ใบ งานที่ 2 เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอน และตารางธาตุ เฉลย

101 บทที่ 2 | อะตอมและสมบัติของธาตุ เคมีเล่ม 1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี VIIA จะรับอิเล็กตรอนได้ดีที่สุด สำ�หรับธาตุหมู่ VIIIA มีค่า E A เป็นลบซึ่งได้จากการคำ�นวณแสดง ให้เห็นว่าถ้าต้องการให้ธาตุหมู่นั้นรับอิเล็กตรอนนอกจากจะไม่คายพลังงานแล้ว ยังต้องใส่พลังงาน แก่อะตอมเพิ่มด้วย 27. ครูทบทวนเรื่องธาตุและสารประกอบโดยยกตัวอย่าง เช่น Na HCl จากนั้นให้นักเรียน บอกความแตกต่างระหว่างธาตุและสารประกอบ แล้วให้ความรู้เพิ่มเติมว่าสารประกอบบางชนิด เช่น HCl มีการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน แล้วถามนักเรียนว่าอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันอยู่ตำ�แหน่งใดของ โมเลกุล (อยู่ใกล้ H หรือ Cl) เพื่อนำ�เข้าสู่เรื่องอิเล็กโทรเนกาติวิตี 28. ครูให้ความหมายของค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตีว่าเป็นความสามารถของอะตอมในการดึงดูด อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันในโมเลกุลของสาร จากนั้นให้นักเรียนศึกษารูป 2.28 แล้วร่วมกันสรุปแนวโน้ม ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในตารางธาตุ ซึ่งควรได้ว่าธาตุในคาบเดียวกันมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอม เพิ่มขึ้น เนื่องจากขนาดของอะตอมเล็กลง ธาตุในหมู่เดียวกันส่วนใหญ่มีค่าลดลง เนื่องจากขนาด ของอะตอมใหญ่ขึ้น 29. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อกลับไปตอบคำ�ถามว่าในสารประกอบ HCl อิเล็กตรอน ที่ใช้ร่วมกันน่าจะอยู่ตำ�แหน่งใด ซึ่งควรได้คำ�ตอบว่าอิเล็กตรอนอยู่ใกล้อะตอมของคลอรีนมากกว่า ไฮโดรเจน เนื่องจากมีค่า EN สูงกว่าอะตอมของไฮโดรเจน 30. ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 2.4 แล้วเฉลยร่วมกัน แนวการวัดและประเมินผล 1. ความรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของตารางธาตุ การระบุหมู่และคาบของธาตุในตารางธาตุ การ จัดกลุ่มธาตุในตารางธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และตามการจัดเรียงอิเล็กตรอน จากการทำ�กิจกรรม การทำ�แบบฝึกหัด และการทดสอบ 2. ความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มของขนาดอะตอมขนาดไอออนพลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพ อิเล็กตรอน และอิเล็กโทรเนกาติวิตี ของธาตุหมู่หลักตามคาบและตามหมู่ จากการการอภิปราย การทำ�แบบฝึกหัด และการทดสอบ 3. ทักษะการจำ�แนกประเภท การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การสร้างแบบจำ�ลอง และความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ�จากการอภิปราย

Made with FlippingBook

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4

สารบัญ บทที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ 53 ผลการเรียนรู้ 53 การวิเคราะห์ผลการเรียนร ู้ 54 ผังมโนทัศน์ 59 สาระสำ�คัญ 60 เวลาที่ใช ้ 60 ǩǕǖǛDžǏǑǐǗǣǘ ความรู้ก่อนเรียน 61 2.1 แบบจำ�ลองอะตอม 63 เฉลยแบบฝึกหัด 2.1 82 2.2 อนุภาคในอะตอมและไอโซโทป 84 เฉลยแบบฝึกหัด 2.2 87 2.3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม 89 เฉลยแบบฝึกหัด 2.3 93 2.4 ตารางธาตุและสมบัติของธาตุหมู่หลัก 95 เฉลยแบบฝึกหัด 2.4 102 2.5 ธาตุแทรนซิชัน 104 เฉลยแบบฝึกหัด 2.5 114 2.6 ธาตุกัมมันตรังส ี 115 เฉลยแบบฝึกหัด 2.6 120 2.7 การนำ�ธาตุไปใช้ประโยชน์และผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต 122 เฉลยแบบฝึกหัด 2.7 127 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท 129 อะตอม และสมบัติของธาตุ 2

Made with FlippingBook

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

สื่อการสอนวิชาเคมีเพิ่มเตอม

ใบ งานที่ 2 เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอน และตารางธาตุ เฉลย

สื่อการสอนวิชาเคมีเพิ่มเตอม

More Related Content

  1. 1. ใบงานที่ 2 เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนและตารางธาตุ ชื่อ-สกุล....................................................ชั้น.....................................เลขที่............... การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงานหลัก จากแบบจาลองอะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนแต่ละระดับ จะมีความ สามารถในการบรรจุ อิเล็กตรอนได้ไม่เท่ากัน โดย จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในระดับพลังงานที่ n = 2n2 เมื่อ n คือ ลาดับที่ ของชั้นพลังงาน เช่น ชั้น K (ชั้นที่ 1) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุด = 2 (12) = 2 ชั้น L (ชั้นที่ 2) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุด = 2 (22) = 8 ชั้น M (ชั้นที่ 3) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุด = 2 (32) = 18 ชั้น N (ชั้นที่ 4 ) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุด = 2 (42) = 32 หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมสาหรับ 20 ธาตุแรกของตารางธาตุ 1. ต้องจัดเรียงอิเล็กตรอนลงระดับพลังงานในสุด ( ชั้น K ) ให้เต็มก่อน แล้วจึงจัดเรียงอิเล็กตรอนลง ระดับพลังงานถัดออกมาข้างนอกให้เต็มทีละระดับ 2. จานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุด ( เรียกว่าเวเลนซ์อิเล็กตรอน , valence electron ) จะมีได้ไม่เกิน 8 ตัวเสมอ ไม่ว่าจะเป็นระดับพลังงานที่เท่าใดก็ตาม 1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ ธาตุ จานวน e- การจัดเรียงอิเล็กตรอน คาบ หมู่ Be Ga Ca Kr Cs As Cl Ge Sb Se Pb Ba Sn
  2. 2. 2 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น - ธาตุ 𝑿𝟐𝟎 𝟒𝟎 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นไปตามข้อใด ก. 2 8 2 ข. 2 8 18 2 ค. 2 8 8 2 ง. 2 8 18 10 2 .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. - Mg2+ ion จะมีการจัดอิเล็กตรอน (electron configuration) เหมือนกับ ก. Na ข. Ar ค. 𝐹− ง. 𝐶𝑎2+ .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. -ไอออนหรืออะตอมในข้อใดที่มีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนกับคลอไรด์ไอออน ก. F– ข. Ne ค. Al3+ ง. Ca2+ .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. - 22Ti2+ ion จะมีการจัดอิเล็กตรอน (electron configuration) เหมือนกับ ก. 20Ca ข. 21Sc+ ค. 23V3+ ง. ไม่มีข้อถูก .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในออร์บิทัลสุดท้าย มีความสัมพันธ์อย่างไรกับตาแหน่งธาตุในตารางธาตุ .................................................................................................................................. - จงเขียนรูปแบบการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยในรูปแก๊สเฉื่อยของธาตุต่อไปนี้ ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก หมู่ คาบ การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานย่อย (แบบแก๊สเฉื่อย) K19 Sc21 Mo42 Mg20
  3. 3. 3 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น - ธาตุที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังต่อไปนี้จะมีอิเล็กตรอนจานวนเท่าใด การจัดเรียงอิเล็กตรอน ระดับพลังงานย่อย หมู่ คาบ จานวนอิเล็กตรอน [Ne] 3s2, 3p3 [Ar] 4s2, 4d10, 4p2 [Kr] 5s2, 4d5 ระดับพลังงานย่อย และ ออร์บิทัล การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลนั้นมีหลักการคือ - หลักของเอาฟ์บาว (Aufbau principle) ................................................................................................................. - กฎของฮุนด์ (Hund’s rule) ................................................................................................................. - หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli exclusion principle) ................................................................................................................. - จงเขียนจัดเรียงอิเล็กตรอนลงในตาราง ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน 20Ca การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 22Ti การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 32Ge การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล
  4. 4. 4 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน 35Br การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 56Ba การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 27Co การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 55Cs การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 54Xe การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 52Te การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล 83Bi การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับ พลังงานย่อย การบรรจุอิเล็กตรอนลงใน ออร์บิทัล
  5. 5. 5 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น ตารางธาตุปัจจุบัน คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ คาบที่ 2 , 3 มี 8 ธาตุ คาบที่ 4 , 5 มี 18 ธาตุ คาบที่ 6 มี 32 ธาตุ คาบที่ 7 มีเพียง 23 ธาตุ การเรียกชื่อธาตุ ธาตุตั้งแต่เลขอะตอม 100 ขึ้นไป หากยังไม่ได้รับการรับรองสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการจาก IUPAC (Intenational Union of Pure Applied Chemistry) ให้เรียกชื่อตามระบบที่ IUPAC กาหนดคือ ให้ อ่านชื่อโดยใช้เลขอะตอมเป็นภาษาละติน และลงท้ายด้วย -ium 0 = นิล (nil) 1 = อูน (un) 2 = ไบ (bi) 3 = ไตร (tri) 4 = ควอด (quad) 5 = เพนท์ (pent) 6 = เฮกซ์ (hex) 7 = เซปท์ (sept) 8 = ออกต์ (oct) 9 = เอนน์ (enn) เลขอะตอม 110 อูนอูนนิลเลียม Uun เลขอะตอม 111 อูนอูนอูนเนียม Uuu เลขอะตอม 112 อูนอูนไบเอียม Uub ปัจจุบันมีธาตุที่มีอยู่ในธรรมชาติตั้งแต่หมายเลข หนึ่ง คือไฮโดรเจนไปถึงธาตุที่หนักที่สุด คือ ยูเรเนียม หมายเลข 92 ยกเว้นเพียง 2 ชนิด คือ ธาตุเทคนิเชียม(Technicium,Tc) หมายเลข 43 และโพรมีเทียม (Prometium,Pm) หมายเลข 61
  6. 6. 6 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น สรุปสมบัติต่างๆ ของธาตุในตารางธาตุ สมบัติต่างๆ ของธาตุตามหมู่และตามคาบในตารงธาตุมีความสัมพันธ์กันพอที่ะสรุปเป็นตารางและแผนภาพ เพื่อแสดงแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้ ธาตุในหมู่เดียวกัน น้อย มาก เลขอะตอม พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 รัศมีอะตอม ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี ความหนาแน่น ความเป็นโลหะ ขนาดไอออน จุดหลอมเหลวและจุดเดือด(โลหะ) ความเป็นโลหะ จุดหลอมเหลวและจุดเดือด(อโลหะ) มาก น้อย จงสรุปแนวโน้มตามหมู่ เลขอะตอม.............................................................................................. รัศมีอะตอม............................................................................................. ขนาดไอออน............................................................................................... ………………………… พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1…....................................................................... ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี................................................................................... ……………………………… ความเป็นโลหะ............................................................................................. …………………………… จุดหลอมเหลวและจุดเดือด................................................................................ ………………………… ตาราง แนวโน้มสมบัติต่างๆ ของธาตุในคาบเดียวกัน สมบัติของธาตุ แนวโน้มสมบัติของธาตุตามคาบ เลขอะตอม น้อย  มาก รัศมีอะตอม มาก  น้อย ขนาดอะตอม ใหญ่  เล็ก ขนาดไอออน โลหะ ใหญ่  เล็ก อโลหะ ใหญ่  เล็ก ความเป็นโลหะ มาก  น้อย ความเป็นโลหะ น้อย  มาก จุดหลอมเหลวและจุดเดือด โลหะ ต่า  สูง อโลหะ สูง  ต่า พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 น้อย  มาก ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี น้อย  มาก หมายเหตุ แนวโน้มของธาตุบางอย่างไม่รวมธาตุในหมู่ 8A
  7. 7. 7 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น สรุปแนวโน้มของสมบัติต่างๆ ของธาตุในตารางธาตุ น้อย มวลอะตอม, IE1, EN มาก มาก น้อย อโลหะ รัศมีอะตอม IE1 ขนาดอะตอม EN กึ่งโลหะ ความเป็นโลหะ โลหะ ความหนาแน่น น้อย มาก มาก รัศมีอะตอม, ขนาดอะตอม, ความเป็นโลหะ น้อย แบบฝึกหัด 1. ธาตุในคาบหนึ่งเรียงตามลาดับจากหมู่ 1 ถึง 8 ดังนี้ M N O P Q R S T จงตอบคาถามต่อไปนี้ พร้อมให้เหตุผล ก. ธาตุใดมีค่าพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ต่าที่สุด และสูงที่สุด ตอบ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ …………………………………………………………………………………………………………… ข. ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่าที่สุดและสูดที่สุด… ตอบ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ……………………………………………… จากข้อมูลต่อไปนี้ จงตอบคาถามข้อ 2 Li A D Mg E Cl T Z 2. การเรียงธาตุตามสมบัติที่กาหนดให้ได้ถูกต้องหรือไม่พร้อมอธิบาย ก. รัศมีไอออน E > D > A…… ........................................................................................................................ .....................................................................................................................…… ข. คามเป็นโลหะ A > E > D…… ........................................................................................................................ ...................................................................................................................……… ค. จุดหลอมเหลว A > E > D…… ........................................................................................................................ .......................................................................................................………………………… ง. ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี D > E > A… ........................................................................................................................ ....................................................................................................................…… …………………………………………
  8. 8. 8 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น …………………………………………เลขออกซิเดชัน(Oxidation Number : ON) คือตัวเลขที่กาหนดขึ้นเพื่อติดตามจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้ในการเกิดพันธะของอะตอมของธาตุ การหาเลขออกซิเดชันของธาตุ ในสารประกอบ ผลบวกของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกอะตอมในสารประกอบ = 0 ในไอออน ผลบวกของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกอะตอมในไอออน =ประจุของไอออน ลักษณะสาคัญของเลขออกซิเดชัน 1.ธาตุอิสระมีเลขออกซิเดชันเป็นศูนย์ เช่น Cu0 , O2 0 , Zn0 , Si0 , S8 0 2.เลขออกซิเดชันคิดต่อ 1 อะตอมของธาตุ 3.เลขออกซิเดชันมีค่าเป็น บวก ลบ ศูนย์ จุดทศนิยม เศษส่วนก็ได้ 4.ไอออนของธาตุใดๆ ค่าประจุของไอออนมีค่าเท่ากับเลขออกซิเดชันของธาตุนั้น เช่น Na+ มี ON = +1 Cu2+ มี ON = +2 Cl- มี ON = -1(โปรดสังเกตตัวเลขแสดงประจุเครื่องหมาย + หรือ – จะอยู่ท้าย ตัวเลข แต่เลขออกซิเดชัน เครื่องหมาย + หรือ – จะอยู่หน้าตัวเลข) 5.H ในสารประกอบมีเลขออกซิเดชัน +1 ยกเว้น hydride ของโลหะ(Metalhydride) H มีเลข ออกซิเดชัน –1 เช่น NaH (โซเดียมไฮไดรด์) CaH2 (แคลเซียมไฮไดร์ด) 6.O ในสารประกอบมีเลขออกซิเดชัน -2 ยกเว้น oxide บางชนิดที่ O มีเลขออกซิเดชันเป็นอย่าง อื่น เช่น -พวกเปอร์ออกไซด์ O มีเลขออกซิเดชัน –1 IIA ,H เช่น Na2O2 (โซดียมเปอร์ออกไซด์) BaO2 (แบเรียมเปอร์ออกไซด์) H2O2ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์) -พวกซุปเปอร์ออกไซด์ O มีเลขออกซิเดชัน –1/2 ได้แก่ ได้แก่ ออกไซด์ของโลหะหมู่ IA ที่มี ออกซิเจนมากกว่าปกติมากๆ เช่น NaO2(โซเดียมซุปเปอร์ออกไซด์) และ ออกไซด์ของ F ที่มีสูตร OF2 โดย O มี เลขออกซิเดชัน +2 ตัวอย่าง จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุที่พิมพ์ตัวหนาต่าง ๆ ในสารประกอบต่อไปนี้ 1. HAsO2 2. Mg2P2O7 3. [Co(NH3)4(OH)3]- วิธีทา ให้เลขออกซิเดชันของธาตุที่พิมพ์ตัวหนา = x 1) HAsO2 : (+1) + ( X) + (-2x2) = 0 X = +3 2) Mg2P2O7 : (+2x2) + (X x2) +(-2x7) = 0 X = +5 3) [Co(NH3)4(OH)3]- : ( X) + (0x4) + (-1x3) = -1 X = +2 เลขออกซิเดชันของธาตุในตารางธาตุ ธาตุหมู่ IA IIA ในสารประกอบทั่วไปเลขออกซิเดชันมีค่าเดียวคือ +1 และ +2 ตามลาดับ ธาตุแทรนซิชันในสารประกอบทั่วไปมีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า เช่น Mn มีเลข ออกซิเดชันเป็น +2 , +3 , +4 , +5 ,+6 และ +7 แต่ก็มีธาตุแทรนซิชันบางธาตุมีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียวเช่น Sc(+3) , Zn(+2) และ Ag(+1) ธาตุอโลหะทางขวาของตารางธาตุในสารประกอบมีเลขออกซิเดชันหลายค่า เช่น Cl มีเลขออกซิเดชันเป็น HCl (-1) , HClO(+1) , HClO2(+3) , HClO3(+5) , HClO4(+7)
  9. 9. 9 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น แบบฝึกหัด 1. จงหาเลขออกซิเดชันของทุกธาตุในสารประกอบต่อไปนี้ ก. N2O… …………………………………………… ……………………………………… ข. HNO3 ค. Al2O3 ง. NH3……………………………………………… …… 2. จงหาเลขออกซิเดชันของแต่ละธาตุในไอออนต่อไปนี้ ก. MnO4 -……………………………………………… ……………………………………………………… ข. HCO3 -……… ……………………………………… ……………………………………………… ค. CrO4 2-………………………………………… ……………………………………………… ง. SO4 2-………………………………………………… ……… …………………………………………… จ. PO4 3-………………………………………… ฉ. C2H3O2-……… ………………………………… …………………………………………………
  10. 10. 10 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น 3. จงหาเลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชันในสารต่อไปนี้ ก. Ag(CN) -……………………………………… ข. [Co(NH3)6]Cl3…………………………………… ………………………………… ค. K2Cr2O7 …………………………………………… ……………………… ………………………………… ง. KMnO4…………………………………………… ……………… จ. K2MnO4 ………………………………………… ฉ.Fe(CN)6 3-… ………………………………………… ………………………………………………………… 4. จงหาเลขออกซิเดชันของ N ในสารต่อไปนี้ ก. NO3 -……………………………………………… …………………… ……………………… ข. NH3……………………………………………… ………………… …………………………………… ค. N2O3 ง. N2O4……………………………………………… ………… …………………………………… จ. NO…… ฉ. NOCl3…………………………………………… …………………………………………………………
  11. 11. 11 เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 โดยครูสุกัญญา นาคอ้น