยภำพของจังหวัด ตรำสุรำษฎร์ธำนี:รปู พระบรมธำตไุ ชยำ หมายถงึ พระบรมธาตุไชยา (1)ควำมเปน็ มำ สุราษฎร์ธานีเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีมาต้ังแต่ กล่าวกนั ว่า พระบรมธาตไุ ชยา เปน็ ที่ บรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ซึง่ เป็นปูชนียส์ ถานสาคญั ที่สดุ ของจงั หวัด เปน็ ท่ีเคารพสักการบูชาของ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชนพ้ืนเมือง ได้แก่ พวง ชาวจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี และพทุ ธศาสนกิ ชนทว่ั ไป เซมังและมลายูดั้งเดิม ซ่ึงอาศัยอยู่ในเขตลุ่มน้า หลวง (แมน่ ้าตาป)ี และบริเวณอ่าวบ้านดอน กอ่ นที่ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดชุมพร ชาวอินเดียจะอพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่ง และ จังหวดั ระนอง และอา่ วไทย เผยแพร่วัฒนธรรม ดังปรากฏหลักฐานในชุมชน ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัด โบราณท่ี อ.ท่าชนะ อ.ไชยา เป็นต้น ต่อมาในพุทธ นครศรธี รรมราช และกระบ่ี ศตวรรษท่ี 13 มีหลักฐาน ปรากฏวา่ เมืองนีไ้ ด้รวม ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับจงั หวดั พังงา กับอาณาจักรศรีวิชัย เม่ืออาณาจักรนี้เส่ือมลง จึง ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั อา่ วไทยและ แยกออกมาเป็น 3 เมือง คือ เมืองไชยา เมืองท่า จังหวัดนครศรธี รรมราช ทอง และเมืองครี ีรฐั ข้นึ ตอ่ เมอื งนครศรธี รรมราช

(2) ขนำดและทตี่ ั้ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่บนฝ่ังตะวันออก

ของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพฯโดยทางรถยนต์ ประมาณ 645 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 13,079.61 ตาราง กิโลเมตร หรือ 8,174,756.25 ไร่ มีเนื้อที่มากเป็น อันดับ 6 ของประเทศและมีพื้นท่ีมากที่สุดในภาคใต้ ฝ่ังทะเลด้านอ่าวไทยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความ ยาวประมาณ 156 กิโลเมตร มีเกาะขนาดใหญ่ ได้แก่ เกาะสมยุ เนื้อที่ 227.25 ตารางกิโลเมตร เกาะพะงัน มี เนื้อที่ 194.2 ตารางกิโลเมตร นอกจากน้ียังมีหมู่เกาะ อา่ งทอง และเกาะบริวาร 42 เกาะ เกาะสมุยเป็นเกาะ ที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด ห่างจากฝ่ังทะเลประมาณ 20 กโิ ลเมตร และห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 80 กโิ ลเมตร มีอาณาเขต ดังนี้

สานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั ของมนุษยจ์ งั หวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(3) เขตกำรปกครอง มีส่วนราชการตา่ งๆ ในจังหวดั อาเภอ ตาบล และ หมู่บ้าน ดังน้ี การปกครองแบ่งออกเป็น 19 อาเภอ 131 ตาบล 1,075 หมู่บ้าน ดังน้ี - การบรหิ ารราชการส่วนภูมภิ าคมีท้ังหมด 34 หน่วยงาน พนื้ ท่ี ห่างจาก อาเภอ (ตร.กม.) ตัวจังหวดั ตาบล หมู่บ้าน อปท. - หน่วยงานราชการส่วนกลาง มี 125 หน่วยงาน กม. - หนว่ ยงานอิสระของรัฐ 3 หนว่ ยงาน เมอื งฯ 231.317 1 11 59 10 - หน่วยการปกครองทอ้ งถ่นิ 3 รปู แบบ คอื

กาญจนดษิ ฐ์ 873.539 18 13 117 14 - องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด 1 แหง่ - เทศบาล 40 แหง่ ดอนสัก 458 61 4 41 5 - องค์การบริหารสว่ นตาบล 97 แห่ง (4) ภมู ิประเทศและภูมิอำกำศ เกาะสมุย 277.25 84 7 39 1 จงั หวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่ และ มีสภาพภูมปิ ระเทศท่ีหลากหลาย ได้แก่ภมู ิประเทศ เกาะพะงัน 193 100 3 17 4 แบบท่ีราบชายฝั่งทะเล ท่ีราบสูง รวมทั้งภูมิ ประเทศแบบภูเขาซ่ึงกินพื้นที่ของจงั หวัดถึงร้อยละ ไชยา 1,004.63 68 9 54 9 40 ของพื้นท่ีท้ังหมด โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตัวใน แนวเหนือ – ใตข้ องจังหวัด และมีลมุ่ แม่น้าที่สาคัญ ทา่ ชนะ 683.086 78 6 82 7 คอื ลมุ่ แม่นา้ ตาปี ไชยา ท่าทอง เปน็ ตน้ ด้านตะวนั ออกเป็นฝ่ังทะเลอ่าวไทย และมี ครี รี ัฐนิคม 1,347.37 55 8 85 9 เกาะน้อยใหญ่ที่มีประชากรอาศัย ส่วนด้าน ตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง มีแม่น้าสายสาคัญ วิภาวดี 543.53 70 2 31 2 คือ แม่น้าตาปี และทาเลท่ีต้ังรวมถึงภูมิประเทศ จังหวดั สุราษฎร์ธานี จงึ ได้รบั อทิ ธิพลจากมรสุข บา้ นตาขุน 1,300.00 71 4 29 5 (5) ทรัพยำกรธรรมชำติแหล่งน้ำ ปา่ ไม้เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีสาคัญของ พนม 703.233 80 6 56 6 จังหวัดสุราษฎร์ธานี ป่าไม้ในจังหวัดมีท้ังป่าโปร่ง และป่าดงดิบ จึงมีไม้ที่มีค่ามากมาย เช่น ยาง ยูง ทา่ ฉาง 1,160.43 37 6 46 7 เค่ียม ตะเคียน จาปา พะยอม และไ ม้อื่นๆ นอกจากน้ียังมีแร่ธาตุท่ีสาคัญอีกหลายชนิด อยู่ใน บ้านนาสาร 835.06 41 11 65 11 ท้องที่ต่างๆ เช่น ยิปซ่ัม โดโลไมต์ และหินปูน

บ้านนาเดิม 206 50 4 30 5

เคียนซา 580 61 5 51 6

เวยี งสระ 420.39 68 5 64 6

พระแสง 1,328.06 68 7 74 9

ชัยบรุ ี 430.00 112 4 37 4

พนุ พนิ 1201.16 12 16 98 17 หนา้ 4

ท่ีมา สานกั งานสถติ จิ ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

สานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั ของมนษุ ยจ์ งั หวัดสุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(หนิ อตุ สาหกรรมชนิดก่อสร้าง ) ในปี พ.ศ. 2561 มี (7) ประเพณีและวัฒนธรรม จานวนเหมอื งแร่เปิด ดาเนินการทัง้ สน้ิ 54 แหง่ ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และแข่งขัน แหล่งน้าธรรมชาติท่ีสาคัญของจังหวัด สุราษฎร์ธานีมีลุ่มน้าใหญ่น้อยรวม 14 ลุ่มน้า เรือยาว มีอีกชื่อ คืองานเดือนสิบเอ็ดซ่ึงเป็นเวลา แตล่ ะลุ่มน้ามีแม่นา้ และร่องหลายสาย ทุกสายล้วน ลงสู่อ่าวไทย แม่น้าในสุราษฎร์ธานี ตัดขวาง เดียวกบั เทศกาลออกพรรษากิจกรรมท่ีสาคัญได้แก่ คาบสมุทร ออกสู่ทะเลด้านตะวันออก ในอดีต อาศัยเครือข่าย แม่น้าเดินทางติดต่อถึงกัน และ การประกวดเรอื พระ ซงึ่ จะมที ง้ั รถพนมพระ และ ติดต่อกับเมืองชายฝ่ังแม่น้าที่มีลักษณะทางอุทก วิทยาที่สาคัญของสุราษฎร์ธานี คือ แม่น้าตาปี แม่น้าตาปี คลองพุมดวง คลองพุมดวง ซึง่ เป็นเส้นเลือดใหญ่ของชาวจังหวัด สุราษฎร์ธานี แม่นา้ ทสี่ าคัญของจงั หวัดมี 2 สาย

(6) เสน้ ทำงคมนำคมของจงั หวัดสุรำษฎร์ธำนี หนา้ 5 - ทางรถยนต์ การเดนิ ทางระหวา่ ง

จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี กับกรงุ เทพมหานครและ จงั หวัดใกล้เคยี ง

- ทางรถไฟ การเดนิ ทางระหวา่ ง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านีกบั กรุงเทพมหานครและ จังหวดั ใกลเ้ คยี ง

- ทางน้า การคมนาคมทางน้าใน จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งภายในจังหวัดสุราษฎร์ ธานีและระหว่างจังหวัด โดยภายในจังหวัดจะเป็น คมนาคมทางน้าเพื่อการท่องเที่ยวเป็นหลักเพื่อ เดินทางไปเกาะสมุย เกาพะงัน เกาะเต่า และ อทุ ยานแหง่ ชาติหม่เู กาะอ่างทอง ในส่วนของการ ขนส่งระหว่างจังหวัด จะเป็นเรือขนส่งสินค้าขนาด 2,000 – 3,000 ตนั

- ทางอากาศ จานวน 2 สนามบิน คอื ท่ากาศยานสรุ าษฎรธ์ านี และเกาะสมุย

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั ของมนษุ ย์จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

เรอื พนมพระซง่ึ รถและเรือพนมพระ อาจจะตกแต่ง (1) ประชำกรจำแนกตำมช่วงวยั ประดับประดาด้วยการแกะสลัก หรือฉลุไม้ตกแต่ง ประชากรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ จาลอง เสมอื นฉากทพ่ี ระพุทธเจา้ กลับมาจากสวรรค์ ช้ันดาวดึงส์ในงานพิธีจะใช้คนลากเช่ือว่าผู้ที่ได้ร่วม วนั ท่ี 30 มิถุนายน 2563 จานวน 1,070,220 คน ลากจูงรถหรือเรือพนมพระจะได้อานิสงค์หลาย ( ชาย 527,315 คน หญงิ 542,905 คน) จาแนก ประการ ตามสัดส่วนประชากรพบว่า ประชากรอายุต่ากว่า 18 ปี (เด็ก) จานวน 250,364 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2. ขอ้ มูลประชำกรของจังหวัด 23.39 ประชากรอายุ 19 ปี – 25 ปี (เยาวชน) จาน วน 117,251 คน คิดเป็นร้อยละ 10.96 ประชากรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ วันท่ี 30 ประชากรอายุ 26 – 59 ปี จานวน 538,613 คน มิถุนายน 2563 จานวน 1,070,220 คน ( ชาย คิดเป็นร้อยละ 50.33 และประชากรอายุ 60 ปีขึ้น 527,315 คน หญิง 542,905 คน) เพิ่มจาก ณ ไป จานวน 163,991 คน คิดเป็นร้อยละ 15.32 วั น ท่ี 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 6 3 ร้ อ ย ล ะ 0 . 2 0 ทัง้ น้ี ประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป จานวน 459 คน รายละเอียดประชากร เป็นผู้ท่ีมีชื่ออยู่ในทะเบียน จานวน 1,060,119 คน ผทู้ ี่มีชอื่ อยู่ในทะเบียนบา้ น รายการ เพศชาย เพศหญงิ รวม รอ้ ยละ กลาง 9,403 คน และ ผทู้ ี่มีช่ืออยู่ระหว่างการย้าย ขอ้ มูล 128,794 121,570 250,364 23.39 ท้ังมีผู้ไม่มีสัญชาติไทย จานวน 7,616 คน มี อายตุ ่า จานวนครัวเรือน 355,218 ครัวเรือน (ท่ีมา การ กว่า 18 59,336 57,915 117251 10.96 สารวจข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน พ.ศ. 2562 ปี (เด็ก) สนง.สถิติแหง่ ชาติ) รอายุ 19 ปี – 25 รายละเอียด ชาย(คน) หญงิ (คน) รวม(คน) ปี 266,303 272,310 538613 50.33 ประชากร (เยาวชน) 527,315 542,905 1,070,220 อายุ 26 72,881 91,110 163991 15.32 แยกตำมเพศ – 59 ปี (รวม (1) + (2) อายุ 60 222 237 459 - + (3) ปขี ึ้นไป (1) ผทู้ ีม่ ชี อ่ื อยู่ 521,696 538,423 1,060,119 อายุ 100 ในทะเบยี นบ้าน ปีขึน้ ไป (2) ผูท้ ี่มชี อื่ อยใู่ น ทะเบยี นบา้ น ทมี่ า ทีท่ าการปกครองจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี กลาง (3) ผู้ทีม่ ีชอ่ื ท่ีอยู่ 5,193 4,210 9,403 ระหว่างการยา้ ย ผู้ทไี่ ม่มีสัญชำติ 426 272 698 หนา้ 6 ไทย 4,186 3,430 7,616 ทม่ี า ทท่ี าการปกครองจังหวดั สุราษฎร์ธานี

สานกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(2) ควำมหนำแน่นของประชำกร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 จานวน 1,068,010 จานวนประชากรในจังหวัดสุราษฎร์ คน) ความหนาแนน่ ของประชากร อยู่ที่อนั ดับท่ี 59 ของประเทศ ทั้งนสี้ ถานการณแ์ นวประชาชากรชว่ ง ธานี อยู่ในพื้นท่ีอาเภอเมืองสุราษฎร์ธานีมากที่สุด ในช่วง ปี 2559 – ปี 2562 มแี นวโนม้ สงู ขน้ึ ทุกปี ลงมาอาเภอกาญจนดิษฐ์และอาเภอพุนพนิ โดยที่ ความหนาแน่นประชากรในพ้ืนที่อาเภอพบว่า 1068010 อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานีมากท่ีสุด รองลงอาเภอ เกาะสมุย และอาเภอกาญจนดษิ ฐ์ 1063501

1057581

1050913

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

0.63 0.56

0.40 0.42

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

(3) สถานการณ์แนวโน้มประชากรใน ประชากรในจังหวัดสุราษฎรธ์ านีมี หนา้ 7 จงั หวดั แนวโนม้ สงู ขั้นทกุ ปี ต้ังแต่ พ.ศ. 2559 - 2562 ใน ปี พ.ศ. 2560 รอ้ ยละประชากรทม่ี แี นวโน้มสงู ท่ีสุด ประชากรในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมี ร้อยละ 0.63 จานวนประชากรอยู่ท่ี อันดับท่ี 20 ของประเทศ ส ถ า น ก า ร ณ์ ป ร ะ ช า ก ร ใ น ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ภาคใต้ตอนบน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีจานวน ป ร ะ ช า ก ร อั น ดั บ ที่ 2 ร อ ง จ า ก จั ง ห วั ด นครศรีธรรมราช

สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่นั ของมนษุ ยจ์ งั หวัดสุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(4) สถำนกำรณอ์ ัตรำพึ่งพิง/ดัชนีสงู วัย สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความ - อัตราพง่ึ พิง ม่ันคงของมนุษย์ ได้ประมวลผลดัชนีสูงวัยของ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2556 – 2560 อัตราการพ่ึงพิงรวม คืออัตราส่วนระหว่าง ดชั นีการสูงวัยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะจานวน ประชากรเด็กและประชากรสูงอายุต่อประชากรวัย ประชากรวยั ผสู้ ูงอายใุ นจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานีเพิม่ ขน้ึ ทางาน ในการคานวณอัตราส่วนนี้ ประชากรวัยเด็ก คือประชากรอายุต่ากว่า 15 ปี ประชากรสูงอายุคือ 73.56 ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป และประชากรวัยทางาน 70.13 คืออายุระหว่าง 15 ถึง 59 ปี โดยศูนย์เทคโนโลยี 66.58 สารสนเทศและการส่ือสาร สานักงานปลัดกระทรวง 64.5 การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้ ประ มวลผลอัตราการ พ่ึงพิงรว มของจัง หวั ด 2558 2559 2560 2561 สุราษฎร์ธานี โดยช่วงปี 2559 – 2561 มีแนวโน้ม สูงขนึ้ ต่อเน่อื ง

52.11 2.3. ข้อมลู ดำ้ นเศรษฐกิจของจังหวดั หนา้ 8 51.39 50.69 50.59 (1) ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ปี 2 5 6 0 ( Gross ProvincialProduct : GPP) 2558 2559 2560 2561 ณ ราคาประจาปี มีมูลค่าเท่ากับ 211,048 ล้าน บาท (ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ - อัตราดัชนกี ารสงู วัย เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต)ิ ประกอบดว้ ย ดัชนีการ สูงวั ย (Aging index) ซึ่ง แสดงถึงการเปรียบเทียบโครงสร้างการทดแทนกัน • ภำคเกษตร มีมูลค่าเพ่ิมเท่ากับ ของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) ต่อ 47,266 ลา้ นบาท กลุ่มประชากรวัยเด็ก (อายุต่ากว่า 15 ปี ) โดย ดชั นีการสูงวัยมีค่าต่ากว่า 100 แสดงวา่ พบจานวน • ภำคนอกเกษตร มีมูลค่าเพ่ิมเท่ากับ ประชากรสูงอายุมีน้อยกว่าจานวนเด็ก แต่ในทาง 163,781 ล้านบาท ตรงขา้ ม ถ้าดัชนมี คี า่ เกนิ กว่า 100 แสดงว่าจานวน ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per ประชากรสูงอายุมีมากกว่าจานวนประชากรเด็ก โดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร capita) ปี 2560 ของจงั หวัดสุราษฎร์ธานี เท่ากับ

200,471 บาทเป็นลาดับท่ี 18 ของประเทศ และเป็น

ลาดับท่ี 4 ของภาคใต้รองจากจังหวัดภูเก็ต พังงา

และกระบี่

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ ของมนุษย์จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(2) ภำวะเศรษฐกิจกำรคลังของจังหวัด ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด 211,048 - เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) ประชำกร (1,000 คน) 200,471 ขยายตัว สะท้อนจากภาคอุตสาหกรรมขยายตัว โดย ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 35.3 ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัดตอ่ หวั 1,053 จากยอดในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมหมว ด ประชำกร (บำท) อุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 27.4 เน่ืองจาก ผู้ประกอบการเร่งระบายสต๊อกน้ามันปาล์มออกสู่ - เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้ ตลาด เพื่อรองรับความต้องในการใช้ในประเทศท่ี ขยายตัวจากมาตรฐานส่งเสริมการให้ใช้น้ามันไบโอ จ่าย) ขยายตัว สะท้อนจากการบริโภคภาคเอกชน ดเี ซล (B10 และ B 20 ) ของกระทรวงพลงั งานประกอบ กับจานวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัด และ ขยายตัว โดยดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อย ละ 3.1 และ 2.7 ตามลาดับ ภาคบริการขยาย โดย รอ้ ยละ 21.5 เป็นผลสืบเนื่องจากมาตรการ ซมิ ชอ็ ป ดัชนีผลผลิตภาคบริการขยายตัวร้อยละ 15.1 จาก ยอดขายท่ีผู้ประกอบแจ้งเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม หมวด ใชส้ ้นิ สดุ ในเดือน มกราคม 2563 ทาให้ประชาชนเร่ง ค้าส่งค้าปลีก ขยายตัวร้อยละ 43.9 จากหมวดขาย ส่งปลีกเคร่ืองด่มื ท่ีมีแอลกอฮอล์ เป็นสาคัญ อย่างไร การใช้จ่าย ส่งผลให้ภาษีมูลค่าเพิ่มท่ีจัดเก็บได้ ก้ อ ง ต า ม ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ไ ด้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก สถานการณ์แพร่ระบาทของไวรัสโครน่า 2019 ขยายตัวร้อยละ 29.0 ขณะที่การบริโภคสินค้าคงทน (Covid – 19 ) ส่งผลให้จานวนนักท่องเท่ียวลดลง ขณะที่ภาคการเกษตรกรรม หดตัวร้อยละ -38.9 ได้แก่ รถยนต์นั่งส่งบุคคลจดทะเบียนใหม่ และ จากสภาพอากาศไม่เอื้ออานวย ประกอบกับราคา ตกตา่ ทาให้เกษตรกรขาดการดูแล บารุงรักษา ส่งผล รถจักรยานยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ หดตัวรอ้ ยละ -10.3 ให้ผลผลิตปาล์มน้ามันขาดคอ ปริมาณยางพาราหด ตัวร้อยละ -0.6 จากพน้ื ที่ ให้ผลผลิตลดลง ละ -28.4 ตามลาดับ การลงทุนภาคเอกชนขยายตัว

โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 2.5

สินเชื่อเพื่อการลงทุนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

ของรัฐ เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรตามมาตรการธุรกิจ

ชุมชนสร้างไทย ขณะท่ีการใช้จ่ายภาครัฐหดตัวโดย

ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐหดตัว โดยดัชนีการใช้จ่าย

ภาครัฐหดตัว ร้อยละ -13.2 เปน็ ผลการจากเบิกจ่าย

ลงทุนภาครัฐหดตัวร้อยละ -67.3 เป็นผลมาจาก

พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.

2563 ยังไม่มผี ลใช้บังคบั โดยส่วนราชการต้องปฏิบัติ

ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการใช้งบประมาณ

รายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2562 ไปพลางก่อน รายจ่าย

ภาครัฐ และรายจา่ ยประจา อปท. หดตวั รอ้ ยละ -5.6

และ -5.1 ตามลาดับ เป็นผลมาจาก หน่วยงานใน

สังกัด สนง.คณะกรรมการรายจ่ายประจาปี ก่อน

ขณะทร่ี ายจา่ ยลงทุนของ อปท.ขยายตวั รอ้ ยละ 1.2

หนา้ 9

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ ของมนุษยจ์ งั หวัดสุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

- ด้ า น ร า ย ไ ด้ เ ก ษ ต ร เ ดื อ น - ดั ช นี ร า ค า ผู้ บ ริ โ ภ ค จั ง ห วั ด กุมภาพันธ์ 2563 หดตัวร้อยละ -4.3 สะท้อนจาก สรุ าษฎร์ธานี สานักงานพาณิชย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรหดตัว ร้อยละ -13.2 ตาม ร่วมกับกองดัชนีเศรษฐกิจการค้า และจังหวัด การลดลงของผลิตปาล์มน้ามัน และยางพาราเป็น สุราษฎร์ธานี ขอรายงานความเคล่ือนไหวดัชนีราคา สาคญั ผู้บริโภคทั่วไปของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในไตรมาสท่ี 1 ปี 2563 โดยประมวลดัชนรี าคาผู้บริโภคทว่ั ไปของ - ดา้ นการเงนิ สภาพคลอ่ งในระบบ ประเทศ (ปี 2558 เป็นฐาน) ประกอบด้วยหมวด สถาบันการเงิน อยู่ในเกณฑ์ดี พิจาณาจากปริมาณ อาหาร และเคร่ืองด่ืม เครื่องนุ่งห่ม เคหสถาน เงินฝากรวมขยายตัวในอัตราชะลอท่รี ้อยละ 0.3 จาก การตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล ยานพาหนะ ปรมิ าณเงินฝากมีทศิ ทางลบตามรายได้ของประชาชน การขนส่ง และการสื่อสารการบันเทิงการอ่านและ ท่ีลดลงโดยเฉพาะภาคเกษตรกรรม ปริมาณสินเช่ือ การศกึ ษา ฯลฯ รวมขยายตัว ร้อยละ 2.3 จากสถาบนั การเงินเฉพาะ กจิ ของรัฐปล่อยสินเชื่อเพ่ือช่วยเหลือเกษตรกร ตาม มาตรการธุรกจิ ชมุ ชนสร้างไทย

- ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2563 อัตราเงินเฟ้อขยายตัวร้อยละ 0.4 ปรบั ลดลงจากร้อยละ 1.0 ในเดอื นกอ่ น ตามการ เพ่ิมข้ึนหมวดอาหาร และเคร่ืองด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ หมวดข้าวแป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง เน้ือสัตว์ เป็ด ไก่ และสัตว์น้า ไข่ และผลิตภัณฑ์นม ผักและผลไม้ เครื่องประกอบอาหารเครือ่ งไม่มแี อลกอฮอล์ อาหาร บริโภค-ในบ้าน อาหารบริโภค-นอกบ้าน หมวดการ ตรวจรักษาและบริหารส่วนบุคคลเปน็ สาคัญ การจ้าง งานขยายตัวร้อยละ 1.6 ตามความต้องการแรงงาน ในอุตสาหกรรม และภาคบริการเพ่ิมขึน้

หนา้ 10

สานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ ของมนษุ ย์จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

บทท่ี 3 สถำนกำรณท์ ำงสงั คมของ จงั หวดั

3.1. สถำนกำรณ์เชิงกล่มุ เป้ำหมำย (1) สถานการณ์เดก็ (อายุแรกเกิด – ไม่เกนิ 18 ปี )

พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 โดยทรี่ ้อยละประชากรเด็กเปรียบเทียบกับ เด็ก หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต่ากว่าสิบแปดปี ประชากรรวมในพ้ืนท่ีระดับอาเภอพบว่าอาเภอ บริบูรณ์ แต่ไม่รวมถงึ ผทู้ ี่บรรลนุ ิตภิ าวะดว้ ยการสมรส ชัยบุรีร้อยละ25.89 ของประชากรเด็กทั้งหมดใน พื้นท่ีระดับอาเภอมากที่สุด โดยท่ีอาเภอท่าฉางมี ประชากรเด็ก (ณ วันท่ี 31 มิถุนายน ร้อยละ 21.62 ของประชากรเด็กทั้งหมดในพื้นที่

  1. จานวน 250,364 คน (ชาย 128,794 คน ระดับอาเภอน้อยท่สี ุด หญิง 121,870 คน ) ร้อยละ 23.39 โดยลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ร้อยละ 0.54

รายละเอยี ด ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิ.ย.63

ชำย หญงิ รวม ประชากรเด็กในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี 2559 – 2562 ในช่วง 4 ปี พบว่าจานวนประชากร เด็กปฐมวยั เดก็ ช่วงปี 2559 – 2561 ลดลงติดต่อกัน 3 ปี และ ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2562 มจี านวน 251,735 คน (อายแุ รกเกดิ - 40,255 38,151 78,406 คิดเป็นรอ้ ยละ 23.57 เพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 2.28 จากปี 2561 ท้ังน้ีได้พบว่าข้อมูลประชากรเด็กวัยเรียน 5 ปี) (อายุ 16 – 17 ปี) ลดลงอย่างต่อเนื่อง 4 ปี ติดต่อกัน เด็กวัยเรยี นตาม 74,887 70,302 145,189 การศึกษาภาคบังคับ

(อายุ 6– 15 ปี)

เด็กวัยเรียน 13,652 13,117 26,769 (อายุ 16 – 17ปี)

รวม 128,794 121,570 250,364

ร้อยละของประชากรทั้งหมด 23.39

ท่มี า ที่ทาการปกครองจังหวดั สุราษฎรธ์ านี

ประชากรเด็กในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 24.12 % 23.80% 23.57% อาเภอเมอื งสุราษฎร์ธานีมากทสี่ ุด จานวน 41,483 คน โดยท่ีจานวนประชากรเด็กท่ีมีจานวนน้อย 249,793 247,905 251,735 ทสี่ ดุ อาเภอบา้ นตาขนุ จานวน 3,752 คน 23.48%

245,739

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

หนา้ 11

สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันของมนษุ ย์จังหวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

เดก็ ทอี่ ยู่สถานศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี มีจานวน และ ร ะ ดับ มัธ ย มศึก ษา จากข้อมูลสานักงาน นักเรียนระดับมัธยมศึกษามากท่ีสุด จานวน ศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ข้อมูล ณ วันที่ 10 19,894 คน โดยท่ีอาเภอท่าฉางมีจานวนนักเรียน มิถุนายน 2563) จานวนเด็กในสถานศึกษาระดับ ระดบั มธั ยมศึกษาน้อยทสี่ ุด 629 คน ประถมศึกษา จานวน 91,247 คน (ชาย 47,282 คน หญิง 43,965 คน) และจานวนเด็กในสถานศึกษา เด็กท่ีออกกลางคันในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา จานวน 57,218 คน (ชาย 26,069 และระดับมัธยมศึกษา ข้อมูลสานักงานศึกษาธิการ คน หญิง 31,149 คน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน

  1. จานวนเด็กออกกลางคันในสถานศึกษาระดับ ระดับกำรศกึ ษำ จำนวนนกั เรียน /นักศกึ ษำ รวม ประถมศึกษา จานวน 113 คน (ชาย 74 คน หญิง 39 ชำย หญิง คน) และจ านวนเด็กในสถานศึ กษาระดั บ ประถมศึกษา จานวน 165 คน (ชาย 106 คน หญิง ประถมศึกษำ 47,282 43,965 91,247 59 คน)

มัธยมศึกษำ 26,426 31,489 57,218

ทมี่ า สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

ระดับกำรศกึ ษำ จำนวนนกั เรียน /นกั ศกึ ษำ รวม ชำย หญงิ ประถมศึกษำ มัธยมศึกษำ 74 39 113

106 59 165

ทม่ี า ท่ที าการปกครองจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี มีจานวน หนา้ 12 นักเรียนระดับประถมศึกษามากท่ีสุด จานวน 18,701 คน โดยท่ีอาเภอบ้านตาขุนมีจานวน นักเรียนระดับประถมศกึ ษาน้อยที่สุด 1,248 คน

อาเภอพุนพินมีจานวนนักเรียนท่ีออก กลางคันในระดับประถมศึกษามากที่สุด จานวน 34 คน

สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ ของมนุษยจ์ ังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

อาเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านีมีจานวนนกั เรยี น โดยที่จานวนคดอี าชญากรรมทีม่ ีเด็กเป็นผู้ ท่ีออกกลางคันในระดับมัธยมศึกษามากท่ีสุด ถูกระทาในพ้ืนท่ีอาเภอเมอื งสุราษฎร์ธานีมากท่ีสุด จานวน 49 คน 13 คดี

คดีอาชญากรรมท่ีเด็กและเยาวชนเป็น เด็ กท่ี อยู่ ใน การดู แลของสถานพิ นิ จและ ผู้กระทา/ผู้ถูกกระทา รวบรวมข้อมูลตารวจภูธร ค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ในรอบปี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในรอบปี 2562 จานวนคดี 2562 เด็กท่ีอยู่ในการดูแลของสถานพินิจและ อาชญากรรมท่ีเด็กและเยาวชนเป็นผู้กระทา คุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ท่ี จานวน 175 คดี จัดเก็บข้อมูลเป็นรายไตรมาส จานวนคดีที่เด็ก กระทาความผิดมากท่ีสุดเป็นคดีความผิดเก่ียวกับ พ้ืนทีอ่ าเภอเมืองสุราษฎรธ์ านีมากทสี่ ุด 74 ยาเสพตดิ มากท่สี ุด รองลงคดีเกี่ยวกบั ชีวิตและร่าง คดี รองลงมาอาเภอพุนพิน 17 คดี และอาเภอ การ และคดีความผดิ อื่น ๆ กาญจนดิษฐ์ 16 คดี ลกั ษณะของคดี ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส คดีอาชญากรรมที่มีเด็กเป็นผู้ถูกระทา จานวน 34 คดี ท่ี 1 ที่ 2 ท่ี 3 ท่ี 4

คดีอุกฉรรจ์และ - - -1 สะเทือนขวญั

ความผิดเกย่ี วกับความ 10 - 1 0 สงบสุขฯ

ความผิดเกีย่ วชวี ติ และ 24 6 9 5 ร่างกาย

ความผิดเก่ยี วกบั ทรพั ย์ 13 2 13 6

ความผิดเก่ยี วกบั เพศ 9 1 7 1

ความผดิ เกีย่ วกับยาเสพ 99 33 70 48 ติดฯ

ความผิดเกี่ยวกับอาวธุ 12 2 6 7 และวัตถุระเบิด หนา้ 13 ความผิดอื่น ๆ 21 8 10 16

ทม่ี า สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎรธ์ านี

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ ของมนุษยจ์ งั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

เด็กท่ีถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว/ทารุณ โดยที่อาเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านีมีจานวนแม่ กรรมทางรา่ งกาย จิตใจ เพศ ทมี่ กี ารแจง้ เหตุขอ้ มูล เด็กที่ต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร(แม่วัยรุ่น) มากที่สุด จากศูนย์ปฏิบัตกิ ารเพื่อป้องกันการทาความรุนแรงใน จานวน 240 คน รองลงอาเภอกาญจนดิษฐ์ จานวน ครอบครัว สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันของ 96 คน มนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในรอบปี 2563 ไตรมาสที่ 1 – 2 จานวนเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงใน แม่เด็กขอลงทะเบียนขอรับสิทธิ/เด็กที่ ครอบครัว/ทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจ เพศ ท่ีมีการ ได้รับเงินอุดหนุนตำมโครงกำรเงินอุดหนุนเพื่อ แจง้ เหตุ จานวน 5 ราย เล้ียงดูเด็กแรกเกิด โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการ เล้ียงดูเดก็ แรกเกิด เปน็ นโยบายตามบูรณาการการ รอบปี เดก็ ทถ่ี ูกกระทาความ เดก็ ท่เี ป็นผู้กระทาความ พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ซ่ึงเป็นการสร้างระบบ 2563 รุนแรงในครอบครวั / รนุ แรงต่อผู้อ่ืน ( เช่น คุ้มครองทางสังคม (Social Protection) โดยจัด ทารณุ กรรมทางร่างกาย สวัสดิการการเงินอุดหนุนให้กับเด็กแรกเกิดใน จติ ใจ เพศ ทีม่ ีการแจ้ง ทารา้ ยบุคคลใน ครัวเรือนยากจน หรือครัวเรือนท่ีเส่ียงต่อความ ครอบครัว เพ่อื น ผู้อน่ื ) ยากจน เพอ่ื ให้เด็กไดร้ บั การดแู ลใหม้ คี ุณภาพชวี ติ ท่ี เหตุ(คดี) ดี เหมาะสม รวมท้ังเปน็ การลดความเหล่ือมล่าทาง ที่มกี ารแจ้งเหตุ(คดี) สังคม เป็นการประกนั สทิ ธใิ หเ้ ด็กไดร้ บั สิทธโิ ดยตรง

ไตรมาสท่ี 3 --

1

ไตรมาสที่ 2 --

2

ทม่ี า ตารวจภูธรจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

แม่เด็กท่ีตั้งครรภ์ก่อนวยั อันควร (แม่วัยรุ่น) ตาม

พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ

ตั้งครรภใ์ นวัยรุ่น พ.ศ. 2559 กฎหมายที่มุง่ ปอ้ งกนั

และแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการบนพื้นฐานสิทธิ

ของวัยรุ่น ความหมายและสิทธิของวัยรุ่นภายใต้

พ.ร.บ. คอื บุคคลท่อี ายุมากกว่า 10 ปี แต่ไม่ถึง 20

ปี ข้อมูลจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ รอบปี แม่เด็กขอลงทะเบยี น เด็กท่ีไดร้ ับเงินอดุ หนนุ 2563 ขอรบั สทิ ธเิ งนิ อุดหนนุ เพื่อเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกดิ ธานี ในรอบปี 2563 ช่วงไตรมาส 1 – 2 มีจานวน เพอ่ื เลีย้ งดูเดก็ แรกเกิด ไตรมาสท่ี 1 (ราย) สะสม จานวน 751 คน (ราย) 26,813 28,782

รอบปี จานวนแม่เดก็ ท่ี หมายเหตุ ไตรมาสท่ี 2 34,782 31,188 2563 ตั้งครรภ์ก่อนวยั อนั ควร (คน) รวบรวมขอ้ มูล จากข้อมลู ณ วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2563 พบ ไตรมาสท่ี งบประมาณ พ.ศ. 1 536 จานวนแม่ที่อายุไมเ่ กิน 18 ปี จานวน 2,439 คน (7.82%) 2563 ไตรมาสที่ 751 และเปน็ แมเ่ ด็กทีอ่ ายุไมเ่ กิน 20 ปี 4,771 คน (15.29%) หนา้ 14 2 ทัง้ นี้จานวนเดก็ ที่ได้รบั เงนิ อุดหนุนเพ่อื เลยี้ งดูเดก็ แรกเกดิ

31,188 คน เป็นรอ้ ยละ 39 ของจานวนเด็กปฐมวัย (อายุ

ทม่ี า ตารวจภูธรจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี แรกเกดิ – 5 ปี ) จานวน 78,406 คน

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ ของมนษุ ย์จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(2) สถำนกำรณ์ผู้สูงอำยุ (อำยุ 60 ปขี นึ้ ไป ) คาว่า “สังคมผู้สูงอายุ” องค์การสหประชาชาติ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับการก้าวเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Ageing society หรือ Aging society) ระดับ ให้นิยามคาว่า “ผู้สูงอายุ” หมายถงึ บุคคลซึ่งมีอายุ สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) และระดับ เกินหกสิบปีบรบิ รู ณข์ ึ้นไปและมีสญั ชาติไทย Super – aged society โดยให้นิยามของระดับต่าง ๆ ซงึ่ ทั้งประเทศไทย และรวมท้ังประเทศต่าง ๆ ท่ัว ประชากรผู้สูงอายุ (ณ วันที่ 31 โลก ใช้ความหมายเดียวกันในนิยามของทุกระดับ มิถุนายน 2563) จานวน 163,991 คน (ชาย ของสังคมผู้สงู อายุ ดังนี้ 72,881 คน หญิง 91,110 คน ) ร้อยละ 14.77 โดยเพ่ิมขึ้นจาก ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 - การก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คือ ร้อยละ 0.34 การมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป รวมท้ังเพศชาย และเพศหญิงมากกว่า 10 % ของประชากรท้ัง รายละเอยี ด ข้อมลู ณ วันที่ 30 ม.ิ ย.63 ประเทศหรือมีประชากรอายุต้งั แต่ 65 ปี เกิน 7 % ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ทั้ ง ป ร ะ เ ท ศ สั ง ค ม ผู้ สู ง อ า ยุ โ ด ย ชาย หญงิ รวม สมบูรณ์ คือ เม่ือประชาอายุ 60 ปีข้ึนไป เพิ่มขึ้น เป็น 20 % หรือ ประชากรอายุ 65 ปี เพิ่มเป็น อายุ 60 – 69 ปี 41,405 46,844 88,249 14 % ของประชากรโดยรวมทง้ั หมดของท้ังประเทศ

อายุ 70 – 79 ปี 19,794 25,680 45,474 - สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ คือ เมื่อประชาอายุ 60 ปขี นึ้ ไป เพิม่ ขนึ้ เป็น 20 % หรือ อายุ 80 - 89 ปี 9,491 14,823 24,314 ประชากรอายุ 65 ปี เพ่มิ เป็น 14 % ของประชากร โดยรวมทง้ั หมดของทัง้ ประเทศ อายุ 90 – 100 ปี 2,050 3,601 5,651 - Super – aged society คือ สังคมท่ีมี อายุ 100 ปขี ึน้ ไป 141 162 303 ประชากรอายุ 65 ปีข้ึนไปมากกว่า 20 % ของ ประชากรท้ังประเทศอย่างไรก็ตาม ทุกประเทศทั่ว รวม 72,881 91,110 163,991 โลกมีการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในช่วงเวลา แตกต่างกันตามความเจริญ ม่ังคั่ง ซ่ึงมีผลต่อ ร้อยละของประชากรทัง้ หมด 15.32 สุขภาพและการมีอายยุ ืนของประชาชน

ที่มา ทีทาการปกครองจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

ประชากรผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานีมากท่ีสุด จานวน 26,579 คน รองลงมาอาเภอกาญจนดิษฐ์ และอาเภอพุนพิน โดยท่ีจานวนประชากรผู้สงู อายุท่ีมีจานวนน้อยท่ีสุด อาเภอบ้านตาขนุ จานวน 2,208 คน

หนา้ 15

สานกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ ของมนษุ ย์จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

ทั้ ง นี้ ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ ต่ อ อาเภอบ้านตาขุน อาเภอเวียงสระ อาเภอคีรีรัฐ ประชากรท้ังหมดพื้นที่อาเภอ พบว่าอาเภอไชยา นคิ ม อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี อาเภอกาญจนดิษฐ์ สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.47 ของ และอาเภอดอนสกั ประชากรในพื้นที่อาเภอทั้งหมด รองลงมาอาเภอ ท่าฉางร้อยละ 17.38 ของประชากรในพน้ื ทอ่ี าเภอ - อาเภอในจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มี ทั้งหมด และ อาเภอบ้านนาสาร ร้อยละ 16.79 ของประชากรในพื้นที่ โดยท่ีอาเภอที่มีร้อยละ ประชากรผู้สงู อายุ ตั้งแต่ร้อยละ 16 ข้นึ ไป จานวน สัดส่วนของประชากรผสู้ ูงอายตุ ่อประชากรทั้งหมด 6 อาเภอ ประกอบด้วยอาเภอท่าชนะ อาเภอไชยา พนื้ ที่อาเภอนอ้ ยที่สุด อาเภอชัยบุรี ร้อยละ 10.62 อาเภอท่าฉาง อาเภอพุนพิน อาเภอบ้านนาเดิม ของประชากรในพ้ืนทีอ่ าเภอท้งั หมด และอาเภอบ้านนาสาร

ภาพ ร ว ม ขอ ง จัง หวั ดสุร าษ ฎร์ธ านี ประชากรผ้สู งู อายุในจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประชากรผู้สูงอายุอายุ 60 ปีข้ึนไป ในจังหวัดสุ ปี 2559 – 2562 มีสถานการณ์เพ่ิมขึ้นอยา่ ง ราษฎร์ธานี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จานวน ต่อเนอื่ ง ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562 จานวน 161,018 คน ร้อยละ 15.08 ของประชากรใน 161,018 คนเพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 6.92จากปี 2561รอ้ ย จังหวัดสุราษฎร์ธานีทงั้ หมด และประชากรผสู้ งู อายุ ละสัดสว่ น 15.08 ของประชากรในจังหวดั สรุ าษฎร์ อายุ 65 ปีข้ึนไป ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ธานที ้งั หมด จานวน 113,269 คน ร้อยละ 10.61 ของประชากร ในจังหวดั สรุ าษฎร์ธานที งั้ หมด ถอื ว่าจังหวัด สุ 14.39 % 15.08 % ราษฎร์ธานีการก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยท่ีจานวน ประชากรผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในพื้นที่ 150,596 161,018 ระดับอาเภอพบว่าแต่ละพ้ืนท่ีการก้าวสู่สังคม ผู้สูงอายุ ไดด้ งั นี้ 13.43 % 13.87 %

- อาเภอในจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มี 139,092 144,492 ประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 10 ไม่เกินร้อยละ 13 จานวน 6 อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอชัยบุรี ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 อาเภอพระแสง อาเภอเคียนซา อาเภอพนม อาเภอ วิภาวดี และอาเภอเกาะพะงนั 6.92 3.06 3.88 4.22 - อาเภอในจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มี ประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 13 ไม่เกินร้อยละ 16 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 จานวน 7 อาเภอ ประกอบด้วยอาเภอเกาะสมุย หนา้ 16

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ ของมนุษย์จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

สถานการณ์ผสู้ งู อายุในพน้ื ที่จงั หวัด สุ ผู้สงู อายทุ ่ีติดบ้านในพืน้ ท่ีระดบั อาเภอ ท่ีมี ราษฎร์ธ านี ก าร ร ว บร ว มข้อมูลสานัก ง าน จานวนผู้สูงอายุติดบ้านมากท่ีสุดอาเภอเกาะสมุย สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปีงบประมาณ จานวน 1,208 คน รองลงมาอาเภอเมืองสรุ าษฎร์ธานี พ.ศ. 2563 ( ณ วันที่ 30 มถิ ุนายน 2563) สารวจ 535 คน และอาเภอพุนพิน 343 คน ผู้สูงอายุท่ีอยูจ่ ริงในจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประชากร ผู้สูงอายุ จานวน 137,261 คน พบว่าผู้สูงอายุติด ผู้สูงอายุที่ติดเตียงในพ้ืนที่ระดับอาเภอ ท่ีมี สังคม จานวน 120,857 คน (ร้อยละ 88.05) จานวนผสู้ ูงอายตุ ิดบ้านมากที่สดุ อาเภอเมอื งสุราษฎร์ รองลงมาผู้สูงอายุท่ีติดบ้าน จานวน 4,737 คน ธานี จานวน 117 คน รองลงมาอาเภอกาญจนดษิ ฐ์ (ร้อยละ 3.60) และผู้สูงอายุติดเตียง 1,187 คน 107 คน และอาเภอเกาะสมุย 104 คน (ร้อยละ 0.84) โดยไม่ได้คัดกรอง จานวน 10,310 คน (ร้อยละ 7.51 )

รายการ ผสู้ ูงอายตุ ดิ ผสู้ ูงอายทุ ่ี ผูส้ งู อายุ ผ้สู งู อายุ สังคม ตดิ บ้าน ติดเตียง ไมไ่ ดค้ ดั ปชก.อยจู่ ริงใน กรอง จงั หวัด 115,432 5,083 1,161 10,599 132,275 คน (ร้อยละ (ร้อยละ (รอ้ ยละ (รอ้ ยละ ปีงบประมาณ 87.26) 3.84) 0.88) 8.01 )

2562 120,857 4,937 1,157 10,310 ปชก.อยู่จริงใน (ร้อยละ (ร้อยละ (รอ้ ยละ (รอ้ ยละ จังหวดั 137,261 88.05) 3.60) 0.84) 7.51) คน ปีงบประมาณ

2563 (ณ วันท่ี 30 มิ.ย. 63)

ทีม่ า สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

1% 7% 4% ผู้สงู อายุติดสังคม ผสู้ ูงอายุที่เป็นติดบา้ น 88% ผูส้ ูงอายุที่ตดิ เตยี ง ผูส้ งู อายุไมไ่ ด้คดั กรอง

ผสู้ ูงอายทุ ่ีตดิ สังคมในพืน้ ทีร่ ะดับอาเภอ ที่ หนา้ 17 มีจานวนผู้สูงอายุติดสังคมมากท่ีสุดอาเภอเมือง สุราษฎร์ธานี จานวน 18,816 คน รองลงมา อาเภอกาญจนดิษฐ์ จานวน 13,088 คน และ อาเภอพนุ พิน 11,123 คน

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั ของมนษุ ย์จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ คือสวัสดิการท่ีรัฐมีไว้ รอบขอ้ มลู จ า น ว น ผู้ สู ง อ า ยุ เพ่ือช่วยเหลือผู้สูงอายุ เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุหรือเบี้ย ป ร ะ ช า ก ร ได้รับเบี้ยยัง รอ้ ยละ ยังชีพผู้สูงอายุนับว่าเป็นอีกสวัสดิการขั้นพื้นฐาน ผู้สงู อายุ ชีพ ภาครัฐจัดสรรไว้ให้กับผู้สูงอายุ คือ บุคคลท่ีมีอายุ 60 ปีข้ึนไป เพ่ือเป็นช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระ ณ วนั ที่ 31 161,018 142,521 88.51 ค่าใช้จา่ ยการดารงชีพในแต่ละเดอื น โดยในแต่ละปี ธนั วาคม 2562 จะมีการเปดิ ให้ผู้ท่มี คี ุณสมบัติรับเบี้ยยังชพี ผ้สู งู อายุ รายใหม่ ๆ มาลงทะเบียน ที่มา สนง.สง่ เสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คุณสมบัตขิ องผ้สู ูงอายุทไ่ี ด้รับเบย้ี ผูส้ ูงอายุ หนา้ 18 มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ต้องไม่เคยได้รับสิทธิ ประโยขน์จากหนว่ ยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ไม่ ว่าจะเป็นเงินบานาญ เบี้ยหวัด บานาญพิเศษ รวมถึงเงินอนื่ ๆ ในลักษณะเดียวกนั เชน่ ผู้สูงอายุ ที่ผู้ในสถานสงเคราะห์ของรัฐหรือ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ ผ้ทู ่ีไดร้ ับเงินเดือน คา่ ตอบแทน รายได้ ประจา หรือผลประโยชนต์ อบแทนอย่างอื่นท่รี ัฐจัด ให้เป็นประจา การจ่ายเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุจะเป็น แบบข้ันบันไดตามช่วงอายุ โดยผู้สูงอายุจะได้รับ เงินช่วยเหลือเป็นรายเดือนต่อเนื่องไปจนกว่าจะ เสียชีวติ ดงั นี้

- อายุ 60 – 59 ปี ได้รบั เงนิ 600 บาท/เดือน - อายุ 70 – 79 ปี ได้รับเงนิ 700 บาท/เดอื น - อายุ 80 – 89 ปี ได้รบั เงนิ 800 บาท/เดือน - อายุ 90 ปีขนึ้ ไป ไดร้ ับเงนิ 1,000 บาท/เดอื น

รวบรวมข้อมูลจาก สานักส่งเสริมการ ปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานีพบว่า ข้อมูล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผู้สูงอายุท่ีได้รับ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ142,521 คน (ร้อยละ 88.51) เทียบกับจานวนประชากรผู้สูงอายุ ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2562 จานวน 161,018 คน

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั ของมนุษยจ์ ังหวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(3) สถำนกำรณค์ นพิกำร คนพกิ ารจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ณ วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2563 จานวน 21,468 คน (ชาย 11,903 พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒน า คน หญงิ 9,566 คน ) รอ้ ยละ 1.95 ของประชากร คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 คนพิการ ทง้ั หมดในจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี หมายถึง บุคคลที่มีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรม ในชีวิตประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม จาแนกตามช่วงอายุพบว่าคนพิการอายุแรก เน่ืองจากมคี วามพบพร่องทางการได้เหน็ การไดย้ ิน เกิด – 18 ปี จานวน 1,814 คน (ร้อยละ 7.99 ) การเคล่ือนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ อายุ 19 ปี – 59 ปี จานวน 10,087 คน (ร้อยละ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความ 47.32 ) และอายุ 60 ปีข้นึ ไป (ร้อยละ 44.68 ) บกพร่องอ่ืน ๆ ประกอบกับมีอุปสรรคด้านต่างๆ และมีความจาเป็นพิเศษท่ตี ้องไดร้ ับความชว่ ยเหลือ อายุ 60 ปี ข้นึ ไป อายแุ รกเกิด – ด้านใดด้านหน่ึง เพ่ือให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมใน (44.68%) 18 ปี (7.99%) ชีวิตประจาวันหรือเขา้ ไปส่วนร่วมทางสงั คมได้อย่าง 45% บคุ คลทัว่ ไป 8%

ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและ อายุ 19 ปี – 59 ความม่ันของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ ปี (47.32%) ความพิการ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2555 ได้กาหนด 47% ประเภทพิการ ดังน้ี จาแนกตามประเทศความพิการ โดยพบว่า - ความพกิ ารทางการเหน็ คนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย - ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง ก า ร ไ ด้ ยิ น ห รื อ สื่ อ จานวน 10,612 คน (ร้อยละ 48.87 ) รองลงมา ความหมาย คนพิการทางการได้ยินหรอื สื่อความหมาย จานวน - ความพิการทางการเคล่ือนไหวหรือทาง 4,087 คน ( ร้อยละ 19.21 ) และคนพิการทาง รา่ งกาย สติปญั ญา จานวน 2,003 คน (ร้อยละ 9.48) - ความพิการทางจติ ใจหรอื พฤติกรรม - คามพกิ ารทางสติปัญญา ไม่ระบุ 144 10,612 - ความพกิ ารทางเรยี นรู้ พกิ ารซอ้ น 1,329 - ความพิการทางออทสิ ติก ทางออทิสติก ทางการเรยี นรู้ 256 ทางสติปญั ญญา 115 ทางจติ ใจหรอื พฤติกรรม ทางการเคลือ่ นไหวหรือทางรา่ งกาย 2,003 ทางการไดย้ ินหรอื สื่อความหมาย 1,534 ทางการเหน็ (6.55%) 4,087 1,392

หนา้ 19

สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่นั ของมนษุ ย์จังหวดั สุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

สถานการณ์คนพกิ ารในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง รองลงมาคนพิการประเภท ปี 2559 – 2562 ช่วง 4 ปี ปี 2559 – 2562 พบว่า ทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย ณ วันท่ี 31 จานวนคนพิการ ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 มจี านวน ธนั วาคม 2562 จานวน 3,971 คน ร้อยละ 19.13 20,763 คน คิดเป็นร้อยละ 1.94 ของประชากรใน เป็นสัดส่วนร้อยละของคนพิการทั้งหมด โดยที่ช่วง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.40 จากปี ปี ปี 2559 – 2562 ช่วงปี 4 มีสถานการณ์จานวน 2561 ท่ีมีจานวนคนพิการ 18,637 คน โดยที่ช่วง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง และคนพิการประเภท ปี 2559 – 2561 ท่ีมีสถานการณ์คนพิการเพ่ิมข้ึน ทางการเห็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จานวน อยา่ งต่อเนื่อง 1,389 คน ร้อยละ 6.69 โดยที่ช่วงปี ปี 2559 – 2562 ช่วงปี 4 มีสถานการณ์จานวนเพิ่มขึ้นอย่าง 1.94 % ต่อเน่อื ง 1.75 % 1.43 % 1.57 % 20,763 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

15,068 16,679 18,637

6,878,3757 8,84120,102

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 11,,124159 1.28 1.1 1.15 1,13,38909

2,789 3,13,35775

3,971 1,117 11,,233660

1,495 1,718 111,,,889097729 179819941 163 129109 248 11,,002944 11,,139157 111555100 151

0 สถานการณ์คนพิการตามประเภทความ หนา้ 20 พิก าร ที่สน ใจ คนพิการทาง ออ ทิสติก ที่มี ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ส ถ า น ก า ร ณ์ ท่ี แ น ว โ น้ ม เ พ่ิ ม ข้ึ น อ ย่ า ง น่ า ส น ใ จ เนื่องจาก ออทิสติก (Autistic) หรือที่รู้จักกันใน คนพิการตามประเภทความพิการ ปี 2559 ชื่อกลุ่มอาการออทิสติก ( Autism Spectrum – 2562 ช่วงปี 4 พบว่าคนพิการ ประเภททางการ Disorders: ASD) คือ ภาวะระบบประสาททางาน เคล่ือนไหวหรือทางร่างกาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม ซับซ้อน ผู้ที่เป็นออทิสติกจะมีความสามารถ 2562 จานวน 10,102 คน ร้อยละ 48.65 เป็น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ค น ใ น สั ง ค ม สดั ส่วนรอ้ ยละของคนพกิ ารท้ังหมด โดยท่ชี ว่ งปี ปี พัฒนาการทางภาษา และทักษะการสื่อสารด้อย 2559 – 2562 ช่วงปี 4 มีสถานการณ์จานวน กว่าคนปกติ ท้ังน้ี ผู้ป่วยออทิสติกมักมีพฤติกรรม ทาอะไรเหมอื นเดิมซ้า ๆ เช่น โยนของไปมา สะบัด

สานักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ ของมนุษย์จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

มือซ้า ๆ หรือชอบพูดเลียนแบบ โดยอาการอาจ คนพิการที่ได้รับเบี้ยความพิการ จาก รุนแรงหรือไม่รุนแรงกไ็ ด้ เพราะผู้ป่วยออทสิ ติกแต่ สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด ละคนมีปญั หาและความรุนแรงทีแ่ ตกตา่ งกัน สุราษฎร์ธานี คนพิการที่ได้รับเบ้ียความพิการ คน พิการที่ได้รับเบี้ยความพิการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม โดยท่ีสาเหตุของโรคออทิสติกท่ีแท้จริง 2562 จานวน 19,982 คน ร้อยละ 96.24 คน จาก ยังคงอยู่ในข้ันตอนของการค้นหา อย่างไรก็ตาม จานวนคนพกิ าร 20,763 คน จากผลการรายงานพบวา่ การรวมตวั กันของตัวแปร – พนั ธกุ รรมและสง่ิ แวดล้อม น่าจะสง่ ผลใหเ้ กดิ การ ค น พิ ก า ร ข อ รั บ เ งิ น ทุ น กู้ ยื ม เ พื่ อ ก า ร เปลี่ยนแปลงตอ่ การพฒั นาของสมอง โรคออทิสติก ไม่ได้เกิดขึ้นจากการเล้ียงดูสภาวะแวดล้อมทาง ประกอบอาชีพแก่คนพิการ ณ วันท่ี 30 มิถุนายน สงั คม และไมใ่ ช่ความผดิ ของตัวผู้ปว่ ยเอง จะอยู่ใน กลมุ่ พ่อแม่ที่อายุมาก 2563 ดงั น้ี

คนพิการในพนื้ ท่ีระดับอาเภอ ทีม่ ีคนพิการ ลกู หนป้ี ัจจุบนั 1,891 มากที่สุด คืออาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จานวน 3,000 คน รองลงมาอาเภอกาญจนดิษฐ์ จานวน ลกู หนป้ี ิดบญั ชี 629 2,275 คน และอาเภอพุนพนิ ลูกหน้คี ้างชาระ 1,442 โดยที่รอ้ ยละสดั ส่วนคนพกิ ารตอ่ ประชากร ทั้งหมดในพื้นท่ีระดับอาเภอ พบว่าอาเภอร้อยละ ลูกหนีป้ กติ 449 สัดส่วนคนพิการมากท่ีสุด คืออาเภอไชยา ร้อยละ 3.39 รองลงมา อาเภอคีรีรัฐนิคม ร้อยละ 2.55 ท่มี า ศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการจังหวดั สุราษฎรธ์ านี และอาเภอบ้านตาขุน ร้อยละ 2.38 การพักชาระหน้ีเงินกู้ประกอบอาชีพคน

พิการตามมาตร การช่ว ยเหลือคนพิการใน

สถานการณ์วิกฤตกิ ารแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรน่า

(COVID-19 ) จานวน 128 ราย

หนา้ 21

สานักงานพฒั นาสังคมและความม่ันของมนษุ ยจ์ ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(4) สถำนกำรณค์ รอบครวั ครอบครวั ท่ีมีการกระทาความรุนแรงตอ่ จัง หวั ดสุ ร า ษฎ ร์ธ านี มี จา น ว น กัน (ความรุนแรงดา้ นร่างกาย จิตใจ และเพศ)

ครัวเรือน 355,218 ครัวเรือน จาแนกอยู่ในเขต รอบข้อมลู จำนวนครอบครัว เทศบาล จานวน 140,263 ครัวเรือน นอกเขต 194,955 ครัวเรือน จากการสารวจข้อมูลพื้นฐาน ปี 2562 20 ของครัวเรือน พ.ศ. 2562 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2563 36

โดยที่ครัวเรือนท่ีมีสมาชิกท่ีไม่มีสัญชาติ ณ วันท่ี 30 ม.ิ ย.63 ไทย จานวน 9,621 ครัวเรือน (ในเขต 4,118 ครัวเรอื น นอกเขต 5,503 ครวั เรือน ทีม่ า ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารยุตคิ วามรนุ แรงในครอบครวั จ.สฎ

สถานภาพการทางานของผู้มีรายได้สูงสูด โดยพบวา่ ปี 2563 ณ วันท่ี 30 มิถุนายน ในครัวเรือน พบว่าประกอบธุรกิจของตนเอง 2563 ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบตั กิ ารยุตคิ วามรุนแรงใน 218,115 ครัวเรือน ลูกจา้ งเอกชน จานวน 64,199 ครอบครัว สนง.พมจ.สฎ มีจานวนครอบครัวท่ีมี ครัวเรือน ไม่ได้ทางานหารายได้ เช่น บาเหน็จ การกระทาความรุนแรงต่อกัน จานวน 36 บานาญ ฯลฯ จานวน 25,127 ครัวเรือน และ ครอบครัว เพิ่มขึ้นจากปี 2562 ท่ีมีจานวน ลูกจ้างรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ จานวน 24,288 ครอบครวั ท่ีมีการกระทาความรุนแรงตอ่ กนั จานวน ครวั เรือน 20 ครอบครัว ลักษณะกระทาความรนุ แรงเกดิ จาก การใช้รุนแรงทางร่างกาย สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก สถานการณ์จานวนครัวเรือนท่ีมีการจด การใชย้ าเสพตดิ ทะเบยี นสมรส/การหย่าในปี 2560 - 2561 สถานการณ์ความเข้มแข็งของครอบครัว รายการ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มาตรฐานครอบครัว จดทะเบียนสมรส 4,910 5,062 5,751 เข้มแข็ง หมายถึง ข้อกาหนดได้รบั การยอมรับเพื่อ จดทะเบยี นหย่า 1,977 2,131 2,035 นาไปใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติเป็นเครื่องมือการ ประเมินและการเทียบเคียง เพื่อแสดงถึงความ เข้มแข็งของครอบครัวในสังคมไทย ตลอดจนการ กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ การดาเนินงานของ หน่วยงาน ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งในทุกระดับ

เกณฑ์มาตร ฐาน คร อบครัว เข้มแข็ง หนา้ 22 หมายถึง ค่ามาตรฐานหรือเกณฑ์การวัดความ เข้มแข็งของครอบครัวตามมาตรฐานครอบครัว เข้มแข็งของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

สานกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ ของมนุษยจ์ ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

ในระบบฐานข้อมูลฯ ใช้คาว่า “ค่าดัชนีความ ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และด้านบทบาทหน้าท่ี เข้มแข็งของครอบครวั ” ระดับคะแนน 91.07 มากท่สี ดุ

มติ ิ/ดำ้ น เกณฑ์มำตรฐำน ปงี บประมาณ 2562

ดา้ นสมั พนั ธ์ภาพ 67.00 ปีง บประ มาณ พ .ศ. 2 5 6 2 สาร ว จ ครอบครัว จานวน 1,280 ครอบครัว ผ่านเกณฑ์ ด้านบทบาทหนา้ ทข่ี องครอบครัว 74.00 จานวน 1,104 ครอบครัว (ร้อยละ 86.25 ) ไมผ่ ่าน เกณฑ์ 176 ครอบครัว (ร้อยละ 13.75) ค่าเฉลี่ย ดา้ นการพ่ึงพาตนเอง 63.00 ดัชนีความเข้มแข้งของครอบครัวภาพรวม ระดับ คะแนน 81.56 ท่ียังสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน โดย ดา้ นทุนทางสงั คม 65.00 พบว่าด้านสัมพันธภ์ าพ ระดับคะแนน 53.75 ซึ่ง ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานด้านบทบาทหน้าท่ี ระดับ ดา้ นหลกี เลย่ี งภาวะเสย่ี ง 73.00 คะแนน 87.5 มากท่สี ุด

ค่าเฉล่ยี ดชั นีความเข้มแขง็ ของ 68.40 สถานการณ์ความเขม้ แข็งของครอบครัว ครอบครวั ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปี 2561 – 2562 เมื่อมี การเปรียบเทียบพบว่าค่าเฉล่ียดัชนีความเข้มแข้ง ท่มี า กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว ของครอบครัวภาพรวม ระดับคะแนน ปี 2562 ลดลงจากปี 2561 และลดลงในทุกด้าน โดยท่ี คา่ เฉลีย่ ดัชนีท่ีผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน พ บ ว่ า ด้ า น สั ม พั น ธ์ ภ า พ ล ด ล ง ต่ า ก ว่ า เ ก ณ ฑ์ ครอบครัวเขม้ แข็งปี งบประมาณ 2561 – 2562 ติดต่อกัน และหากพิจารณาในตัวช้ีวัดย่อยพบว่า ในมติ ิการยอมรับ/เคารพความคิดเหน็ ซ่ึงกนั และกัน ปีงบประมาณ 2561 และแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งด้วยเหตุผล รวมถึงมิติ

ปีง บประ มาณ พ .ศ. 2561 สาร ว จ หนา้ 23 ครอบครัว จานวน 1,858 ครอบครัว ผ่านเกณฑ์ จานวน 1,655 ครอบครัว (ร้อยละ 89.07 ) ไม่ผา่ น เกณฑ์ 203 ครอบครัว (ร้อยละ 10.93) ค่าเฉลี่ย ดัชนีความเข้มแข้งของครอบครัวภาพรวม ระดับ คะแนน 84.29 ที่ยังสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน โดย พบว่าด้านสัมพันธ์ภาพ ระดับคะแนน 66.86 ซ่ึง

สานักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ ของมนุษย์จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

การสื่อสารระหว่างกันอย่างมีคุณภาพ และการ ปี 2562 ภาพรวมการให้ความช่วยเหลอื จานวน แสดงออกถงึ ความรกั และเอาใจใสร่ ะหว่างกนั 17 คน (ชาย 12 คน หญิง 5 คน) เปน็ การ ชว่ ยเหลอื ครอบครัว และส่งตวั เข้าสถานสงเคราะห์ (5) สถำนกำรณค์ นไร้ทพี่ ึง่ มากกท่สี ุด

พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่ (6) สถำนกำรณ์ผู้ประสบปัญหำทำงสังคม

พึ่ง พ.ศ. 2557 มาตรา 3 “คนไ ร้ที่พึ่ง ”

หมายความว่าบุคคลซงึ่ ไรท้ ่ีอย่อู าศยั และไม่มรี ายได้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงาน พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุ เพียงพอแก่การยังชีพ และให้รวมถึงบุคคลท่ีอยู่ใน ราษฎร์ธานีและหน่วยงาน พม. One Home ใน จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี งบประมาณรวม 7,190,000 บาท สภาวะยากลาบากและไมอ่ าจพ่งึ พาบุคคลอน่ื ได

จากข้อมูลศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง

จงั หวดั สุราษฎร์ธานี พบว่า รำยกำร งบประมำณจดั สรร ผูไ้ ดร้ บั กำร (บำท) ชว่ ยเหลอื การให้ความช่วยเหลือคนไร้ทีพ่ งึ่ รบั ตวั เข้ารบั การ สนง.พฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์ จ.สฎ สงเคราะห์ พ.ศ. 2561 เงินอดุ หนุน การให้ความชว่ ยเหลอื ชาย หญิง รวม ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบ 1,341,341,000 669 ราย สถานสงเคราะห์ 549 ปัญหาทางสงั คม

ภูมิลาเนา 415 กรณฉี ุกเฉิน โรงพยาบาล 101 ครอบครัว 13 10 23 เงินสงเคราะห์เด็ก

ในครอบครัว 2,086,000 1,029 ราย

ยากจน

รวม 23 15 38 เงนิ สงเคราะห์ 330,000 166 ราย ผูส้ งู อายุในภาวะ ทม่ี า ศนู ยค์ ้มุ ครองคนไร้ทพ่ี ง่ึ จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ลาบาก ปี 2561 ภาพรวมการให้ความชว่ ยเหลือ จานวน 38 เงนิ สงเคราะห์และ

คม (ชาย 23 คน หญงิ 15 คน) เป็นการช่วยเหลือ ฟ้นื ฟูสมรรถภาพ 433,000 153 ราย

ครอบครัวมากท่สี ุด คนพิการ

รวม 4,190,000 2,017 ราย

การใหค้ วามช่วยเหลือคนไรท้ ่พี ่งึ รับตวั เข้ารบั การ ศนู ย์คมุ้ ครองคนไร้ที่พึ่ง จ.สฎ.

สงเคราะห์ พ.ศ. 2562 เงนิ สงเคราะห์

การให้ความช่วยเหลอื ชาย หญิง รวม ครอบครวั ผมู้ ี 3,085,000 1,227 ราย รายไดน้ ้อยและผู้ไร้

สถานสงเคราะห์ 2 35 ท่พี ึง่

ภูมิลาเนา 2 02 รวมทงั้ หมด 7,190,000 3,229 รำย

โรงพยาบาล 1 01 ทีม่ า สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

ครอบครวั 4 15

ชุมชน 2 1 3

พกั พงิ ชัว่ คราว 1 01 หนา้ 24

รวม 12 5 17

ทมี่ า ศูนย์ค้มุ ครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจ์ งั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

3.2. สถำนกำรณ์ทำงสังคมเชิงประเดน็ จำนวนผู้ท่ีไดร้ บั กำรคมุ้ ครองชว่ ยเหลือ

(1)สถำนกำรณ์กำรคำ้ มนุษย์ในจงั หวดั กำรกระทำอื่นใดอนั เปน็ กำรขดู รดี

สรุ ำษฎร์ธำนี ปี ชำย หญงิ เดก็ ผู้ใหญ่ เด็ก ผใู้ หญ่ จงั หวดั สุราษฎร์ธานีมีพน้ื ท่ีมากเป็นอันดับ หน่ึงของภาคใต้มีการคมนาคมทุกระบบ ซ่ึ ง 2559 - - - - สามารถเชื่อมโยงกับจังหวัดต่างๆได้ คือ จังหวัด ชุมพร พังงา กระบ่ี นครศรีธรรมราช จึงเป็น 2560 - - - - ศนู ย์กลางของภาคใต้ ตอนบน และด้วยสภาพภูมิ ประเทศเป็นภูเขา และมีเกาะแก่งมากมาย 2561 3 15 1 5 จัง หวัดสุร าษฎร์ธ านีจึงเป็นเมือง ที่มีคว า ม เจ ริญ เ ติบโ ต ทา ง เศ ร ษฐ กิจก า ร ท่อ ง เ ที่ย ว 2562 - 10 - 2 ภาคอุตสาหกรรม การเกษตร และการประมง ท ะ เ ล ผู้ ป ร ะ ก อ บก าร ส่ ว น ให ญ่ มี คว าม ต้ อ ง ก า ร ที่มา ศูนย์ปฏิบตั ิการป้องกันและปราบปรามการคา้ แรงงานเป็นจานวนมากจึงเป็นแรงผลักดึงดูดให้มี การเคล่ือนย้ายแรงงานท้ังชาวไทยจากภูมิภาคต่าง มนุษยจ์ ังหวดั สุราษฎร์ธานี (ศปคม.สฎ.) ๆ และแรงงานจากประเทศเพ่ือนบา้ นเขา้ มาทางาน ในประเทศมากขึ้น ทั้งแรงงานภาคกรรมกรกอ่ สร้าง จำนวนผ้ทู ่ไี ดร้ ับกำรคมุ้ ครองช่วยเหลือ เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมประมง และกจิ การ ที่เกี่ยวเนื่องกับประมง และภาคบริการตามสถาน กำรบงั คับใชแ้ รงงำน ประกอบการตา่ งๆ เช่น โรงแรม ร้านค้า เปน็ ต้น มี ท้ังเข้ามาอย่างถูกต้องกฎหมายตาม MOU- ปี ชำย หญงิ Memorandum Of Understanding ที่ปร ะ เทศ เด็ก ผูใ้ หญ่ เดก็ ผูใ้ หญ่ ไทยได้มกี ารตกลงกับประเทศนัน้ ๆ และการลักลอบ เข้าเมืองผิดกฎหมาย โดยมีขบวนการนายหน้าจาก 2559 - - - - ประเทศต้นทาง 2560 - - - - ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ศปคม.สฎ.) ได้ 2561 5 รวบรวมสถติ ิการดาเนินงานคุ้มครองช่วยเหลือผู้ตก เป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์และกลุ่มเสี่ยงซ่ึง 2562 แจ้งขอรับความช่วยเหลือผ่านหน่วยงาน องค์กร ที่มา ศูนยป์ ฏบิ ัติการป้องกนั และปราบปรามการคา้ ตา่ งๆ ในระหวา่ งปีงบประมาณ 2559 – 2562 ปรากฏ สถติ ิในด้านตา่ งๆ ดังน้ี มนุษยจ์ งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี (ศปคม.สฎ.)

จำนวนผทู้ ีไ่ ด้รับกำรคมุ้ ครองชว่ ยเหลือ

กำรแสวงหำประโยชน์

ปี ชำย หญิง เด็ก ผใู้ หญ่ เด็ก ผ้ใู หญ่

2559 - - 2 -

2560 - - - -

2561 - - 2 -

2562 - 3 -

ที่มา ศูนย์ปฏิบตั ิการปอ้ งกันและปราบปรามการค้า

มนุษยจ์ ังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี (ศปคม.สฎ.)

จำนวนผู้ทีไ่ ดร้ ับกำรคุ้มครองชว่ ยเหลือ

ไม่เปน็ ผู้เสียหำยจำกำรคำ้ มนษุ ย์

ปี ชำย หญิง เด็ก ผใู้ หญ่ เดก็ ผู้ใหญ่

2559 6 28 1 24

2560 - 3 - - หนา้ 25

2561 3 18 3 8

2562 1 109 - 43

ทม่ี า ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารป้องกนั และปราบปรามการคา้

มนษุ ยจ์ ังหวดั สรุ าษฎร์ธานี (ศปคม.สฎ.)

สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั ของมนุษยจ์ ังหวัดสุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

ระหว่างปี 2559 – 2562 ศูนย์ปฏิบัติการป้องกัน ในปี 2561 สกัดจับได้ในพ้ืนท่ีอาเภอไชยา จานวน และปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2 คร้ัง และในปี 2562 สกัดจับได้ในพื้นที่อาเภอ ได้รับแจ้งขอความคุม้ ครองช่วยเหลือโดยหน่วยงาน บ้านเดิม จานวน 1 ครั้ง และอาเภอบ้านนาสาร และบุคคล ผลการคุ้มครองช่วยเหลือพบมี จานวน 1 คร้ัง การสัมภาษณ์เบ้ืองต้นเพ่ือคัดแยก ผู้เสียหายจาการค้ามนษุ ย์ จานวน ๓ รูปแบบ ไดแ้ ก่ ผู้ เ สี ย ห า ย จ า ก ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ ที ม ส ห วิ ช า ชี พ มี การกระทาอ่ืนใดอันเป็นการขูดรีด การบังคับใช้ ความเห็นแย้งกัน ภายหลังทางสถานีตารวจเจ้าของ แรงงาน และการแสวงหาประโยชน์จากการค้า พื้นที่ได้ดาเนินการสืบหาพยานหลักฐานเพ่ิมเติม ประเวณี จานวนผู้เสียหาย ในปี 2559 จานวน ..... และพบว่าผู้ถูกนาพาบางคนถูกกระทาการบังคับ คน ปี 2560 ไม่มีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์แต่ เอารัดเอาเปรยี บ ให้อยูใ่ นภาวะจายอม มีเครือข่าย ได้รับแจ้งขอความช่วยเหลือ จานวน ครั้ง เป็น แ ส ว ง ห า ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ โ ด ย มี กรณีแรงงานถูกนายจ้างค้างจ่ายคา่ จ้าง ในปี 2561 ลักษณะการกระทาอานใดอันเป็นการขูดรีด จึงได้ มีผู้เสียหายจานวน..... คน และ ปี 2562 จานวน ดาเนินคดีในความผิดฐานค้ามนุษย์ จานวน 4 คดี ....... คน แต่อัยการมีความเห็นสั่งไม่ฟ้องในความผิดฐานค้า มนุษย์ จานวน 1 คดี ซ่ึงเปน็ คดใี นปี 2562 ของสถานี จำนวนคดีควำมผิดฐำนค้ำมนษุ ย์ของจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี ตารวจภูธรท่าชี อาเภอบ้านนาสาร

จำนวน 6 ๕ การกระทาอ่นื ใดอันคลา้ ยคลึงกบั ในปี 2559, 2561 และ 2562 มีผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์กรณีถูกแสวงหาผลประโยชน์จาก (คด)ี การขดู รีด การคา้ ประเวณที กุ คนมีอายุต่ากว่า 18 ปี ค้าประเวณี การบังคับใชแ้ รงงาน ด้วยความสมัครใจ แต่มีการจัดหา ติดต่อ ชักชวน 4 จากกรณีนายหน้า ซง่ึ ได้รับผลประโยชนจ์ ากการค้า ประเวณีดังกลา่ ว ในปี 2561 มีเดก็ ชายชาวกัมพูชา ๒ ๒๒ ๒ การแสวงหาผลประโยชนจ์ าก จานวน 5 คน เป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์โดย ๑ การคา้ ประเวณี ถูกผู้ค้าให้เงินแก่ผู้ปกครองเพื่อนาพาเด็กมาจาก 2 บ้านจากประเทศต้นทาง เพ่ือให้เดินเร่ขาย

00 000 0

0 ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒

ค ดี ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ค้ า ม นุ ษ ย์ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ใ น หนา้ 26 จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี มี รู ป แ บ บ ก า ร แ ส ว ง ห า ประโยชน์จากการค้าประเวณีในปี 2559, 2561 และ 2562 ในปี 2561 พบมีก ารแสว งหา ผลประโยชนจ์ ากการค้ามนุษย์ในรูปแบบการบังคับ ใช้แรงงานเด็กชายชาวกัมพูชา จานวน 5 คน ให้ เดินเร่ขายพวงมาลัยแก่นักท่องเท่ียว และใน ปี 2561 – 2562 ด่านตรวจในจังหวัดสุราษฎร์ ธานีตรวจพบการลักลอบขนชาวเมียนมาเข้า ม า ใ น ราชอาณาจักรไทยโดยไม่ได้รับอนุญาต จานวน 4 ครง้ั มีเปา้ หมายเพ่อื จะเดินทางไปทางาน ท่ปี ระเทศมาเลเซยี โดยใช้ประเทศไทยเป็นทางผ่าน

สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั ของมนุษยจ์ ังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

พวงมาลัยแก่นักท่องเที่ยว มีข้อมูลว่าเด็กต้อง ในรูปแบบการแสวงหาผลประโยชน์ ทางานดังกล่าวต้ังแต่เวลาประมาณ 1 ทุ่มกว่า ถึง จากการค้าประเวณี ผู้เสียหาย จานวน 3 คน มี เที่ยงคืน หรือ 01.00 น. และมีการกาหนด ภูมิลาเนาอ ยู่ในจังหวัดทางภาคตะ วันออ ก เป้าหมายในการขาย จึงเป็นผู้เสียหายจากการ เฉียงเหนือ ได้รับการชักชวนจากเพื่อนบ้านที่มา บังคับใช้แรงงาน ในส่วนของผู้เสียหายจากการ ทางานที่ร้านคาราโอเกะในพ้ืนที่อาเภอเกาะสมุย กระทาอันใดอันคล้ายคลึงเป็นการขูดรีดซึ่งปรากฎ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยท้ัง 3 คน ทราบลักษณะ ข้อมลู ในปี 2561 และ 2562 นัน้ ผู้เสียหายทั้งหมด งานว่ามีการค้าประเวณีแอบแฝง และทราบ เ ป็น ช า ว เ มีย น ม า ที่ต้อ ง ก า ร จ ะ เ ดิน ท า ง ไ ป ยัง ข้อตกลงในการแบ่งรายได้จากการค้าประเวณีกับ ประเทศมาเลเซียโดยมีทั้งการติดต่อนายหน้า เจ้าของร้านเป็นการค้าประเวณีโดยความสมัครใจ ด้วยตนเอง และไดร้ ับการชักชวนจากนายหน้า ซ่ึง แต่เนื่องจากผู้เสียหาย มีอายุต่ากว่า 18 ปี แม้จะ ในจานวนของผ้ถู ูกนาพาเดินทางหลบหนีเข้าเมืองมี สมัครใจ แต่ผู้ค้าได้รับผลประโยชน์จากเด็ก จึงเข้า จานวนหนึง่ ตกเปน็ ผ้เู สียหายจากการคา้ มนษุ ย์ ขา่ ยเป็นผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์

สาหรับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของ การแสวงหาประโยชน์ในลักษณะการ จังหวัดสุราษฎร์ธานีในปี 2562 ศูนย์ปฎิบัติการ กระทาอื่นใดอันคล้ายคลึงการอันเป็นการขูดรีด ป้องกัน และปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด มผี ู้เสยี หาย จานวน 34 คน เปน็ กรณลี ักลอบนาพา สุราษฎร์ธานีได้รับแจ้งและปฏิบัติการคุ้มครอง แรงงานต่างด้าวจากประเทศเมียนมาเพ่ือจะ ช่วยเหลือ จานวน 10 ครั้ง 168 คน จากการ เดินทางไปยังประเทศมาเลเซีย โดยใช้ประเทศไทย สัมภาษณ์เบ้ืองต้นเพ่ือคัดแยกผู้เสยี หายจากการค้า เป็นทางผ่าน เจ้าหน้าที่ตารวจต้ังด่านตรวจสกัดได้ มนุษย์ พบว่ามีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จานวน จานวน 2 ครง้ั 37 คน (1) ครั้งท่ี 1 มีการลักลอบนาพาฯ จานวน 12 คน ชาวเมียนมา จานวน 12 คน เป็นชาย หนา้ 27 10 คน และหญิง 2 คน ท้ังหมดมีอายุเกิน 18 ปี เดินทางจากประเทศเมียนมา เขา้ มายังประเทศไทย โ ด ย ไ ม่ มี เ อ ก ส า ร อ นุ ญ า ต ใ ห้ เ ดิ น ท า ง เ ข้ า ม า ใ น ราชอาณาจักรไทย เป้าหมายเพ่ือจะเดินทางไป ทางานทป่ี ระเทศมาเลเซีย เน่ืองจากบางคนมเี พือ่ น หรือญาติ ทางานอยู่ท่ีประเทศมาเลเซียแล้ว บาง คนถูกชักชวนโดยนายหน้า มีรถกระบะนาพา เดนิ ทางมาจากจงั หวดั สมทุ รสาคร จะไปสง่ ท่อี าเภอ รัตภูมิ จังหวัดสงขลา ก่อนจะมีการส่งต่อไปยัง ประเทศมาเลเซีย มีผู้เสียหาย จานวน 12 คน เป็น ชาย 10 คน และหญิง 2 คน

สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ ของมนุษยจ์ ังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(2) ครั้งท่ี 2 มีการลักลอบนาพาชาวเมียนมา โดยสรุปสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด จานวน 42 คน ผชู้ าย 37 คน ผูห้ ญิง 5 คน ทั้งหมด สุราษฎร์ธานีในปี 2562 พบว่า เป็นทางผ่าน และ มีอายุเกิน 18 ปี โดยสารในรถตู้ จานวน 2 คัน ปลายทางของการค้ามนษุ ย์ กล่าวคือ เปน็ จุดพัก – ทั้งหมดตดิ ตอ่ นายหนา้ ด้วยตนเอง เพือ่ ใหช้ ่วยเหลือ ผ่าน เพ่ือการเคล่ือนย้ายผู้เสียหายไปจังหวัดอื่นๆ นาพาในการเดินทางจากเมืองต่างๆ ในประเทศ หรือประเทศมาเลเซีย ที่มีความต้องการแรงงาน เมียนมาเข้ามายังประเทศไทยโดยไม่ได้รับ รวมท้งั เป็นปลายทาง คือ มกี ารนาเด็กหญงิ ชาวไทย อนุญาต เป้าหมายเพื่อจะเดินทางไปทางานท่ี จาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มาแสวงหา ประเทศมาเลเซียโดย จานวน 22 คน มีญาติ หรือ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง เ พ ศ ใ น โ ด ย แ อ บ แ ฝ ง ก า ร ค้ า เพ่อื น อย่ทู ่ีประเทศมาเลเซีย ทุกคนทราบว่าการ ประเวณีภายใต้กิจการ ร้านคาราโอเกะ ในพื้นที่ เดินทางในครั้งนี้เป็นการเดินทางเข้าเมืองโดยผิด อาเภอเกาะสมยุ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี กฎหมาย ขั้นตอนการเดินทางไปยังจุดต่างๆ จะมี นายหน้าเปล่ียนคน คอยรับ - ส่ง โดยใช้รถยนต์ จังหวัดสุราษฎร์ธานียังไม่เคยปรากฎว่ามี กระบะ หรือรถตู้ จอดให้แวะพักค้างคืนที่บ้านพักซ่ึง การแสวงหาประโยชน์จากการบังคับใช้แรงงานใน จดั เตรียมไว้ และจัดเตรียมอาหารให้ ระหว่างเดินทาง สถานประกอบการ ในกจิ การประมง และกิจการที่ ไมถ่ กู ขม่ ขู่ ทาร้ายรา่ งกาย กักขัง หรือหน่วงเหน่ียว เกี่ยวเน่ืองกับประมงทะเล การแสวงหาประโยชน์ นายหน้าจะคิดค่าใช้จ่ายตนละประมาณ 24,000 – จากการขอทาน หรือการแสวงหาประโยชน์ใน 40,000 บาท ซึ่งได้ตกลงกันไว้ว่าเมื่อถึงประเทศ รูปแบบอ่ืนของการค้ามนุษย์แต่อยา่ งใด แต่อยา่ งไร มาเลเซยี ทั้ง 42 คน จะยินยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายในการ ก็ตามจงั หวดั สุราษฎรธ์ านียงั คงเฝ้าระวงั กล่มุ เส่ียงที่ เดินทางจากเงินเดือน มีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จะถูกแสวงหาผลประโยชน์จากการค้ามนุษย์ใน จานวน 22 คน เป็นชาย 21 คน และหญงิ 1 คน รูปแบบตา่ งๆ ไดแ้ ก่

เมื่อเดือนตุลาคม 2562 สานักงานอัยการ การบังคับใช้แรงงานในสถาน จังหวดั สรุ าษฎร์ธานีมีคาสั่งไมฟ่ ้อง คดีที่ 132/2562 ประกอบการ แม้ทีผ่ า่ นมายงั ไมเ่ คยพบการบังคับใช้ ของสถานีตารวจภูธรท่าชี ในคดีค้าความผิดฐาน แรงงานในสถานประกอบการประกอบกับมีการใช้ มนุษย์ ซึ่งมีผู้เสียหาย จานวน 22 คน แต่ส่ังฟ้อง มาตรการนาเข้าแรงงานต่างด้าวโดยระบบ MOU ในความผิดฐานนาพาต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักร หลงั วันท่ี 31 มีนาคม 2560 เพอ่ื ปอ้ งกันการปฏิบัติ ไทยโดยไม่ได้รับอนุญาต สถิติผู้เสียหายจากการ ท่ีไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ลดความเสี่ยงในการถูก ค้ ามนุ ษย์ ขอ ง จั ง หวั ดสุ ร าษฎร์ ธ านี จึ ง ลดลง จา ก เอาเปรียบ แล้วก็ตาม แต่ศูนย์ปฎิบัติการป้องกัน 37 คน เหลือเพยี ง 15 คน ดังนี้ และปราบปรามการค้ามนุษย์ฯ ยังได้รับแจ้งขอ ความช่วยเหลือในกรณีท่ีมีความเส่ียงต่อการค้า มนุษย์ เช่น การท่ีนายจ้างเก็บเอกสารการอนุญาต หนา้ 28 ให้เดินทางเข้าเมือง และเอกสารอนุญาตให้ทางาน ในประเทศไทยไว้เน่ืองจากลูกจ้างต้องการเปลี่ยน นายจ้าง แต่นายจ้างต้องการให้ทางานชดใช้ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการด้านเอกสารและการ

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ ของมนุษย์จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

เดินทางเพื่อให้แรงงานได้เข้ามาทางานโดยถูกต้อง (2) สถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของ ตามกฎหมาย การจ่ายค่าจ้างต่ากว่าที่กฎหมาย โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนำ (COVID-19) กาหนด การค้างจ่ายค่าแรง และการถูกหลอก จากนายหน้าจัดหางานให้มาทางานไม่ตรงตาม สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ความตอ้ งการ ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) จังหวัดสุราษฎรธ์ านี มีจานวนผู้ติดเช้ือคงที่ จานวน 18 ราย มาต้ังแต่ ดาเนินการประชุม และสัมภาษณ์คัดแยก วันที่ 10 เมษายน 2563 (ข้อมูล ณ วันท่ี 14 ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ของชุดปฏิบัติการ สิงหาคม 2563 ในพืน้ ท่ี 6 อาเภอประกอบดว้ ย ช่วยเหลือเหยื่อการค้ามนุษย์ในรูปแบบสหวิชาชีพ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ระหว่างวันที่ 21 - 27 (1) อ.เมอื งสุราษฎร์ธานี จานวน 4 ราย มิถุนายน 2562 ณ สถานตี ารวจภูธรท่าชี (2) อ.เกาะพะงนั จานวน 1 ราย (3) อ. ท่าชนะ จานวน 1 ราย การใช้แรงงานในกิจการประมง (4) อ.เวยี งสระ จานวน 2 ราย และกิจการท่ีเกี่ยวเนอ่ื งกับประมงทะเล ในจังหวัด (5) อ.กาญจนดิษฐ์ จานวน 3 ราย สุราษฎร์ธานี กิจการประมงทะเลเป็นลักษณะ (6) อ.เกาะสมยุ จานวน 6 ราย ประมงชายฝ่งั (พ้ืนบ้าน) ซึง่ กาหนดเขตจากชายฝั่ง ไม่เกิน 3 ไมล์ทะเล หรือ 5,400 เมตร และประมง การเฝ้าระวังและค้นหา COVID-19 ในประชากร พาณิชย์นอกเขตชายฝง่ั ทะเล 3 ไมลท์ ะเลขึ้นไป ซ่ึง กลุ่มเสี่ยง ในสถานท่ีเสี่ยง ส่งตรวจจานวน 1,345 มีไม่มานักและใช้เวลาออกจากฝ่ังไม่นาน แต่ต้อง ราย โดยที่ไม่พบเช้ือทัง้ หมด ด้วยมาตรการปอ้ งกัน เฝ้าระวังและป้องกันการแสวงหาประโยชน์การค้า แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID- มนุษย์ตอ่ ไป 19) ท่ีเข้มแข็งของจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีนาย วิชวทุ ย์ จินโต ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ไม่ ว่าจะเป็นการปิดสถานบริการ สถานประกอบการ สถานบันเทิง ผับ บาร์ ร้านคาราโอเกะ ร้านนวด โรงภาพยนตร์ สนามชนไก่ สถานออกกาลังกาย สถานศึกษา ฯลฯ ส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชวี ิตอย่างรนุ แรงแบบเฉียบพลัน รัฐบาลโดยกระทรวงต่างๆ จึงมีมาตรการเร่งด่วน ในการใหค้ วามชว่ ยเหลือ อาทิ ประกอบดว้ ยดังนี้

หนา้ 29

สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ ของมนษุ ยจ์ ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(1) โครงการเราไม่ทิ้งกัน สาหรับอาชีพอิสระ โคโรนา (COVID -19) ของหน่วยงาน One home หนา้ 30 และแรงงานนอกระบบและลูกจ้างช่ัวคราว พม.ในพ้ืนที่จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

(2) มาตรการชว่ ยเหลือกลุ่มแรงงานใน (2) ระยะที่ 2 ระยะผ่อนคลายมาตรการ ประกันสงั คม แก่ผู้ประกนั ตนตามมาตรา 33 Lockdown มีการผ่อนคลายให้ดาเนินกิจกรรมบาง ประเภทภายใต้ข้อจากัดของการป้องกันและ (3) มาตรการเงินเยียวยาเกษตรกร ท่ีขึ้น ควบคุมการแพร่ระบาดของโรค อาทิ โรงแรม ทะเบียนเกษตร สนามบิน ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า แต่ต้อง ดาเนินการตามข้อกาหนดอย่างเข้มงวด เช่น การ (4) มาตรการเงินเยียวยากลุ่มเปราบาง 3,000 ควบคุมการเข้า – ออก เปิดให้ขายอาหารและ บาท ประกอบด้วย เด็กแรกเกิด – 6 ปี ,ผู้สูงอายุ เคร่ืองด่ืมได้แต่ต้องนากลับไปทานท่ีบ้าน วัด และคนพิการ อุณหภูมิ เว้นระยะห่าง เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ผลกระทบที่เกิดข้นึ ทางเศรษฐกิจยงั คงส่งผลให้เกิด (5) มาตรการชว่ ยเหลอื คนถอื บตั รคนจน ความเดือนร้อนในเร่ืองค่าใช้จ่าย รายได้ ค่าครอง ชีพ วิถีชีวิตและคุณภาพชีวิต และคุณภาพชีวิต มี สาหรับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ดาเนินการดงั น้ี ม่ันคงของมนุษย์ โดยทีม One Home จังหวัด สุราษฎร์ธานี มีมาตร การในการช่วยเหลือ  แต่งต้ังคณะทางานทีมโฆษก พม. ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพ่ือทาหน้าท่ีติดตามข้อมูล แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID - ผู้ประสบปัญหาทางสังคมท่ีได้รับผลกระทบของการ

  1. โดยมกี ารดาเนนิ การแบ่งเปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID -
  2. และการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ นโยบาย (1) ระยะที่ 1 ระยะการใช้มาตรการ lockdown โครงการสาคัญ และผลการดาเนินงานโครงการ/ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค กิจกรรมที่เกยี่ วข้องกับหน่วยงาน กระทรวง พม. ใน โนนา (COVID -19) มีการดาเนนิ การดังนี้ พน้ื ท่ีจงั หวัดสุราษฎร์ธานี

 การจัดต้ังศูนย์บริการสถานการณ์การ  แต่งต้ังคณะทางานลงพื้นท่ีเย่ียมบ้าน แพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID -19 สอบข้อเท็จจิงผู้ประสบปัญหาทางสังคมท่ีได้รับ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับศูนย์บริการ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรน่า (COVID – 19 ) โดยแบ่งพื้นที่รับผิดชอบของ โคโรนา (COVID -19) พม.ในการดาเนนิ การแก้ไข หน่วยงาน One Home กาหนดรูปแบบการทางานท่ี ปั ญ ห า ห รื อ ห า แ น ว ท า ง ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ชัดเจน พร้อมท้ังมีการประชุมเพ่ือติดตามการ กลุ่มเป้าหมายภารกิจหลัก ใน 4 ด้าน (1) ด้าน ดาเนนิ งาน สาธารณสุข (2) ด้านเวชภัณฑป์ ้องกนั (3) มาตรการ ป้องกัน (4) ดา้ นมาตรการให้การชว่ ยเหลือเยยี วยา

 แต่งต้ังคณะทางานชุดปฏิบัติการใน ภาวะวิกฤตจากการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัส

สานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั ของมนษุ ยจ์ ังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

 แต่งต้ังคณะทางานจัดการฐานข้อมูล การลงพ้ืนท่ีช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง จดั การผู้ประสบปัญหาทางสงั คมที่ได้รับผลกระทบ สังคมที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค จากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID –19) จานวน 2,296 ราย (COVID –19) เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผน ช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบปัญหาทางสังคมอย่าง  ศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อ เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ประกอบ สังคมภาคธุรกิจจังหวัดสุราษฎร์ธานี (CSR Surat ไปด้วย (1) ฐานข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคมที่ Thani Center) จัดทา “โครงการส่งของส่งใจ ได้รับการชว่ ยเหลือจาก กระทรวง พม. ปี 2557 – ห่วงใยแม่และเด็กและผู้ประสบปัญหาทางสังคม” 2563 จานวน 13,081 ครัวเรือน (2) ฐานข้อมูล ช่วยเหลือแม่และเด็กผู้ประสบปัญหาทางสังคม Family Data จานวน 1,175 ครัวเรือน (3) ฐานข้อมูล กรณีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ากว่าเส้นความยากจน (จปฐ) ติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID –19) โดยการระดม ปี 2562 ทุนเพ่ือจัดซื้อนมผงและเคร่ืองอุปโภคบริโภค พร้อมจัดส่งนมผงและเครื่องอุปโภคบริโภคให้กับ สง่ ขอ้ มูลให้กบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน กลุ่มเป้าหมาย แม่เด็กขอรับนมผง จานวน 3,144 (อปท.) และอาสาสมัครพัฒนาสังคม (อพม.) ราย ส่งมอบให้แก่เด็ก จานวน 539 ราย ( ข้อมูล ดาเนินการลาดับความสาคัญเร่งดว่ นของครัวเรือน ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2563 ) ให้พจิ ารณาความสาคัญเร่งด่วนมากที่สุดไปถึงน้อย ท่ีสุด และแบ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายในครอบครัวท่ี ต้องได้รับการช่วยเหลือ (1) A หมายถึงเด็ก (2) B หมายถึง ครอบครัวยากจน (3) C หมายถึง ผู้สูงอายุ (4) D หมายถึง ผู้พิการ พิจารณาการ ได้รับการช่วยเหลือการเยียวยาจากรัฐบาลช่วง สถานการณ์ ไวรัสโคโรนา (COVID –19) จากการ สารวจมีผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID –19) จานวน 14,748 ครัวเรือน (ชาย 4,473 คน หญิง 10,275 คน) เป็นคนพิการ 2,619 คน

หนา้ 31

สานกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั ของมนุษยจ์ งั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(3) ระยะท่ี 3 ระยะผ่อนคลายให้ดาเนิน และแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งด้วยเหตุผล รวมถึงมิติ กิจการบางอยา่ งได้ แต่ยังมีคงดาเนินตามมาตรการ การส่ือสารระหว่างกันอย่างมีคุณภาพ และการ ป้องกันการแพร่ระบาดโรคและการจัดระเบียบ แสดงออกถงึ ความรักและเอาใจใส่ระหว่างกัน สังคม จนเข้าสู่ภาวะปกติ ดาเนินการวางแผนการ ช่ ว ย เ ห ลื อ ฟ้ื น ฟู เ พื่ อ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ปญั หาด้านพฤตกิ รรมเด็ก พบว่าเด็กท่ีอยู่ใน กลุ่มเป้าหมายสู่ความมั่นคงบนฐานข้อมูล โดย การดูแลของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ความรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในรอบปี 2562 ลักษณะ ความผิดเด็กคดีท่ีเดก็ กระทาความผิดมากท่ีสุดเป็น คดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดมากที่สุด รองลงมา คดีเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย และคดีความผิดอ่ืน ๆ และจานวนแม่เดก็ ท่ีตง้ั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร (แม่ วยั รุ่น) ที่มจี านวนเพ่มิ สงู ขึ้นขน้ึ จากปี 2562 ทั้งนยี้ ัง พบว่าจานวนแม่ไดร้ ับสทิ ธิเงินอดุ หนุนเพ่ือการเลีย้ ง ดูเด็กแรกเกิดแมท่ ี่อายไุ ม่เกนิ 18 ปี จานวน 2,439 คน (7.82%) และเป็นแม่เด็กท่ีอายุไม่เกิน 20 ปี 4,771 คน (15.29%)

3.3. สถำนกำรณท์ ำงสงั คมทน่ี ่ำหว่ งใย หนา้ 32 ของจงั หวดั

ปัญหาครอบครัว พบว่าครอบครัวท่ีมีการ กระทาความรนุ แรงทเี่ กดิ ขึน้ ในจงั หวดั สุราษฎร์ธานี อันดับที่ 6 ของประเทศ และอันดับการเกิดมาก ทสี่ ุดท่ขี องภาคใต้ ซึ่งท่แี สดงให้เห็นวา่ ค่าเฉลยี่ ดัชนี ความเขม้ แข็งของครอบครัวภาพรวม ระดับคะแนน ปี 2562 ลดลงจากปี 2561 และลดลงในทุกด้าน โดยท่ีพบว่าด้านสัมพันธ์ภาพลดลงต่ากว่าเกณฑ์ ติดต่อกัน และหากพิจารณาในตัวชี้วัดย่อยพบว่า ในมติ ิการยอมรับ/เคารพความคิดเห็นซึ่งกนั และกัน

สานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั ของมนุษย์จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

บทท่ี 4 บทสรปุ /ขอ้ เสนอแนะ พ บ เ ด็ ก ที่ อ อ ก ก ล า ง คั น ร ะ ดั บ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า / หนา้ 33 มัธยมศกึ ษา จานวน 278 คน (4.1.) สรุปสถำนกำรณส์ ำคญั ของจงั หวัด ส า ห รั บ ด้ า น พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ด็ ก จ า น ว น ค ดี จังหวัดสุราษฎรธ์ านี โดยสานักงานพฒั นาสังคม อาชญากรรมที่เด็กและเยาวชนเปน็ ถูกกระทา รอบ และความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ ปี 2562 จานวน 174 คดี จากข้อมูลที่ แตป่ ระเด็น รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยงานราชการใน ด้านที่เด็กที่ต้องได้รับการแก้ไขเด็กที่ต้ังครรภ์ก่อน จงั หวัดสุราษฎร์ธานี และจัดทารายงานสถานการณ์ วัยอันควร (แมว่ ัยรุ่น) จานวน 715 คน สูงข้ึนเพิ่มขึ้น ทางสังคมจงั หวัดสุราษฎร์ธานี ภาพรวมสถานการณ์ จากปี 2562 สาหรับเด็กท่ีอยู่ในการดูแลของสถาน ของจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ประเด็นปญั หาสถานการณ์ พนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทีส่ าคัญ ดังนี้ ในรอบปี 2562 จานวนคดีที่เด็กกระทาความผิด มากที่สุดเป็นคดีความผิดเก่ียวกับยาเสพติดมาก (1)ด้ำนประชำกรจังหวัดสุราษฎร์-ธานี ณ ที่สุด รองลงคดีเก่ียวกับชีวิตและร่างการ และคดี วันท่ี 31 มิถุนายน 2563 จานวน 1,070,220 คน ความผิดอ่ืน ๆ ท้ังนี้แม่เด็กท่ีตั้งครรภ์ก่อนวัยอัน (ชาย 527,569 คน หญิง 541,937 คน) มคี รัวเรือน ควร (แม่วัยรุ่น) จานวน 715 คน (ณ วันที่ 30 355,218 ครัวเรอื น ภาพรวมสถานการณ์ประชากร มถิ ุนายน 2563 ) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง พบว่าประชากรกลุ่มวัย ทางาน (อายุ 26 – 59 ปี ) รอ้ ยละ 50.33 มีอัตรา แม่เด็กได้รับเงินอุดหนุนตามโครงการเงิน พึ่งพิงรวมมีแนวโน้มรวมสูงข้ึนทุกปี ท่ีจะต้องดูแล อุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดเป็นแม่เด็กท่ี ประชากรเด็กและประชากรผู้สูงอายุ รวมถึงยังที่ อายุไม่เกิน 18 ปี จานวน 2,439 คน (7.82%) และ ไดร้ ับผลกระทบแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโร เปน็ แมเ่ ด็กที่อายไุ ม่เกิน 20 ปี 4,771 คน (15.29%) นา (COVID -19) ทาให้ประสบปัญหารายได้ลดลง ภาวะเศรษฐกิจท่มี กี ารชะลอตวั ลง ในช่วงปี 2563 (3) ดำ้ นผสู้ ูงอำยุ ประชากรผู้สูงอายุในจังหวัด สรุ าษฎร์ธานี จานวน 163,991 คน รอ้ ยละ 15.32 (2) ดำ้ นเด็ก ประชากรเดก็ ในจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมจี านวนเพิ่มสูงข้ึน จานวน 250,364 คน ร้อยละ 23.39 มสี ถานการณ์ ทุกปี ทั้งนี้ดัชนีสูงวัยมีอัตราการเพิ่มข้ึนอย่าง จานวนลดลงอยา่ งต่อเน่ือง ตามนโยบายการพัฒนา ตอ่ เนอ่ื ง สถานการณผ์ ู้สูงอายุในพืน้ ท่ีจังหวัดสุราษฎร์- คนตลอดชว่ งชีวติ เปน็ การระบบคุ้มครองทางสังคม ธานี จากการสารวจประชากรผู้ท่ีอาศัยอยู่ในพื้นที่ แก่เด็ก เพ่ือใหเ้ ดก็ ได้รับการดแู ลให้มีคุณภาพชีวติ ท่ี จานวน 132,275 คน พบว่าเป็นผู้สูงอายุติดสังคม ดี มีพัฒนาเหมาะสม ตามวัย พบว่าเด็กที่ได้รับเงิน จานวน 115,432 คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 5,086 คน อุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด จานวน 31,188 และผู้สูงอายุติดเตียง 1,161 คน ทั้งนี้มีผู้สูงอายุ คน ร้อยละ 39 ของจานวนประชากรเด็กปฐมวัย ไดร้ ับเบี้ยยงั ชีพ จานวน 142,521 คน รอ้ ยละ 88.51 (อายุแรกเกิด – 5 ปี) จานวน 78,406 คน รอบปี

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นของมนุษยจ์ ังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

(4) ด้ำนครอบครัว ครัวเรือนของจังหวัดสุ องค์การสวัสดิการสังคมในการเขียนโครงการด้าน หนา้ 34 ราษฎร์ธานี 355,218 ครัวเรือน จาแนกอยู่ในเขต สวัสดิการสังคม เม่ือวันท่ี 17 กรกฎาคม 2563 ได้ เทศบาล จานวน 140,263 ครัวเรือน นอกเขต นาเสนอสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี 194,955 ครัวเรือน สถานการณ์ความเข้มแข้ง ระดมความคดิ เห็นการเขียนโครงการด้านสวัสดกิ าร ครอบครัวในจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ปี 2561 – 2562 สงั คม เพอ่ื รองรบั การแกไ้ ขปัญหา ดังน้ี พบว่า ปี 2561 สารวจครอบครัว จานวน 1,858 ครอบครัว ค่าเฉล่ียดัชนีความเข้ม แข้งของ (1) โครงกำรเชิงพื้นท่ี “ประชาชนในพ้ืนที่ ครอบครัวภาพรวม ระดับคะแนน 84.29 ที่ยังสูง ชุมชนที่ประสบปัญหาทางสังคม” ประเด็นปัญหา กว่าเกณฑ์มาตรฐาน และในปี 2562 สารวจ สาเหตุเกิดจากด้าน เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตท่ี ครอบครัว จานวน 1,280 ครอบครัว ค่าเฉลยี่ ดชั นี ต่าลง รวมถึงได้รับผลกระทบแพร่ระบาดของโรค ความเข้มแข้งของครอบครัวภาพรวม ระดับคะแนน ติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID -19) ส่งผลให้ทาให้ 81.56 ท่ียังสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เม่ือมีการ รายไดไ้ มเ่ พียงพอแก่การเล้ยี งชพี ไม่มงี านทา โดยมี เปรียบเทียบพบว่าค่าเฉล่ียดัชนีความเข้มแข้งของ แนวทางการส่งเสริมด้านนันทนาการ การจัด ครอบครัวภาพรวม ปี 2562 ลดลงจากปี 2561 กิจกรรมสานสัมพันธ์ครอบครัว และกิจกรรม ลดลงในทุกด้าน โดยทพ่ี บวา่ ด้านสัมพนั ธ์ภาพลดลง ส่งเสริมการสร้างรายได้/อาชีพเสริม การส่งเสริม ต่ากว่าเกณฑ์ ติดต่อกัน และหากพิจารณาใน แก้ไขปัญหาด้านการคุมกาเนิด ให้ความรู้เก่ียวกับ ตัวชี้วัดย่อยพบว่า ในมิติการยอมรับ/เคารพความ เข้าใจสอื่ คิดเห็นซึ่งกันและกัน และแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง ดว้ ยเหตผุ ล รวมถงึ มติ ิการสื่อสารระหวา่ งกันอย่างมี (2) โครงกำรเชิงประเด็น คุณภาพ และการแสดงออกถึงความรักและเอาใจ - “เด็กและเยาวชนที่เส่ียงต่อ ใส่ระหว่างกัน ที่มีระดับคะแนนค่อนข้างท่ีกว่า เกณฑ์ค่ามาตรฐาน สาหรับครอบครัวท่ีมีการ ต้ังครรภ์ไม่พร้อม” ประเด็นปัญหาท่ีเกิดจาก การ กระทาความรุนแรงต่อกัน ในปีงบประมาณ 2563 เลี้ยงดูทีไ่ ม่เหมาะสม สภาพแวดล้อมที่มีความเสย่ี ง ณ วันท่ี 31 มิถุนายน จานวน 36 ครอบครัว รวมถึงเด็กออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมถงึ สือ่ ทาง เพิ่มขน้ึ จากปี 2562 ที่มีจานวน ครอบครัวท่ีมีการ สงั คมทางต่างๆ โดยมีแนวทางส่งเสริมกิจกรมสาน กระทาความรุนแรงต่อกัน จานวน 20 ครอบครัว สัมพันธ์ในครอบครัว การให้ความรู้แก่เด็กและ ลักษณะกระทาความรุนแรงเกิดจากการใช้รุนแรง เยาวชนที่รู้เท่าทันสื่อต่างๆ และการส่งเสริมด้าน ทางรา่ งกาย สาเหตสุ ่วนใหญ่เกดิ จากการใช้ยาเสพตดิ การคมุ กาเนิดในเดก็ วัยรุน่

จากข้อมูลดังกล่าว สานกั งานพัฒนาสังคม - “เด็กถูกทอดท้ิง ไ ม่ได้เรียน และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี หนังสือ ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในครอบครัวท่ีไม่มีผู้ดูแล” โดยกลุ่มนโยบายและวิชาการ ได้จัดเวทีประชาคม ประเด็นปัญหาท่ีเกิดจากครอบครัวที่มีฐานยากจน ระดมความคิดเห็นเพื่อให้ได้ประเด็นในการจัดทา กลุม่ วัยทางานท่ีจะต้องไปทางานตา่ งจังหวัดจะต้อง โครงการปีงบประมาณ 2564 และพฒั นาศักยภาพ ให้ผู้สูงอายอุ ยู่กบั เดก็ ตามลาพัง และรวมถึงการมั่ว สุมกับอบายมุข โดยมีแนวทางการส่งเสริมสร้าง

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ ของมนุษย์จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563 หนา้ 35

ความรู้ความเข้าใจในครอบครัว และสร้างรายได้/ อาชพี เสรมิ

- “เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวเสี่ยงต่อ ก า ร ถู ก ก ร ะ ท า ด้ ว ย ค ว า ม รุ น แ ร ง ใ น ค ร อ บ ค รั ว ” ประเด็นปัญหาที่เกิดครอบครัวท่ีมีเกี่ยวข้องกับยา เสพติด ม่วั สุมกับอบายมุข และการไมม่ เี วลาให้กัน และกันแนวทางการส่งเสริมสร้างความรู้ความ เ ข้ า ใ จ ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ส า น สั ม พั น ธ์ ครอบครวั

(4.2.) ข้อเสนอแนะ

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบเบื้องต้น ท่ีทาให้ ทราบถึงปัญหาต่างๆท่ีเกิดข้ึนได้อย่างต่อเน่ือง ซึ่ง เป็นรากฐานในการกาหนดนโยบายและแผนงาน ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างตรงประเด็นและถูกตอ้ ง ดงั นั้นการ จัดเก็บข้อมูลควรจะต้องมีการกาหนดระยะเวลา กรอบการจัดเก็บข้อมูลทชี่ ัดเจน เชน่ รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน และ 1 ปี เพื่อมีข้อมูลเปรียบเทียบ การเปลีย่ นแปลงท่ีชดั เจน และการจาแนกข้อมูลใน ระดับพ้ืนที่อาเภอ เพื่อที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ ในเชิงพน้ื ท่ีได้อย่างชัดเจน เพ่ือใหห้ น่วยงานงานที่ เก่ียวข้องจะสามารถนาข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ แล้วสามารถนาขอ้ มูลไปใช้ได้ และส่วนกลางควรที่ จะฝึกอบรม/ชี้แนะแนวทางการให้แก่เจ้าหน้าที่ ผปู้ ฏิบัติงานด้านการรายงานสถานการณ์ทางสงั คม อย่างตอ่ เนอ่ื ง

สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั ของมนุษย์จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

บรรณานกุ รม

1. หน่วยงานที่ใหค้ วามอนเุ คราะหข์ ้อมลู

- ปกครองจงั หวัดสุราษฎร์ธานี - ตารวจภธู รจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี - สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี - สานกั งานสถิติจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี - สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสุราษฎร์ธานี - สานกั งานสง่ เสริมการทอ้ งถิ่นจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี - สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี - สานักงานแรงงานจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี - สานักงานวัฒนธรรมจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี - สานักงานยตุ ิธรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี - สานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั สุราษฎรธ์ านี - สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั สุราษฎร์ธานี - สถานพินิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

2. สบื คน้ เวบ็ ไซค์

- www.m-society.go.th กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ E-Book ,ระบบ สารสนเทศดา้ นสงั คม

- http://stat.thaifamily.in.th/ รายงานระบบมาตรฐานความครอบครัวเขม้ แขง็ กรมกิจการสตรแี ละ สถาบันครอบครวั

- https://www.dopa.go.th/main/web_index บริการข้อมูลสถิติ กรมการปกครอง - http://surat.nso.go.th/ รายงานสถิตจิ ังหวดั สานักงานสถิติจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี

- https://suratthani.mol.go.th/ รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวัดรายไตรมาส สานักงาน

แรงงานจงั หวดั

3. สืบคน้ เอกสาร - รายงานความมัน่ คงของมนุษยป์ ระเทศไทย ปี 2560 – 2561 กระทรวงการพฒั นา สงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ - รายงานคณุ ภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัด สุราษฎร์ธานี

สานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นของมนุษย์จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

ภาคผนวก

สานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ ของมนษุ ยจ์ งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจาปี 2563

สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นของมนุษยจ์ ังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี