ข อม ลท ต องใช รายงานการจ ดการพล งงาน อาคารควบค ม

ตัวอยาง การกรอกปริมาณการใชพลงั งานตอหนว ยพื้นทีใ่ ชสอยทีใ่ ชง านจรงิ และการคาํ นวณคา การใชพ ลังงาน

จาํ เพาะ

ตารางท่ี 4.6 ปริมาณการใชพ ลงั งานตอหนวยพนื้ ท่ใี ชส อยท่ีใชงานจริงในรอบป 2553

(1) (2) ปริมาณพลังงานท่ีใช (3) คา การใชพลงั งานจาํ เพาะ (SEC) เดือน พื้นทใี่ ชส อยท่ใี ชง านจริง ไฟฟา ความรอน (เมกะจลู /ตารางเมตร) (ตารางเมตร) (กโิ ลวัตต-ชัว่ โมง) (เมกะจูล)

ม.ค. 217,346 1,673,400 4,821,339 49.90

ก.พ. 217,346 1,617,600 4,821,339 48.98 52.05 มี.ค. 217,346 1,803,200 4,821,339

เม.ย. 217,346 1,709,600 4,821,339 50.50

.. .. .

.. .. . 51.58 ก.ย. 217,346 1,774,800 4,821,339

ต.ค. 217,346 1,842,800 4,824,252 52.72

พ.ย 217,346 1,687,600 4,821,339 50.14

ธ.ค. 217,346 1,627,600 4,849,855 49.27

รวม 217,346 21,059,000 57,888,476 615.15

เฉลี่ย 217,346 1,754,916.67 4,824,040 51.26

22

คาการใ ชพ ัลงงานจําเพาะ(SEC)ตวั อยางการคํานวณ อาคารมีพื้นท่ีใชสอยทใ่ี ชง านจริงในรอบเดอื นมกราคมเทากับ 217,346 ตารางเมตร โดยในเดอื น (เมกะ ูจล/ตารางเมตร)ดงั กลา วอาคารมปี รมิ าณการใชพลงั งานไฟฟาเทา กับ 1,673,400 กโิ ลวตั ต-ช่วั โมง และปรมิ าณพลงั งานความรอ นทใี่ ชเทา กับ 4,821,339 เมกะจลู คา การใชพ ลังงานจาํ เพาะ (SEC) สามารถคํานวณ ไดด ังนี้

\= ปริมาณพลงั งานไฟฟา (กิโลวตั ต- ช่วั โมง/เดือน) x 3.6 + ปริมาณพลงั งานความรอน (เมกะจลู /เดอื น) พนื้ ท่ใี ชสอยท่ใี ชงานจรงิ (ตารางเมตร)

\= (1,673,400 กิโลวตั ต- ช่วั โมง/เดือน x 3.6 เมกะจูล/กโิ ลวตั ต- ช่ัวโมง) + 4,821,339 เมกะจลู /เดอื น 217,346 ตารางเมตร

\= 49.90 เมกะจูล/ตารางเมตร-เดอื น คาการใชพ ลงั งานจําเพาะทัง้ ป

\= (21,059,000 กโิ ลวตั ต-ช่วั โมง/เดือน x 3.6 เมกะจูล/กิโลวัตต-ชว่ั โมง) + 57,888,476 เมกะจลู /เดอื น 217,346 ตารางเมตร

\= 615.15 เมกะจลู /ตารางเมตร-ป

ตัวอยา ง กราฟคา การใชพลงั งานจาํ เพาะในรอบป 2553

60 58 56 54 52 50

48 คาถดถอยเชงิ เสน

46 44 42 40

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค.

รปู ท่ี 4.3 คา การใชพลังงานจําเพาะในรอบป 2553

23

4.2.2 คา การใชพ ลังงานจําเพาะของจาํ นวนคนไขใน (กรณอี าคารประเภทโรงพยาบาล) ใหระบุปริมาณการใชพลังงานตอ หนวยจํานวนคนไขใ น ในรอบป (ม.ค.-ธ.ค.) ในตารางท่ี 4.7 ชอ ง (1) ใหร ะบุจาํ นวนคนไขในในรอบเดือน ในหนวยเตยี ง-วนั โดยใชข อมูลในชอ ง (3) ของตารางท่ี ข-2 ชอ ง (2) ปริมาณพลังงานที่ใช แบง ออกเปน 2 ชองยอ ย คือ ชองไฟฟา ใหร ะบุปริมาณพลังงานไฟฟาทใี่ ช ในหนว ยกิโลวัตต- ชัว่ โมง โดยใชข อมลู ปริมาณพลังงานไฟฟาในชอ ง (2) ของตารางท่ี 4.1 ชอ งความรอน ใหระบุปริมาณพลังงานความรอนท่ใี ช ในหนวยเมกะจลู โดยใช ขอมูลการใชพลังงานความรอนจากเช้ือเพลิงของตารางที่ 4.2 ชอ ง (3) ใหร ะบุคา การใชพ ลังงานจําเพาะ (SEC) ในหนว ยเมกะจลู /เตยี ง-วนั

ใหแสดงกราฟคาการใชพลงั งานจําเพาะในรอบปเ ชนเดยี วกับตัวอยา งรปู ท่ี 4.3

4.2.3 คาการใชพ ลงั งานจาํ เพาะของจํานวนหองท่ีจําหนายได (กรณีอาคารประเภทโรงแรม) ใหร ะบปุ รมิ าณการใชพลังงานตอหนวยจํานวนคนไขใ น ในรอบป (ม.ค.-ธ.ค.) ในตารางที่ 4.8 ชอ ง (1) ใหระบจุ ํานวนหอ งทีจ่ าํ หนา ยไดในรอบเดือน ในหนว ยหอ ง-วัน โดยใชข อ มูลในชอง (2) ของตารางที่ ข-2 ชอ ง (2) ปรมิ าณพลังงานที่ใช แบง ออกเปน 2 ชอ งยอย คือ ชองไฟฟา ใหร ะบปุ ริมาณพลงั งานไฟฟาที่ใช ในหนวยกิโลวัตต- ชว่ั โมง โดยใชข อมูล ปรมิ าณพลงั งานไฟฟา ในชอง (2) ของตารางที่ 4.1 ชอ งความรอน ใหระบุปริมาณพลังงานความรอ นที่ใช ในหนวยเมกะจลู โดยใช ขอมูลการใชพลังงานความรอนจากเชือ้ เพลิงของตารางที่ 4.2 ชอง (3) ใหระบคุ าการใชพลงั งานจําเพาะ (SEC) ในหนว ยเมกะจูล/หอ ง-วัน

ใหแสดงกราฟคาการใชพ ลงั งานจาํ เพาะในรอบปเชน เดยี วกับตัวอยางรูปที่ 4.3

24

4.3 การประเมินระดับเครื่องจกั ร/อุปกรณ ใหบ นั ทึกขอมูลการใชพลงั งานไฟฟา ท่มี ีนัยสําคญั ในเครอ่ื งจกั ร/อปุ กรณตามแบบบันทึกในตารางท่ี 4.9 ชอง (1) ใหระบชุ อ่ื ของระบบทใี่ ชพ ลงั งาน (ระบใุ หสอดลองกบั ตารางท่ี 4.4) ชอ ง (2) ใหร ะบุช่อื เคร่อื งจกั ร/อุปกรณหลกั ทใี่ ชง านในระบบนน้ั ๆ ชอ ง (3) ใหระบุขนาดพิกัดของเคร่อื งจกั ร/อุปกรณ โดยดจู ากคูมือ (Manual) หรอื แผน ปายชื่อ (Name plate) ที่ตวั เคร่อื ง ชอง (4) ใหระบอุ ายกุ ารใชง านของเคร่ืองจกั ร/อุปกรณ ชอ ง (5) ใหระบุจาํ นวนของเคร่อื งจกั ร/อุปกรณ ชอง (6) ใหระบุจาํ นวนช่ัวโมงการเดนิ เครอื่ งจกั ร/อปุ กรณเ ฉล่ยี ในรอบป ชอง (7) ใหระบุปริมาณการใชพลังงานไฟฟาของเคร่ืองจักร/อุปกรณเฉลี่ยในรอบป คา ปริมาณการใชพลงั งานไฟฟา อาจไดม าจากการอานคาจากมเิ ตอรยอยทต่ี ิดตั้งในแต ละระบบ (ถามี) หรอื ไดจากการประเมนิ ขนาดพิกดั ของเครือ่ งจกั ร/อุปกรณหลักท่ีใช หรอื จากการตรวจวดั ชอง (8) คา ประสิทธิภาพหรือสมรรถนะ แบง ออกเปน 2 ชองยอย คอื ชองระบุคา ใหระบุคาประสิทธิภาพหรือสมรรถนะของเครื่องจักรหรืออุปกรณโดย วิเคราะหดวยวธิ กี ารประเมินหรอื จากการตรวจวดั ชอ งหนว ย ใหระบุหนวยของคาประสิทธภิ าพหรอื สมรรถนะของเคร่ืองจักรหรืออปุ กรณ ชอ ง (9) ใหระบุปริมาณการสูญเสียพลังงานของเคร่อื งจกั ร/อุปกรณ และหนวย ดวยวิธีการ ประเมนิ หรือจากการตรวจวดั

ตวั อยาง การบันทึกขอมูลการใชพลังงานไฟฟาทม่ี ีนยั สําคญั

ตารางที่ 4.9 แบบบนั ทึกขอ มูลการใชพลงั งานไฟฟา ทม่ี นี ัยสาํ คญั ของเคร่อื งจกั ร/อปุ กรณห ลัก

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) หมายเหตุ อายกุ าร คาประสทิ ธิภาพ ระบบที่ใช ช่ือเครื่องจกั ร พิกดั ใชง าน จํานวน ช่ัวโมงใชงาน ปริมาณการใช หรือสมรรถนะ ปรมิ าณการ พลังงาน /อปุ กรณห ลัก (หนวย) เฉลีย่ ตอ ป พลงั งานไฟฟา สญู เสยี พลงั งาน ขนาด หนวย (ป) ระบคุ า หนว ย (กิโลวัตต-ชัว่ โมง/ป) (หนว ย)

แสงสวา ง บลั ลาสต 10 วตั ต 5 2,720 ชดุ 3,000 81,600 4 วตั ต 3,000 293,760 - แสงสวาง หลอดแสงสวาง 36 วตั ต 1 2,720 หลอด 2,000 44,000 1.25 kW/TR - ปรับอากาศ เครอื่ งปรับ 20,000 Btu/h 10 10 เครื่อง อากาศแยกสว น

25

ใหบ ันทกึ ขอ มลู การใชพลังงานความรอนที่มนี ยั สาํ คญั ในเคร่ืองจักร/อุปกรณต ามแบบบนั ทกึ ในตารางท่ี 4.10 ชอ ง (1) ใหร ะบชุ ่อื ของระบบทใ่ี ชพ ลังงาน (ระบุใหส อดคลอ งกับตารางท่ี 4.5) ชอ ง (2) ใหระบุชอื่ เครอ่ื งจกั ร/อปุ กรณหลักท่ใี ชใ นระบบนน้ั ๆ ชอง (3) ใหระบุขนาดพิกดั ของเคร่อื งจกั ร/อปุ กรณ โดยดูจากคูมือ (Manual) หรือแผนปายชือ่ (Name plate) ทตี่ ัวเคร่ือง ชอ ง (4) ใหระบุอายกุ ารใชงานของเคร่ืองจักร/อปุ กรณ ชอง (5) ใหร ะบุจํานวนของเครอื่ งจกั ร/อุปกรณ ชอ ง (6) ใหร ะบชุ นิดของเชอื้ เพลิงหลกั ท่ใี ชในเครอ่ื งจักร/อุปกรณ ชอ ง (7) ใหระบจุ าํ นวนชัว่ โมงการเดนิ เครื่องจักร/อุปกรณเฉล่ียในรอบป ชอง (8) ใหระบุปรมิ าณการใชพ ลังงานความรอนในเคร่ืองจักร/อปุ กรณเฉล่ียในรอบป คา ปริมาณการใชพ ลังงานความรอนอาจไดจ ากการคํานวณจากปรมิ าณเชือ้ เพลิงทีใ่ ช ซึ่งอานคาจากมิเตอรยอยที่ติดต้ังในแตละระบบ (ถามี) หรือไดจากการประเมิน ขนาดพกิ ดั ของเคร่ืองจักร/อปุ กรณท ่ใี ช หรอื จากการตรวจวัด ชอ ง (9) คาประสทิ ธภิ าพหรือสมรรถนะ แบง ออกเปน 2 ชอ งยอย คอื ชองระบุคา ใหระบุคาประสิทธิภาพหรือสมรรถนะของเคร่ืองจักรหรืออุปกรณโดย วเิ คราะหดว ยวธิ ีการประเมินหรือจากการตรวจวดั ชองหนว ย ใหระบหุ นวยของคา ประสิทธิภาพหรอื สมรรถนะของเคร่ืองจกั รหรอื อุปกรณ ชอ ง (10) ใหระบุปริมาณการสูญเสียพลังงานของเคร่ืองจกั ร/อปุ กรณ และหนว ย ดว ยวิธีการ ประเมินหรือจากการตรวจวดั

ตัวอยา ง การบันทึกขอ มูลการใชพ ลังงานความรอ นท่ีมนี ัยสาํ คัญ

ตารางที่ 4.10 แบบบนั ทึกขอมลู การใชพลังงานความรอ นทีม่ นี ยั สาํ คัญของเครือ่ งจกั ร/อปุ กรณห ลัก

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) หมายเหตุ ระบบท่ใี ช ช่ือเคร่อื งจกั ร พิกดั อายกุ าร จํานวน ชนิดเช้อื เพลิง ช่ัวโมงใชง าน ปรมิ าณการใช คา ประสทิ ธภิ าพ ปรมิ าณการ พลงั งาน /อุปกรณหลกั ขนาด หนวย ใชง าน พลงั งานความรอน หรือสมรรถนะ สูญเสยี พลงั งาน (หนวย) ทีใ่ ช เฉลีย่ ตอ ป (เมกะจลู /ป) ระบคุ า หนว ย ไอนา้ํ หมอ ไอนํา้ 5 ตนั (ป) (หนว ย) 28,926,720 79.0 % ไอน้าํ ทอไอน้าํ 250 mm 6 2 เครอื่ ง LPG 6,200 - ขอ มูลจากการ - -- ตรวจวัด 6 - ทอความยาว 3 1 ชดุ - 12,000 MJ/ป เมตร, สภาพ ไมไดหุมฉนวน

26

ขั้นตอนท่ี 5 การกาํ หนดเปาหมายและแผนอนรุ ักษพลังงาน และแผนการฝก อบรมและกิจกรรม สงเสรมิ การอนรุ กั ษพลังงาน

ใหระบมุ าตรการและเปา หมายในการดาํ เนนิ การอนรุ กั ษพ ลงั งานในตารางที่ 5.1 ชอ ง (1) ใหร ะบลุ ําดับทข่ี องมาตรการอนุรกั ษพลงั งานที่ดาํ เนินการ ชอ ง (2) ใหร ะบุชอ่ื มาตรการอนุรกั ษพ ลังงาน ชอง (3) เปาหมายการประหยัด แบงออกเปน 2 ชอง คอื

ชอ งไฟฟา (สําหรับมาตรการดา นไฟฟา ) แบง ออกเปน 3 ชองยอย คอื ชองกิโลวัตต ใหร ะบุคา พลังไฟฟาสูงสดุ ที่ลดลงได ชองกิโลวตั ต-ชว่ั โมง/ป ใหระบปุ รมิ าณพลงั งานไฟฟาท่ีประหยัดไดต อป จากการ ดาํ เนนิ มาตรการอนุรกั ษพ ลังงานตามทไ่ี ดว ิเคราะหไ ว ชอ งบาท/ป ใหร ะบุมูลคา การประหยัดในการดําเนินมาตรการอนุรักษพ ลังงานโดย คาํ นวณไดจากผลคณู ของปริมาณพลังงานไฟฟา ทปี่ ระหยดั ได (กิโลวตั ต-ช่ัวโมง/ป) กับอัตราคาไฟฟา เฉลี่ย (บาท/กิโลวัตต-ช่วั โมง) (จากตารางที่ 4.1)

ชองเชอ้ื เพลิง (สําหรบั มาตรการดา นความรอน) แบง ออกเปน 3 ชอ งยอ ย คือ ชอ งชนิด ใหร ะบชุ นิดของเชอื้ เพลงิ ทใ่ี ช ชอ งปรมิ าณ ใหระบุปริมาณของเชอ้ื เพลงิ ทีป่ ระหยัดไดตอ ป จากการดาํ เนิน มาตรการอนุรกั ษพลังงานตามทีไ่ ดว เิ คราะหไว ชองบาท/ป ใหระบุมลู คาการประหยัดในการดาํ เนินมาตรการอนุรกั ษพลงั งานโดย คาํ นวณไดจ ากผลคณู ของปริมาณเช้ือเพลิงทปี่ ระหยัดได(หนวย/ป) กับอตั ราคา เช้อื เพลิงเฉลีย่ (บาท/หนว ย)

ชอง (4) ใหระบุรอ ยละผลประหยดั ของปรมิ าณพลงั งานโดยคดิ เทยี บจากการใชพ ลังงานรวมในปที่ ผา นมา

ชอ ง (5) ใหระบุจํานวนเงนิ ลงทนุ ที่ใชในการดาํ เนินมาตรการอนรุ ักษพ ลังงาน ชอง (6) ใหระบุระยะเวลาคนื ทนุ ของการลงทุนเพ่ือดาํ เนินมาตรการอนรุ ักษพลงั งาน

27

ตวั อยาง การกรอกมาตการและเปา หมายในการดําเนินการอนรุ กั ษพ ลังงาน

ตารางท่ี 5.1 มาตรการและเปา หมาย

(1) (2) (3) เปา หมายการป ลาํ ดบั มาตรการ ไฟฟา กโิ ลวัตต กิโลวตั ต-ช่ัวโมง/ป บาท/ป ท่ี - 81,600 257,040 ดา นไฟฟา - 2,050 6,150 - 103,500 326,025 1 การใชบลั ลาสตอ ิเลก็ ทรอนคิ สแทน - 187,150 589,522 บลั ลาสตแ กนเหลก็ --- 2 ปรับตงั้ ความดนั เครื่องอดั อากาศให เหมาะสม

3 การใชโคมสะทอนแสง

รวม

ดานความรอน

1 หมุ ฉนวนทอ สง ไอนํา้

รวม - - -

หมายเหต:ุ (1) %ประหยัด คดิ เทยี บจากขอมูลการใชพ ลงั งานรวมในปท ี่ผานมา 28 (2) อัตราคา ไฟฟา เฉลี่ย …......3.15.............. บาท/กิโลวัตต- ชัว่ โมง (3) อัตราคาเช้อื เพลงิ …........22.00............... บาท/กโิ ลกรัม

ยในการดาํ เนนิ การอนุรกั ษพลังงาน

ประหยัดตอ ป (4) (5) (6) รอยละผล เงนิ ลงทุน ระยะเวลา เชือ้ เพลงิ ประหยดั (บาท) คืนทนุ ชนิด ปริมาณ บาท/ป (ป)

(กิโลกรัม/ป)

- - - 4.6 700,000 2.72

-- - 0.12 - -

- - - 5.8 650,000 1.99 - - - 10.52 1,350,000 2.29

กา ซ 30,745 676,392 4.53 250,000 0.37 ปโ ตรเลยี ม 30,745 676,392 4.53 250,000 0.37

เหลว กาซ ปโ ตรเลียม เหลว

8

ใหระบุแผนอนุรักษพลงั งานดา นไฟฟาและดา นความรอน ในตารางที่ 5.2 และ 5.3 ตามลําดบั ชอ ง (1) ใหร ะบุลาํ ดบั ทีข่ องมาตรการอนุรกั ษพ ลงั งานท่ดี าํ เนินการ ชอง (2) ใหร ะบุช่ือมาตรการอนุรักษพ ลงั งาน ชอ ง (3) ใหระบุวตั ถุประสงคของการดาํ เนินมาตรการอนรุ ักษพ ลังงานนัน้ ๆ ชอง (4) ระยะเวลา แบง ออกเปน 2 ชอ งยอ ย คือ ชองเร่ิมตน ใหร ะบุ เดือน ป ที่จะเริม่ ตน ดาํ เนินมาตรการตามแผนอนุรักษพลังงาน ชอ งส้นิ สดุ ใหระบุ เดอื น ป ที่คาดวาการดาํ เนนิ มาตรการอนรุ กั ษพลงั งานจะสน้ิ สดุ ชอ ง (5) ใหร ะบุจํานวนเงนิ ลงทุนสาํ หรับการดาํ เนนิ มาตรการอนุรักษพลังงาน ชอ ง (6) ใหระบชุ อ่ื ผูรบั ผดิ ชอบทด่ี ําเนินการของมาตรการอนรุ กั ษพ ลังงาน

ตวั อยาง การกรอกแผนอนรุ ักษพ ลังงานดา นไฟฟา ตารางที่ 5.2 แผนอนุรกั ษพลังงานดา นไฟฟา

(1) (2) (3) (4) ระยะเวลา (5) (6) ลําดบั มาตรการ วตั ถุประสงค เงนิ ลงทนุ ผรู ับผิดชอบ เริม่ ตน สิน้ สุด นายอนรุ ักษ พลงั งาน ที่ (เดือน/ป) (เดอื น/ป) (บาท) 700,000 1 การใชบ ัลลาสตอเิ ล็กทรอนิคส ลดการสูญเสยี พลังงานไฟฟา ส.ค. 2553 ต.ค. 2553 แทนบัลลาสตแกนเหลก็ ในบลั ลาสตแกนเหลก็ แบบเดิม

2 ปรับต้งั ความดนั เครอ่ื งอดั ลดความดันเครอื่ งอดั อากาศ ส.ค. 2553 ส.ค. 2553 - นายอนุรกั ษ พลังงาน อากาศใหเหมาะสม ใหเหมาะสมกับการใชง าน

3 การใชโคมสะทอนแสง ลดจาํ นวนหลอดไฟฟา ใน ต.ค. 2553 ธ.ค. 2553 650,000 นายอนุรักษ พลังงาน ระบบแสงสวาง

29

เมื่อกําหนดแผนอนุรักษพลังงานดา นไฟฟาและดานความรอนดังแสดงในตารางท่ี 5.2 และ 5.3 ใหแสดง รายละเอยี ดในการดาํ เนนิ การในแตละมาตรการตามลาํ ดบั ที่ระบุไวในแผนฯ โดยใหร ะบุรายละเอยี ดในแตล ะ มาตรการอนุรักษพ ลังงานดังนี้

รายละเอยี ดมาตรการอนุรกั ษพ ลงั งาน (สําหรบั มาตรการดานไฟฟา ) ขอ 1) ใหระบุลาํ ดับทีข่ องมาตรการอนรุ ักษพ ลงั งานดานไฟฟา ทดี่ าํ เนนิ การ ขอ 2) ใหร ะบุชือ่ มาตรการอนรุ ักษพ ลังงานดา นไฟฟา ขอ 3) ใหระบุชอ่ื และตําแหนงของผรู บั ผิดชอบมาตรการอนุรักษพลงั งานนนั้ ๆ ขอ 4) ใหระบชุ อื่ ของอุปกรณท่ีดาํ เนินการปรับปรงุ หรอื เปลี่ยนแปลง ขอ 5) ใหร ะบุจํานวนอปุ กรณท่ปี รับปรงุ หรือเปล่ียนแปลง ขอ 6) ใหร ะบุช่อื ของสถานทีต่ ัง้ ของอุปกรณทีด่ ําเนินการปรับปรุงหรือเปลีย่ นแปลง ขอ 7) ใหร ะบสุ าเหตุหรอื วตั ถุประสงคในการปรบั ปรงุ ขอ 8) ใหร ะบเุ ปา หมายเชิงปริมาณของผลประหยดั ซง่ึ อาจอยใู นรูปของพลังไฟฟาสูงสุดที่ลดลงได (กิโลวตั ต) หรือปริมาณพลังงานไฟฟาทปี่ ระหยัดไดตอ ป (กิโลวตั ต-ช่ัวโมง/ป) รวมทั้งมูลคา ของผลประหยดั ทีเ่ กดิ ข้ึน (บาท/ป) ขอ 9) ใหระบุระดับการใชพ ลงั งานอา งองิ กอนการปรับปรงุ ขอ 10) ใหระบรุ ะดับการใชพ ลังงานอา งองิ หลังการปรบั ปรุง ขอ 11) ใหระบุมูลคา ของเงินลงทนุ ทงั้ หมดทใ่ี ชใ นการดําเนินมาตรการอนุรักษพ ลังงานน้ันๆ ขอ 12) ใหร ะบุระยะเวลาคืนทนุ (ป) ของการลงทนุ เพอื่ ดําเนนิ มาตรการอนรุ ักษพลงั งาน ขอ 13) ใหระบุรายละเอียดในการดําเนินการปรบั ปรงุ ขอ 14) ใหระบุวิธีการตรวจสอบผลการประหยดั หลังการปรบั ปรุง เชน การตดิ ตั้งมิเตอรเพอ่ื วัด ปรมิ าณพลงั งานไฟฟากอนและหลงั การปรับปรุง ขอ 15) ใหแ สดงวิธีการคาํ นวณผลประหยดั ที่เกิดข้นึ รวมทั้งระยะเวลาคนื ทุน

30

ตัวอยา ง การแสดงรายละเอียดมาตรการอนุรกั ษพ ลังงาน

รายละเอยี ดมาตรการอนุรกั ษพ ลังงาน (สาํ หรับมาตรการดานไฟฟา)

  1. มาตรการลาํ ดบั ที่: ....1....................
  2. ช่อื มาตรการ: …การใชบ ัลลาสตอ เิ ลก็ ทรอนิคสแ ทนบลั ลาสตแกนเหล็ก......................……..
  3. ผูรับผดิ ชอบมาตรการ:...นายอนุรกั ษ พลังงาน..... ตําแหนง...วิศวกร…….........................
  4. อุปกรณท่ปี รับปรุง: …บัลลาสตสําหรับไฟแสงสวา ง..........................................................
  5. จาํ นวนอปุ กรณที่ปรบั ปรงุ : …2,720…ตัว
  6. สถานทีป่ รบั ปรุง: …อาคารสยาม........................................................................................
  7. สาเหตกุ ารปรบั ปรงุ : ลดการสูญเสียพลงั งานไฟฟา ในบัลลาสตแ กนเหลก็ แบบเดิมโดยเปล่ยี นมาใชบัล

ลาสตอิเลก็ ทรอนิคส ซ่ึงจะลดกําลงั ไฟฟา สูญเสยี ได 10 วตั ต ตอ บลั ลาสต

กโิ ลวตั ต กิโลวัตต-ชั่วโมง/ป บาท/ป 257,040

  1. เปาหมายเชงิ ปรมิ าณ - 81,600 1,182,384 925,344
  2. ระดบั การใชพ ลงั งานอา งอิงกอนการปรบั ปรงุ - 375,360 บาท
  3. ระดับการใชพ ลงั งานเปาหมายหลงั การปรับปรุง - 293,760 ป
  1. เงนิ ลงทุนทง้ั หมด 700,000
  1. ระยะเวลาคนื ทนุ 2.72
  1. รายละเอยี ดการดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ

1. ตรวจวดั ระดบั คา ความสอ งสวาง (Lux) ของพนื้ ทีก่ อ นทจ่ี ะดําเนนิ การปรบั ปรุง

2. เปลย่ี นบลั ลาสตอิเล็กทรอนคิ สแ ทนบลั ลาสตแ กนเหล็กแบบเดมิ

3. ตรวจวดั ระดับคาความสอ งสวาง (Lux) ของพน้ื ท่หี ลังการปรบั ปรุง

  1. วธิ ีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังปรบั ปรุง

ตดิ มิเตอรยอยสําหรับตรวจวดั ปรมิ าณการใชพ ลงั งานไฟฟาในระบบแสงสวาง

  1. แสดงวิธีการคํานวณประกอบ

กอนปรบั ปรงุ พลงั งานไฟฟากอนปรบั ปรงุ = (วตั ต+กําลังไฟฟาสญู เสีย)/1,000 x จาํ นวน x ชั่วโมง/วัน x วนั /ป \= (36 + 10)/1,000 x 2,720 x 10 x 300

\= 375,360 kWh/ป

หลงั ปรับปรุง พลงั งานไฟฟา หลังปรับปรงุ = (วัตต+กาํ ลงั ไฟฟา สูญเสยี )/1000 x จาํ นวน x ช่ัวโมง/วนั x วนั /ป \= (36 + 0)/1,000 x 2,720 x 10 x 300

31

มลู คาผลประหยดั = 293,760 kWh/ป ระยะเวลาคนื ทนุ = (พลงั งานไฟฟากอนปรบั ปรงุ -พลงั งานไฟฟาหลังปรบั ปรุง) x คาไฟฟา ตอหนว ย \= (375,360-293,760) x 3.15 \= 257,040 บาท/ป \= 700,000/257,040 \= 2.72 ป

รายละเอียดมาตรการอนรุ กั ษพลงั งาน (สําหรับมาตรการดานความรอ น) ขอ 1) ใหระบลุ าํ ดับทขี่ องมาตรการอนุรักษพลงั งานดา นความรอ นทดี่ ําเนินการ ขอ 2) ใหระบชุ ่อื มาตรการอนรุ กั ษพลงั งานดา นความรอน ขอ 3) ใหระบชุ ่อื และตําแหนง ของผูรับผดิ ชอบมาตรการอนรุ ักษพ ลงั งานนนั้ ๆ ขอ 4) ใหร ะบชุ ื่อของอปุ กรณที่ดําเนินการปรับปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลง ขอ 5) ใหระบจุ าํ นวนอุปกรณท ่ปี รับปรุงหรือเปล่ียนแปลง ขอ 6) ใหร ะบชุ อ่ื ของสถานที่ตงั้ ของอปุ กรณท ด่ี ําเนนิ การปรับปรงุ หรอื เปล่ียนแปลง ขอ 7) ใหร ะบุสาเหตหุ รือวตั ถุประสงคในการปรับปรุง ขอ 8) ใหร ะบุเปาหมายเชิงปริมาณของผลประหยัด ในรปู ของปริมาณเชื้อเพลงิ ทีป่ ระหยดั ไดตอป (หนว ย/ป) ปรมิ าณพลงั งานความรอ นประหยัดไดต อ ป (เมกะจลู /ป) และมูลคาของผลประหยัดท่เี กดิ ขนึ้ (บาท/ป) ขอ 9) ใหร ะบุระดบั การใชพ ลงั งานอา งองิ กอ นการปรบั ปรงุ ขอ 10) ใหร ะบรุ ะดับการใชพลงั งานอา งองิ หลงั การปรับปรงุ ขอ 11) ใหระบุมลู คาของเงนิ ลงทนุ ท้ังหมดทใ่ี ชในการดําเนนิ มาตรการอนรุ กั ษพลังงานนัน้ ๆ ขอ 12) ใหระบรุ ะยะเวลาคืนทุน (ป) ของการลงทนุ เพ่อื ดาํ เนนิ มาตรการอนรุ ักษพ ลงั งาน ขอ 13) ใหระบุรายละเอียดในการดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ ขอ 14) ใหร ะบุวธิ กี ารตรวจสอบผลการประหยัดหลงั การปรบั ปรุง เชน การติดตงั้ มิเตอรเพื่อวัด ปรมิ าณการใชเ ชอื้ เพลิงกอ นและหลังการปรบั ปรุง ขอ 15) ใหแสดงวธิ กี ารคาํ นวณผลประหยัดที่เกิดขน้ึ รวมทงั้ ระยะเวลาคืนทุน

32

ตวั อยา ง การแสดงรายละเอียดมาตรการอนุรักษพลังงาน

รายละเอียดมาตรการอนรุ ักษพลงั งาน (สําหรบั มาตรการดานความรอ น)

  1. มาตรการลําดับที่: ....1....................
  1. ชือ่ มาตรการ: …………หุมฉนวนทอ สง ไอน้าํ ……………….....….............................……..
  1. ผรู ับผดิ ชอบมาตรการ:...นายอนรุ ักษ พลงั งาน..... ตาํ แหนง...วิศวกร…….........................
  1. อปุ กรณท่ปี รับปรุง: ……ทอ สง ไอนํา้ ขนาดเสน ผา นศูนยก ลาง 60.5 มิลลเิ มตร.....................
  2. จํานวนอุปกรณท่ปี รบั ปรุง: …ทอ สงไอนํ้ายาว 150 เมตร....................................................
  1. สถานท่ีปรับปรุง: …หอ งระบบผลิตไอนํ้า...................................................................................
  1. สาเหตุการปรบั ปรงุ : ลดความรอนสูญเสยี ของทอสง ไอน้ําเนอื่ งจากไมมีการหุมฉนวนความรอนและทอ

บางสว นทีม่ กี ารหมุ ฉนวนแลวสภาพฉนวนมกี ารชํารดุ

กิโลกรัม/ป เมกะจลู /ป บาท/ป

  1. เปาหมายเชิงปริมาณ 30,745.10 1,312,416 676,392.2
  1. ระดับการใชพลังงานอา งองิ กอนการปรบั ปรุง 34,039.22 1,453,032 748,862.8
  1. ระดบั การใชพลงั งานเปาหมายหลังการปรบั ปรงุ 3,294.12 140,616 72,470.6
  1. เงนิ ลงทุนทั้งหมด 250,000 บาท
  1. ระยะเวลาคนื ทุน 0.37 ป
  1. รายละเอยี ดการดาํ เนินการปรบั ปรุง: 1. ตรวจวดั อณุ หภมู ผิ ิวทอท่ีไมมกี ารหุมฉนวน

2. วดั ขนาดและความยาวของทอท่ีไมไ ดห มุ ฉนวน รวมทัง้ ความยาวทอในสวนท่ีฉนวนมีการชาํ รุด

3. ดําเนนิ การหมุ ฉนวนใยแกว หนา 38 มลิ ลเิ มตร

4. ตรวจวัดอณุ หภูมทิ ผี่ วิ ของฉนวนท่ดี าํ เนนิ การหุมฉนวน

  1. วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลงั ปรับปรงุ

บันทึกปริมาณเชือ้ เพลิงที่ใชสาํ หรบั หมอตมไอนาํ้ และปรมิ าณไอนํา้ ที่ผลิตไดจากมเิ ตอร กอนและหลัง การดาํ เนินการหุมฉนวนกนั ความรอน

  1. แสดงวิธีการคาํ นวณประกอบ

หมอ ไอนํา้ ใชกาซปโ ตรเลียมเหลว(LPG) มปี ระสทิ ธภิ าพการทํางาน 85%

ช่วั โมงการทาํ งานคิดเปนเปน 6,200 ชัว่ โมงตอ ป

ความยาวทอทีต่ อ งหมุ ฉนวนใหม 150 เมตร

กอ นปรับปรุง อณุ หภมู ิของผวิ ทอทีว่ ัดไดกอ นหุมฉนวนเทา กับ 150 องศาเซลเซียส

33

จากตารางแสดงการสูญเสยี ความรอนจากทอ (ตารางท่ี 3 จาก หนังสอื “ฉนวนความรอน” โดย กองทนุ เพอ่ื สงเสริมการอนรุ กั ษพ ลงั งาน) พบวา มกี ารสูญเสยี ความรอนเปน 434 วัตตตอเมตร ความรอ นสูญเสยี = (150m x 434 W/m x 3,600 วินาท/ี ชว่ั โมง x 2,700 ช่ัวโมง/ป) / (1,000,000 J/MJ)

\= 1,453,032 MJ/ป ปริมาณความรอ นจํานวนนเ้ี มอื่ เปรียบเทยี บเปน ความรอ นของ LPG ทีป่ ระสทิ ธภิ าพของหมอไอน้ําที่ ประสิทธิภาพการทาํ งาน 85% ไดเปน ปริมาณ LPG ทั้งหมด

\= (1,453,032 MJ/ป / 50.22 MJ/kg) / 0.85 (คา ความรอนของ LPG = 50.22 MJ/kg) \= 34,039.22 kg/ป \= 748,862.84 บาท/ป (อตั ราคา เช้อื เพลิง = 22.00 บาท/kg) หลงั ปรับปรงุ การสูญเสยี ความรอนมีคา เปน 42 วัตตต อเมตร ความรอ นสญู เสีย = (150m x 42 W/m x 3600 วนิ าที/ชั่วโมง x 6,500 ชว่ั โมง/ป) / (1,000,000J/MJ) \= 140,616 MJ/ป ปริมาณความรอนจาํ นวนนีเ้ ม่อื เปรียบเทยี บเปนความรอ นของ LPG ทปี่ ระสิทธิภาพของหมอไอน้าํ ที่ ประสิทธภิ าพการทาํ งาน 85% ไดเ ปนปริมาณ LPG ท้งั หมด \= (140,616 MJ/ป / 50.22 MJ/kg) / 0.85 (คาความรอนของ LPG = 50.22 MJ/kg) \= 3,294.12 kg/ป \= 72,470.64 บาท/ป (อตั ราคา เชือ้ เพลิง = 22.00 บาท/kg) ผลประหยัด = สูญเสียคา ใชจ า ยกอนปรับปรงุ -สญู เสยี คา ใชจา ยหลงั ปรับปรุง \= 748,862.84 บาท/ป – 72,470.64 บาท/ป \= 676,392.2 บาท/ป ระยะเวลาคืนทุน = 250,000/676,392.2 \= 0.37 ป

34

ใหระบุแผนการฝกอบรมและกจิ กรรมสงเสริมการอนุรักษพลังงานประจําป (ม.ค.-ธ.ค.) ในตารางที่ 5.4 ชอง (1) ใหร ะบุลําดบั ทขี่ องแผนการฝก อบรมและกจิ กรรมภายในปน ั้นๆ ชอง (2) ใหร ะบชุ อื่ ของหลกั สูตร/กิจกรรมที่สง เสริมการอนุรักษพ ลงั งานตามแผนฯ ท่ีกาํ หนดขน้ึ ชอง (3) ใหร ะบกุ ลุม ผเู ขาอบรมทีเ่ ปน เปา หมายของหลกั สตู ร/กจิ กรรมท่จี ัดขึ้น ชอง (4) ใหร ะบุเดือนทจี่ ะจดั การฝก อบรมหรือกิจกรรมตามแผนฯ ที่กําหนดขน้ึ ชอ ง (5) ใหร ะบชุ ่อื ของผูรับผดิ ชอบทท่ี าํ หนาทจ่ี ัดการฝกอบรม/กิจกรรม

35

ตวั อยา ง การกรอกตารางแผนการฝก อบรมและกจิ กรรมสงเสริมการอนรุ ักษพ ลงั งา ตารางที่ 5.4 แผนการฝกอบรมและกจิ กรรม

(1) (2) (3) ลาํ ดับ หลกั สตู ร/กิจกรรม กลมุ ที่ ผเู ขา อบรม ม.ค. ก.พ ม.ี ค. เม.ย

1 เทคนิคการอนุรักษพ ลงั งานใน พนักงาน  ระบบแสงสวา ง ทุกคน

2 เทคนิคการบาํ รงุ รกั ษาหมอไอนํ้า แผนกซอ ม บํารุง

3 การประกวดคําขวญั เพื่อ พนกั งานทกุ  สงเสรมิ การอนรุ กั ษพลงั งาน คน

4 การบํารุงรกั ษาเชงิ ปอ งกนั (PM) ฝา ยวิศกรรม 

36

าน มสงเสรมิ การอนรุ กั ษพ ลงั งาน ประจําป 2553

(4) เดอื น (5) ผูร ับผิดชอบ พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. นายมงคล มีดี 

  นายภกั ดี ชใู จ

 นาย มงคล มีดี  นายภักดี ชูใจ

6

ขนั้ ตอนท่ี 6 การดําเนนิ การตามแผนอนรุ ักษพลงั งาน และการตรวจสอบและวเิ คราะหก ารปฎิบตั ติ าม เปา หมายและแผนอนรุ ักษพลงั งาน

6.1 ผลการติดตามการดาํ เนนิ การของมาตรการอนรุ กั ษพลงั งาน ใหระบผุ ลการติดตามการดาํ เนนิ การตามแผนอนุรักษพ ลังงานในตารางท่ี 6.1 ชองท่ี (1) ใหใ สต วั เลขแสดงลําดบั ทข่ี องมาตรการอนุรักษพลังงานทีด่ าํ เนนิ การตรวจสอบ ชอ งที่ (2) ใหใสช ื่อมาตรการอนุรักษพลังงานทดี่ ําเนนิ การตรวจสอบ ชอ งท่ี (3) สถานภาพการดําเนินการ แบงเปน 3 ชองยอย คอื ชอ งดําเนนิ การตามแผน ใหกาเครอ่ื งหมาย ในชอง [ ] กรณีท่มี าตรการไดถ กู ดําเนินการ และเปน ไปตามแผนทีไ่ ดวางไว ชอ งไมไ ดดําเนินการ ใหกาเครื่องหมาย ในชอง [ ] กรณีท่มี าตรการไมไ ดถูกดําเนินการ ตามทไี่ ดร ะบุไวในแผน ชองลาชา ใหก าเครอ่ื งหมาย ในชอง [ ] กรณีท่ีมาตรการไดถ กู ดําเนินการแตไมเ ปน ไป ตามแผนทีไ่ ดว างไว ชองท่ี (4) ใหร ะบุขอ มูลเพิม่ เตมิ ท่ีตองการใหร ายละเอียด (ถามี)

ตัวอยาง ตารางท่ี 6.1 สรุปผลการตรวจสอบการดาํ เนินการของมาตรการอนุรกั ษพ ลังงาน

(1) (2) (3) (4)

ลําดบั ท่ี มาตรการ สถานภาพการดาํ เนินการ หมายเหตุ

1 ตง้ั อุณหภมู เิ ทอรโมสตัท [ ] ดาํ เนินการตามแผน เครื่องปรบั อากาศใหเหมาะสม [ ] ไมไ ดด าํ เนินการ เน่ืองจาก

................................. [ ] ลาชา เนือ่ งจาก..........……..................……….

2 ลดอตั ราการร่วั ไหลในระบบอดั [ ] ดําเนินการตามแผน [ ] ไมไดด าํ เนินการ เน่อื งจาก.................................. อากาศ [] ลาชา เน่อื งจาก ขาดกําลงั คน พนักงานมีงาน

ประจาํ เยอะมาก

3 การใชบลั ลาสตอ ิเลคทรอนกิ ส [ ] ดาํ เนินการตามแผน [] ไมไ ดดําเนินการ เน่อื งจาก งบประมาณยงั ไมไ ด แทนบลั ลาสตแกนเหล็ก รบั การอนมุ ัติ

[ ] ลาชา เนอ่ื งจาก..........……...............………….

37

ใหร ะบุผลการตรวจสอบและวเิ คราะหก ารปฎิบัติตามมาตรการอนุรกั ษพลงั งานดา นไฟฟา ในตารางที่ 6.2 โดย เรียงลาํ ดบั ตามแผนอนรุ กั ษพ ลังงานดานไฟฟา ในตารางที่ 5.2 และใหก รอก 1 แผน ตอ 1 มาตรการ คาํ อธบิ าย

  1. ใหระบชุ ือ่ มาตรการอนุรักษพ ลังงานดานไฟฟา
  2. ใหระบลุ าํ ดบั ท่ขี องมาตรการดานไฟฟา
  3. ใหร ะบุจํานวนมาตรการดานไฟฟาทั้งหมดทีม่ ีอยูในแผนอนุรกั ษพลังงานดานไฟฟา ใหร ะบผุ ลการดําเนนิ การและผลการอนุรักษพ ลงั งานในตาราง โดย ชอง (1) ระยะเวลาดาํ เนนิ การ แบง ออกเปน 2 ชองยอ ย คอื ชองตามแผนดาํ เนนิ การ ใหร ะบุ วนั เดือน ป ของชวงเวลาตามแผนอนรุ ักษพลังงาน เชน 1 สิงหาคม

2553 ถึง 10 ตลุ าคม 2553 ชอ งท่ีเกิดขึ้นจรงิ ใหร ะบุ วัน เดือน ป ของชวงเวลาที่ดําเนินมาตรการอนรุ ักษพลังงานจริง เชน 5

ตลุ าคม 2553 ถึง 11 ตลุ าคม 2553 หรือ กรณีทย่ี ังดําเนินการไมแลวเสร็จใหร ะบุ ชวงเวลาทีค่ าดวาจะแลว เสร็จ ชอ ง (2) ใหร ะบุสถานภาพดําเนนิ การของมาตรการอนุรักษพ ลังงาน เชน ดําเนินการสาํ เรจ็ แลว หรือในกรณีที่ ยงั ดาํ เนินการไมแลวเสร็จ อาจจะระบุในรูปของรอยละผลดําเนนิ การ หรือระบุในรปู ของคําอธบิ าย เชน มีการติดตง้ั อุปรณเสรจ็ แลว อยรู ะหวา งการทดสอบเดินเครื่อง ชอ ง (3) เงนิ ลงทุน แบงออกเปน 2 ชอ งยอย คอื ชอ งตามแผน ใหร ะบวุ งเงินลงทุนในมาตรการน้นั ๆ ตามที่ไดป ระมาณการไวในตารางท่ี 5.2 ชองลงทุนจรงิ ใหร ะบุวงเงินลงทุนจริง หลงั จากไดด ําเนนิ มาตรการนัน้ เสร็จเรียบรอยแลว ชอง (4) ผลการอนุรักษพ ลงั งาน แบง ออกเปน 2 ชองยอย คอื ชอ งตามเปาหมาย ใหร ะบุเปาหมายเชิงปรมิ าณของผลประหยัด ซ่งึ อาจอยใู นรปู ของพลังไฟฟา สงู สุดทลี่ ดลงได (กโิ ลวัตต) หรือปรมิ าณพลังงานไฟฟาท่ีคาดวาจะประหยัดไดตอป (กโิ ลวตั ต-ช่วั โมง/ป) รวมทงั้ มูลคา ของผลประหยัดทเี่ กิดขึน้ (บาท/ป) จากตารางท่ี 5.1 ชองท่เี กดิ ข้ึนจริง ใหระบุปริมาณของผลประหยดั ที่เกดิ ขึน้ จรงิ ภายหลังการดาํ เนินมาตรการ ซ่งึ อาจ อยใู นรปู ของพลงั ไฟฟาสูงสุดที่ลดลงได (กโิ ลวัตต) หรือปรมิ าณพลงั งานไฟฟา ท่ี ประหยัดไดต อป (กิโลวตั ต-ชั่วโมง/ป) รวมท้งั มูลคา ของผลประหยัดท่เี กดิ ขึ้นจริง (บาท/ป)

  1. ใหร ะบุถงึ ปญหาและอุปสรรคตางๆ ทเ่ี กิดข้ึนหรือพบในระหวา งดําเนนิ การ ถา ไมพ บปญหาและไม มีอุปสรรคเกดิ ขึน้ ใหระบวุ าไมม ี
  2. ใหร ะบุความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะเพอ่ื ปรบั ปรงุ วธิ กี ารดาํ เนนิ การมาตรการนัน้ ๆ (ถา มี)

38

ตัวอยา ง การกรอกผลการตรวจสอบและวเิ คราะหการปฏิบัติตามมาตการอนุรักษพ ตารางท่ี 6.2 ผลการตรวจสอบและวเิ คราะ สําหรับมาตรก

ชื่อมาตรการ 1): ….......การใชบ ลั ลาสตอิเล็กทรอนิคสแทนบลั ลาสตแกนเหล็ก......... มาตรการลาํ ดบั ท่ี 2): ............1.......................................................... จากจาํ นวน

(1) (2) (3) ระยะเวลาดําเนนิ การ สถานภาพ เงนิ ลงทนุ

ตามแผน ทีเ่ กดิ ขึน้ จริง การ ตามแผน ลงทุนจริง กิโลวตั ต ดําเนนิ การ ดาํ เนินการ (บาท) (บาท)

1 ส.ค. 2553 5 ต.ค. 2553 ดําเนนิ การ 70,000 65,820 - ถึง ถึง เสรจ็ แลว

10 ต.ค. 2553 11 ต.ค. 2553

หมายเหต:ุ ระบุมาตรการเรยี งตามลําดบั โดยกรอก 1 แผน ตอ 1 มาตรการ

ปญ หาและอุปสรรคท่ีเกดิ ขน้ึ ระหวา งดาํ เนินการ 4): …ไมม ี.....….…........................

........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ความคดิ เห็นและขอเสนอแนะ 5): …-…..…………………………………………… ........................................................................................................................

39

พลังงานดา นไฟฟา ะหก ารปฏิบตั ติ ามมาตรการอนรุ ักษพลังงาน การดานไฟฟา .............................................................................. นทง้ั หมด 3): .................3......................... มาตรการ

(4) ผลการอนรุ กั ษพลังงาน

ตามเปาหมาย ท่ีเกดิ ขน้ึ จริง

ไฟฟา ไฟฟา

กิโลวัตต- ช่วั โมง/ป บาท/ป กโิ ลวัตต กโิ ลวัตต- ช่ัวโมง/ บาท/ป ป

8,160 24,480 - 8,320 24,200

......................................................................................................

....................................................................................................... ....................................................................................................... ……………………………………………………………………………. .......................................................................................................

9

ใหระบผุ ลการตรวจสอบและวิเคราะหก ารปฎิบัตติ ามมาตรการอนุรักษพลังงานดานความรอ นในตารางท่ี 6.3 โดยเรียงลาํ ดบั ตามแผนอนรุ กั ษพ ลังงานดา นความรอ นในตารางที่ 5.3 และใหก รอก 1 แผน ตอ 1 มาตรการ คําอธิบาย

  1. ใหระบุช่ือมาตรการอนุรกั ษพ ลงั งานดานความรอน
  2. ใหร ะบุลําดับที่ของมาตรการดานความรอน
  3. ใหร ะบจุ ํานวนมาตรการดา นความรอนท้งั หมดทีม่ ีอยใู นแผนอนรุ กั ษพลังงานดานความรอ น ใหร ะบุผลการดําเนนิ การและผลการอนรุ ักษพลังงานในตาราง โดย ชอ ง (1) ระยะเวลาดาํ เนนิ การ แบงออกเปน 2 ชองยอ ย คือ ชอ งตามแผนดําเนนิ การ ใหร ะบุ วัน เดอื น ป ของชว งเวลาตามแผนอนุรกั ษพ ลังงาน

เชน 1 กันยายน 2553 ถึง 15 กนั ยายน 2553 ชองท่ีเกิดข้นึ จรงิ ใหร ะบุ วัน เดอื น ป ของชว งเวลาท่ดี าํ เนนิ มาตรการอนรุ ักษพ ลงั งานจริง

เชน 5 กนั ยายน 2553 ถงึ 16 กันยายน 2553 หรอื กรณีทีย่ ังดําเนินการไมแ ลว เสร็จใหร ะบุชว งเวลาทค่ี าดวาจะแลว เสรจ็ ชอ ง (2) ใหระบสุ ถานภาพดําเนนิ การของมาตรการอนรุ ักษพลังงาน เชน ดาํ เนนิ การสําเร็จแลว หรือใน กรณที ีย่ ังดาํ เนินการไมแ ลวเสร็จ อาจจะระบุในรูปของรอ ยละผลดาํ เนินการ หรือระบใุ นรปู ของ คาํ อธบิ าย เชน มีการตดิ ตัง้ อุปรณเ สร็จแลวอยรู ะหวา งการทดสอบเดินเคร่อื ง ชอ ง (3) เงินลงทุน แบง ออกเปน 2 ชองยอ ย คือ ชองตามแผน ใหระบุวงเงนิ ของเงนิ ลงทนุ ในมาตรการน้ันๆ ตามทีไ่ ดประมาณการไวใ นตารางท่ี 5.3 ชอ งลงทุนจริง ใหร ะบวุ งเงินลงทนุ จรงิ หลงั จากไดดําเนินมาตรการน้นั เสรจ็ เรียบรอ ยแลว ชอง (4) ผลการอนรุ ักษพลังงาน แบง ออกเปน 2 ชอ งยอ ย คอื ชองตามเปาหมาย ใหระบุเปาหมายเชิงปริมาณของผลประหยัด โดยระบชุ นิดของเชอื้ เพลิงและ ปริมาณเชื้อเพลิงท่ีคาดวาจะประหยัด (หนวย/ป) รวมทั้งมูลคาของผลประหยัดที่เกิดข้ึน (บาท/ป) จากตารางท่ี 5.1 ชอ งทเ่ี กิดขน้ึ จริง ใหระบุปริมาณของผลประหยัดทีเ่ กิดขน้ึ จริงภายหลงั การดําเนินมาตรการ โดย ระบุชนิดของเช้ือเพลงิ และปริมาณเชอ้ื เพลิงท่ีประหยัดไดจริง (หนว ย/ป) รวมทัง้ มูลคา ของ ผลประหยัดท่เี กิดข้นึ จริง (บาท/ป)

  1. ใหร ะบุถึงปญหาและอปุ สรรคทเี่ กดิ ข้นึ ระหวางดําเนินการ (ถามี)
  2. ใหระบุความคดิ เห็นและขอเสนอแนะเพอื่ ปรบั ปรงุ วธิ กี ารดาํ เนินการมาตรการอนุรักษพ ลังงานนัน้ ๆ

40

ตวั อยาง การกรอกผลการตรวจสอบและวเิ คราะหก ารปฏิบัตติ ามมาตการอนรุ ักษพ ตารางท่ี 6.3 ผลการตรวจสอบและวิเคราะ สาํ หรับมาตรการ

ช่ือมาตรการ 1): ….หุมฉนวนทอสงไอนํา้ ............................................................... มาตรการลาํ ดบั ท่ี 2): ......1................................................................ จากจํานวน

(1) (2) (3)

ระยะเวลาดาํ เนินการ สถานภาพ เงนิ ลงทนุ การ ตามแผน ท่ีเกิดขน้ึ จริง ตามแผน ลงทุนจริง ชนดิ ดาํ เนินการ ดําเนนิ การ (บาท) (บาท)

1 ก.ย.2553 5 ก.ย.2553 ดําเนนิ การ 250,000 250,500 น้ํามนั เตา ถงึ ถึง เสร็จแลว เกรด C

15 ก.ย. 2553 16 ก.ย. 2553

หมายเหต:ุ ระบุมาตรการเรียงตามลําดบั โดยกรอก 1 แผน ตอ 1 มาตรการ

ปญหาและอปุ สรรคท่เี กิดขึน้ ระหวา งดําเนินการ 4): …-.......................................... ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ความคิดเหน็ และขอ เสนอแนะ 5):…-..………………………………………………… …………………………………………………………………………………………

41

พลังงานดา นความรอ น ะหก ารปฏิบัตติ ามมาตรการอนุรักษพ ลังงาน รดานความรอน ................................................................................... นทงั้ หมด 3): .....1.......................................... มาตรการ

(4) ผลการอนุรกั ษพลงั งาน

ตามเปาหมาย ท่เี กิดขนึ้ จรงิ

เช้อื เพลิง เชอ้ื เพลงิ

ปริมาณ บาท/ป ชนิด ปรมิ าณ บาท/ป (ลติ ร/ป) (ลติ ร/ป)

38,029.9 393,990.1 น้ํามันเตา 37,500 388,500 เกรด C

...................................................................................................... ...................................................................................................... ....................................................................................................... ………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………..

1

6.2 ผลการติดตามการดําเนนิ งานของแผนการฝก อบรมและกิจกรรมสง เสริมการอนุรกั ษพลงั งาน ใหระบผุ ลการติดตามการดําเนนิ งานของแผนการฝกอบรมและกจิ กรรมฯ ในตารางที่ 6.4 โดยเรียงลาํ ดบั ตามแผนการฝก อบรมและกิจกรรมฯ ในตารางท่ี 5.4 ชองที่ (1) ใหใ สต วั เลขแสดงลําดับทข่ี องแผนการฝก อบอรมและกจิ กรรมสง เสรมิ การอนรุ ักษพ ลงั งาน ชองที่ (2) ใหร ะบุชื่อหลักสูตรของการฝก อบรม หรอื ระบุชอ่ื กจิ กรรมสงเสรมิ การอนุรกั ษพ ลงั งาน ชอ งที่ (3) สถานภาพการดําเนนิ การ แบง เปน 3 ชองยอ ย คือ ชอ งดาํ เนนิ การตามแผน ใหก าเครอื่ งหมาย ในชอ ง [ ] กรณที ีก่ ารฝกอบรมและกิจกรรม ไดถกู ดําเนินการและเปนไปตามแผนท่ไี ดว างไว ชอ งไมไดดาํ เนนิ การ ใหก าเครอ่ื งหมาย ในชอ ง [ ] กรณที ี่การฝก อบรมและกิจกรรมไมได ถูกดาํ เนนิ การตามทไ่ี ดร ะบุไวในแผน ชอ งสาชา ใหกาเครอ่ื งหมาย ในชอง [ ] กรณีที่การฝกอบรมและกจิ กรรมไดถ กู ดําเนนิ การ แตไ มเปน ไปตามแผนทไ่ี ดว างไว ชอ งที่ (4) ใหระบจุ ํานวนพนักงานทไ่ี ดเขารว มการฝกอบรมหรือไดเ ขา รวมกจิ กรรม ชองท่ี (5) ใหร ะบุขอ มลู เพิม่ เติม ที่ตอ งการใหร ายละเอยี ด (ถาม)ี

ตวั อยา ง ตารางท่ี 6.4 การกรอกตารางสรปุ สถานภาพหลักสตู รการฝกอบรมและกิจกรรมสงเสริมการอนุรกั ษพลงั งาน