ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

สำหรับการทำงานในบริษัทและองค์กรต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานรัฐหรือบริษัทภาคเอกชนก็ตาม การวางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในนั้นเป็นสิ่งที่ต้องใส่ใจและให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก การทำงานที่สะดวก ลื่นไหล และความปลอดภัยของข้อมูลในองค์กร จุดเริ่มต้นก็อยู่ที่การวางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั่นเอง บริษัทไหนสามารถวางระบบเครือข่ายได้ดี การทำงานก็จะมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ดังนั้น เรื่องนี้จึงต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรก ๆ แต่การวางระบบเครือข่ายในองค์นั้นสามารถทำได้หลายแบบ client server คือระบบเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่งที่หลายภาคส่วนนิยมใช้กันมาก ว่าแต่ ระบบ client server คืออะไรกันล่ะ มารู้จักไปพร้อม ๆ กันเลย

Client server คือระบบเครือข่ายแบบไหน 

การจะทำความเข้าใจว่า client server คืออะไร มีการทำงานเป็นเครือข่ายแบบไหน ก็ต้องมาตั้งต้นความเข้าใจกันก่อน เครือข่ายแบบ client server นั้นจะแบ่งการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 กลุ่มตามชื่อเลย นั่นคือ

  • Server เรียกกันง่าย ๆ ว่า เครื่องแม่ เป็นคอมพิวเตอร์หลักที่เป็นระบบศูนย์กลางของข้อมูล ฉะนั้น คอมพิวเตอร์กลุ่มนี้จำเป็นต้องสเปกสูง จะมี CPU อยู่หลายตัวในเครื่องเดียว มี Power Supply ที่มากกว่า 1 ตัว และก็มีหน่วยความจำมาก เพราะจะต้องทำงานหนักในการเก็บและรับส่งข้อมูลไปยังเครื่องลูกข่ายต่าง ๆ

  • Client เรียกกันง่าย ๆ ว่า เครื่องลูกข่าย ก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไปที่เราใช้ทำงานในบริษัทและออฟฟิศ ซึ่งเครื่องลูกข่ายนี้จะทำงานเชื่อมโยงกับเครื่องแม่ โดยจะข้อข้อมูล และส่งข้อมูลกลับไปยังเครื่องแม่นั่นเอง

อธิบายกันตามนี้ก็จะเห็นว่า แม่ 1 คน สามารถมีลูกได้หลายคน หมายความว่า Server 1 เครื่องจะสามารถทำงานเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์ทั่วไปหลาย ๆ เครื่องได้ client server คือระบบเครือข่ายแบบนี้นั่นเอง


ข้อดีและข้อเสียของระบบ client server คืออะไร

ข้อดี

  • ข้อมูล ไฟล์ และโฟลเดอร์งานต่าง ๆ จะถูกจัดเก็บและรวบรวมไว้ในส่วนกลาง จึงสะดวกในการเรียกใช้งานร่วมกันจากคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง

  • การบริหารจัดการระบบสามารถดูแลได้ง่าย เพราะทำได้จากเครื่องแม่ข่าย ทำให้สะดวกและรวดเร็วในการดูแล ไม่ต้องคอยไปตั้งค่าตอมพิวเตอร์ทีละเครื่อง ทำที่เครื่องแม่ข่ายทีเดียวก็ให้ผลลัพธ์ไปถึงเครื่องลูกข่ายด้วย

  • ระบบการดูแลความปลอดภัยข้อมูลและการสำรองข้อมูลทำได้ง่ายและสะดวกเพียงครั้งเดียว คือ ทำที่เครื่องแม่ข่ายเท่านั้นก็พอ

ข้อเสีย

  • เครื่อง Server นั้นมีราคาแพง มีค่าใช้จ่ายในการดูแลจัดการสูง หากเป็นบริษัทเล็ก ๆ อาจรู้สึกว่าไม่ค่อยคุ้มค่าสักเท่าไหร่

  • หากระบบเกิดล่ม ก็อาจทำให้งานแบบทุกส่วนหยุดชะงักลงไปได้ทันที เพราะคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องอิงกับเครื่อง Server ที่เป็นแม่ข่าย

  • การดูแลบริหารจัดการระบบจะต้องกระทำโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น หากไม่มีผู้ชำนาญจะเป็นอะไรที่ซับซ้อนไม่น้อยทีเดียว

เรียกว่า client server คือระบบเครือข่ายที่ทุกบริษัทและทุกองค์กรใช้เป็นพื้นฐานในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องเข้าหากัน เป็นระบบศูนย์กลางที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการใช้งานจนถึงปัจจุบัน เมื่อคุณรู้จักแล้วบริษัทของคุณจำเป็นที่จะต้องมีระบบเครือข่ายแบบนี้หรือไม่ ด้วยข้อมูลเหล่านี้จะช่วยคุณในการพิจารณาได้

เซิร์ฟเวอร์ประเภท Web Server นั้น คือ ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ ที่ใช้ภาษาโพรโทคอลแบบ HTTP (Hypertext Transfer Protocol) และอื่นๆ ในการตอบสนองและสื่อสารกับเครื่องลูก (Client) ในเครือข่าย ในแพลตฟอร์ม World Wide Web หน้าที่หลักของเว็บเซิร์ฟเวอร์ คือแสดงผลข้อมูลและเนื้อหา Website ด้วยการจัดเก็บ, ประมวลผล และ นำเสนอออกมาแก่ User ในลักษณะ Webpage นั่นเอง

> อ่านบทความ Server คืออะไร ได้ที่นี่

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

นอกจาก HTTP แล้ว Webserver ยังรองรับโพรโทคอลได้หลากหลายรูปแบบ คือ SMTP (Simple Mail Transfer Protocol), FTP (File Transfer Protocol), การใช้งาน Email, การรับส่งไฟล์ และ จัดเก็บข้อมูล อีกด้วย

Web Server Hardware จะเชื่อมต่อกับ Internet และทำหน้าที่รับส่ง, แลกเปลี่ยนข้อมูล Data ต่างๆ กับอุปกรณ์อื่นๆ ขณะที่ Web Server Software จะควบคุมการเข้าถึงไฟล์ใน Host ของ User ลักษณะการทำงานนี้คือหนึ่งในวิธีการทำงานแบบ Client/Server Model นั่นเอง คอมพิวเตอร์ทุกๆ เครื่อง ที่ทำหน้าที่เป็น Host Website ต้องมีการติดตั้ง Web Server Software ด้วย

สารบัญ

  • เว็บเซิร์ฟเวอร์ทำงานยังไง
  • ทำไมต้องใช้เว็บเซิร์ฟเวอร์
  • ตัวอย่างการใช้งาน
  • Dynamic VS Static ต่างกันยังไง
  • Software ที่นิยม
  • การเช็คความปลอดภัย
  • ประวัติความเป็นมา
  • สรุป

Web Server ทำงานยังไง

Web Server Software จะทำหน้าที่เข้าถึง Domain Name ของ Website และประมวลผลพร้อมนำส่งเนื้อเว็บ Site ให้กับ User ในส่วนของ Software นี้ก็มีองค์ประกอบที่หลากหลายเช่นกัน อย่างน้อยคือ HTTP Server ซึ่งทำหน้าที่อ่าน HTTP และ URLs ในฝั่ง Hardware นั้น คือ Computer ที่ทำหน้าที่จัดเก็บ ข้อมูลจำพวก Software และไฟล์เนื้อหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ Website เช่น HTML Document, รูปภาพ และ ไฟล์ JavaScript เป็นต้น

เมื่อ Web Browser อาทิเช่น Google Chrome, Firefox หรือ Microsoft Edge ต้องการไฟล์จาก Web Server ตัว Browser จะทำการร้องขอไฟล์ด้วย HTTP เช่นกัน ซึ่งเมื่อทาง เว็บเซิร์ฟเวอร์ได้รับคำร้องขอแล้ว HTTP Server จะทำการตอบรับ, ค้นหาข้อมูล และส่งกลับไปยัง Browser ผ่าน HTTP

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

ขั้นตอนการ Request Web Page ของ Browser

เรามาดูกันว่า เมื่อ Browser ทำการ Request หน้าเพจจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ กระบวนการทั้งหมด ที่เกิดขึ้นนั้น มีอะไรบ้าง

  1. ผู้ใช้งานใส่ข้อมูล URL ลงใน Address Bar ของ Web Browser
  2. Web Browser จะรับ IP Address ของ Domain Name โดยวิธีการแปลง URL ผ่าน DNS (Domain Name System) หรือไม่ก็วิธีการค้นหาผ่าน Cache
  3. เว็บเซิร์ฟเวอร์จะเริ่มสามารถเชื่อมต่อกับ Web Browser ในขั้นตอนนี้
  4. Browser ทำการร้องขอไฟล์ที่ระบุจาก Web Servers ด้วย HTTP
  5. เว็บเซิร์ฟเวอร์ทำการตอบสนอง และส่งข้อมูล Page กลับให้ Browser ทาง HTTP

ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลเพจที่ต้องการ หรือมีปัญหาบางอย่างเกิดขึ้น เว็บเซิร์ฟเวอร์จะทำการตอบสนองด้วยข้อความแจ้งเตือน Error ไปยังเบราว์เซอร์ ซึ่งจะแสดงข้อความดังกล่าวให้แก่ User บนเว็บเพจ อีกทีหนึ่งครับ

Domains หลายๆ ชื่อ สามารถ Host ลงบน Web Server เดียวกันได้

ในการส่ง URL ผ่านระบบ DNS จำเป็นต้องใช้ดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ ศึกษาเพิ่มเติม อ่านบทความ DNS Server คืออะไรที่นี่

ขายServer ราคาถูก

โดยตัวแทนจำหน่ายโดยตรง

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

HPE Server

เลือกซื้อ

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

Dell Server

เลือกซื้อ

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

Lenovo Server

เลือกซื้อ

เลือกซื้อ Server ทั้งหมด >

กลับสู่สารบัญ

ทำไมต้องใช้เว็บเซิร์ฟเวอร์

Webserver นั้น ทำหน้าที่เก็บไฟล์ต่างๆ ของ Website มากมาย ในลักษณะของข้อมูล HTML และองค์ประกอบอื่นๆ ประกอบด้วย รูปภาพ, CSS Stylesheets, ไฟล์ JaVaScript, Font และ Video เป็นต้น

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

ในทางทฤษฏีแล้ว เราสามารถใช้ Computer ทั่วไปในการ Host ไฟล์เหล่านี้ได้ แต่การเลือกใช้เว็บเซิร์ฟเวอร์จะช่วยมอบความสะดวกและฟีเจอร์การใช้งานที่ได้เปรียบมากกว่าเป็นอย่างยิ่ง ด้วยเหตุผลข้อดีดังนี้

  • Dedicated Web Server จะมี Availability ที่สูงกว่า (Up และ Running)
  • ไม่ต้องห่วงเรื่อง Downtime และปัญหาในระบบ Network เพราะเว็บเซิร์ฟเวอร์จะเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตลอดเวลา
  • เว็บเซิร์ฟเวอร์สามารถกำหนดค่าเป็น IP Address เลขเดิมตลอดเวลา เรียกว่า Dedicated IP Address
  • มักถูกจัดการ และบริหารด้วย Third-Party ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะทาง

และสำหรับองค์กรที่ Website มี Traffic เข้าถึงมากมาย ไม่ว่าจากช่องทางไหน หรือบนแพลตฟอร์มโครงสร้าง การเขียนด้วยโปรแกรมใดๆ อาทิเช่น WordPress, Magento หรือ Dreamweaver การใช้คอมพิวเตอร์ธรรมดาก็อาจจะไม่เพียงพอสำหรับการรองรับการเข้าถึงที่มหาศาลได้ จนอาจทำให้เกิดเหตุการณ์เว็บล่มขึ้นมา

ด้วยเหตุผลต่างๆ ข้างต้นนี้ การเลือกใช้ Host ที่ดี ถือเป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนาเว็บไซต์ของคุณ หรือแม้กระทั่งการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์เพื่อใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ส่วนตัว ก็ควรจะเลือกรุ่นที่รองรับการทำงานได้อย่างยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ

กลับสู่สารบัญ

ตัวอย่างการใช้งาน

ส่วนใหญ่นั้นเว็บเซิร์ฟเวอร์จะมาพร้อมกันเป็นชุดแพคเกจกับโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้งานตามจุดประสงค์ดังต่อไปนี้ คือ

  • ส่งและรับอีเมลล์
  • Downloading Request สำหรับ File Transfer Protocol (FTP)
  • สร้างและเผยแพร่ Webpage

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

ซึ่งโดยพื้นฐานของ Web Server คือจะสามารถรองรับ Server-Side Scripting ซึ่งใช้สำหรับการฝัง Script ลงบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ ทำให้สามารถปรับแต่งตั้งค่าการตอบสนองต่อเครื่อง Client ได้ โดย Server-Side Scripting นี้ จะประมวลผลผ่าน Server Machine และมีฟีเจอร์ให้เลือกตั้งค่ามากมาย ซึ่งนั่นหมายถึงรวมการเข้าถึง Database ด้วย

Server-Side Scripting จะดำเนินการประมวลผลต่อ โดยใช้ Active Server Pages (ASP), Hypertext Preprocessor (PHP) และ ภาษา Scripting อื่นๆ ขั้นตอนนี้จะช่วยให้ HTML Documents สามารถสร้างสรรค์ได้อย่างทรงพลัง

กลับสู่สารบัญ

Dynamic vs Static Web Servers

Web Server นั้น สามารถใช้สำหรับรองรับเนื้อหาได้ทั้งแบบ Static และ Dynamic โดย Static นั้น คือเนื้อหาที่แสดงผลอย่างที่เป็นเท่านั้น ขณะที่ Content แบบไดนามิค สามารถอัพเดตและเปลี่ยนแปลงได้โดย User นั่นคือมีการตอบสนองได้นั่นเอง

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

Static Web Server จะประกอบด้วยคอมพิวเตอร์และ HTTP Software ซึ่งภาษา HTTP ถือว่าเป็นเนื้อหาแบบสแตติก เพราะตัวเซิร์ฟเวอร์จะทำการนำส่งข้อมูลไฟล์ Host ไปยัง Browser และแสดงผลในรูปแบบเดิมโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง

ในส่วนของเว็บเบราว์เซอร์แบบ Dynamic หมายถึงเว็บที่มีการตอบสนองได้ ประกอบด้วย Webserver และ Software เฉพาะทางอื่นๆ อาทิเช่น Application Server และ Database โดยตัวแอพพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์สามารถใช้ Update ไฟล์ Host ใดๆ ก็ตาม ก่อนที่จะนำไปแสดงผลบน Browser ซึ่งเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้นสามารถสร้าง Content ขึ้นมาตามคำขอจาก Database ได้ทันที กระบวนการเหล่านี้มีความยืดหยุ่นสูง แต่ก็มีความยุ่งยากซับซ้อนระดับหนึ่ง

กลับสู่สารบัญ

Software ที่นิยม

ปัจจุบันมีซอฟแวร์สำหรับใช้งานกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ให้เลือกใช้มากมาย โดยโปรแกรมที่เป็นที่นิยมสูง เรามาดูกันว่า Software ที่น่าสนใจ มีอะไรบ้าง

Apache HTTP Server

พัฒนาโดย Apache Software Foundation สามารถใช้งานได้ฟรี และรองรับระบบปฏิบัตการ Windows, Mac OS X, Unix, Linux, Solaris และ อื่นๆ มากมาย อย่างไรก็ตาม ต้องทำเรื่องขอ License จาก Apache ก่อน

Microsoft Internet Information Services (IIS)

พัฒนาโดย Microsoft สำหรับแพลตฟอร์มไมโครซอฟ มีค่าใช้จ่ายในการใช้งาน แต่เป็นที่นิยมค่อนข้างสูง

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

Nginx

Software แบบฟรี ที่เป็นที่นิยมอย่างมาก เนื่องจากความยืดหยุ่นและเรียบง่ายในการใช้งาน สามารถรองรับจัดการการทำงานหลายๆ Session ได้ในเวลาเดียวกัน เพราะมีการโครงสร้างซอฟแวร์เป็นแบบ Event-Driven Architecture นอกจากนี้ ตัว Nginx นี้ยังสามารถใช้งานได้กับ Proxy Server และ Load Balancer อีกด้วย

Lighttpd

อีกหนึ่งซอฟแวร์ที่ใช้งานได้ฟรีๆ มาพร้อมกับระบบประมวลผล FreeBSD มีข้อดีคือทำงานได้รวดเร็ว และเสถียร ในขณะที่กินพลังงานจาก CPU เพียงเล็กน้อยเท่านั้น

Sun Java System

ฟรีซอฟแวร์อีกตัวที่พัฒนาโดย Sun Microsystems สามารถใช้งานบน Operatins System Windows, Linux และ Unix เหมาะกับการจัดการเว็บไซต์ขนาดกลางไปถึงขนาดใหญ่เลยทีเดียวครับ

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

ในการเลือกใช้ Web Server นั้น ต้องคำนึงถึงความเข้ากันกับ Operating System และ Server ประเภทอื่นๆ, คุณภาพในการรองรับ Server-Side Programming, ความปลอดภัย Security, ความเสถียร, Search Engine และ เครื่องมือสำหรับการปรับแต่งที่มาพร้อมกับตัว Software

ตัวเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น อาจจะมีการตั้งค่าและปรับคุณลักษณะพื้นฐานที่หลากหลาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน การปรับค่าThroughput ที่สูง และ Latency ที่ต่ำจะช่วยได้ประมาณหนึ่งครับ

กลับสู่สารบัญ

การตรวจสอบความปลอดภัย

ในส่วนของความปลอดภัยในการใช้งานนั้น ต้องหมั่นตรวจสอบความปลอดภัยหรือระบบ Security อยู่เสมอๆ ซึ่งมีวิธีในการ Re-Check มากมายให้เลือกใช้ บทความนี้จะขอยกตัวอย่างวิธีง่ายๆ ในการเช็คความเสถียรของเว็บเซิร์ฟเวอร์ ประกอบด้วย

  • การทำ Reverse Proxy ซึ่งออกแบบมาให้ซ่อนอยู่ภายในตัวเซิร์ฟเวอร์เอง ทำหน้าทีเป็นตัวกลางระหว่างต้นกำเนิด Traffic และภายใน Server
  • เพิ่มกระบวนการ การตรวจสอบการเข้าถึง อาทิเช่น กำหนดลิมิตการเข้าถึง Web Host สู่ Infrastructure Machine หรือ ใช้ฟีเจอร์ Secure Socket Shell (SSH)
  • คอยอัพเดต Patch ของ Web Server ให้เป็นตัวล่าสุดตลอดเวลา ประโยชน์คือเพื่อช่วยการันตีว่าตัวเว็บเซิร์ฟเวอร์จะไม่อ่อนแอ และมีช่องโหว่
  • คอย Monitor ระบบ Network เพื่อยืนยันว่าจะไม่มีการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาติ
  • ใช้ Firewall และ Secure Sockets Layer (SSL) เพื่อ Monitor HTTP Traffic และเพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

Addin.co.th ภายใต้บริษัท แอด อิน บิซิเนส จำกัด เราจัดจำหน่ายพร้อมให้บริการสินค้าไอทีแบรนด์ชั้นนำมาตั้งแต่ปี 1993 เราเชื่อมั่นในการผลักดันกลุ่มลูกค้าองค์กร ภาคธุรกิจ และบุคคล โดยการเลือกสรรอุปกรณ์และบริการที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสมให้แก่ลูกค้าทุกท่าน

ดูสินค้าทั้งหมด

กลับสู่สารบัญ

ประวัติความเป็นมา

ในเดือนมีนาคม ปี 1989 เซอร์ Tim Berners-Lee ได้นำเสนอโปรเจคใหม่ให้แก่พนักงานของ CERN (องค์กรวิจัยและพัฒนานิวเคลียร์ในยุโรป) โดยมีเป้าหมายเพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์ ด้วยระบบ Hypertext ซึ่งในปี 1990 ทางทีมได้มีการสร้างเครื่องมือขึ้นมา 2 โปรแกรม ได้แก่

  • Web Browser เรียกว่า WorldWideWeb
  • เว็บเซิร์ฟเวอร์เครื่องแรกของโลก เรียกว่า CERN httpd ทำงานบน NeXTSTEP

ในระหว่างปี 1991 ถึง 1994 ประสิทธิภาพและความสะดวกสบายในเทคโนโลยีการแลกเปลี่ยน Data ผ่าน World Wide Web ช่วยให้มีการนำระบบนี้ไปประยุกต์ใช้กับระบบปฏิบัติการต่างๆ มากมาย และมีการนำไปใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในกลุ่มองค์กร, มหาวิทยาลัย และ วงการอุตสาหกรรมต่างๆ

ในปี 1994 Berner-Lee ตัดสินใจในการอุทิศ World Wide Web Consortium นำมาพัฒนาควบคู่กับ Technology อื่นๆ คู่กันมากมาย อาทิเช่น HTTP และ HTML เป็นต้น และทำให้นวัตกรรมนี้เป็นที่นิยมตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

CERN httpd ตัวแรกของโลก

ขอบคุณที่มา จาก Techtarget

กลับสู่สารบัญ

Add In Business

จำหน่ายอุปกรณ์ไอทีราคาถูก

ภายใต้บริษัท แอด อิน บิซิเนส จำกัด ตัวแทนจำหน่าย
ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากแบรนด์ชั้นนำ
ราคา พิเศษ ส่งฟรี

ดูสินค้าทั้งหมด

สนใจสั่งซื้อหรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่หน้า Contact

หรือ

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server
 
ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server
 
ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server
 
ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server
 
ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

สรุป

หวังว่าบทความนี้จะช่วยให้ท่านผู้อ่านได้ทำความเข้าใจ และรู้จัก Web Server ว่ามันคืออะไร มากขึ้น เว็บไซต์เรานอกจากจะมีบทความดีๆ แบบนี้ให้เลือกอ่านแล้ว ยังมีสินค้าไอทีให้เลือกซื้ออีกมากมาย หากท่านผู้อ่านมีความสนใจเพิ่มเติมในการสั่งซื้อสินค้าอุปกรณ์ไอที สอบถามข้อมูล หรือขอใบเสนอราคา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของอุปกรณ์ใดๆก็ตาม สามารถติดต่อเข้ามาได้ที่

Facebook Inbox : https://goo.gl/9wo8oL
Hotline : 063-819-7299
โทร : 02-713-2261
[email protected] : @addinonline
Email : [email protected]

ผู้เขียน

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่การให้บริการของเครื่องแม่ข่าย server

Unnote

อดีตสถาปนิกและนักศึกษาจบปริญญาโทสาขาอสังหาริมทรัพย์ ผันตัวมาคลุกคลีในวงการไอที เพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ