ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

การใช้หลักการออกแบบในการสร้างงานสื่อผสม  หมายถึงกลวิธีการสร้าง งานสื่อผสม

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม
[1] ที่ต้องใช้หลักการออกแบบอันประกอบไปด้วยเอกภาพ ความสมดุล  จุดเด่น ความกลมกลืนและความขัดแย้ง มาจัดองค์ประกอบศิลป์ให้ส่วนประกอบของการออกแบบซึ่งประกอบไปด้วย จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี ลักษณะผิว จังหวะ ลวดลาย บริเวณว่าง และสัดส่วน เพื่อให้เกิดผลงานที่สวยงามสมบูรณ์ และมีคุณค่าตามวัตถุประสงค์          

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

              การสร้างงานศิลปะสื่อผสม
                ศิลปะสื่อผสม (MIXED MEDIA ART)

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม
,  
ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม
[2]  ในทางทัศนศิลป์หมายถึง ผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ด้วยการใช้สื่อวัสดุต่างชนิด และกลวิธีการสร้างตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เข้ามาผสมผสานกันในผลงานชิ้นนั้น ให้เกิดเป็นองค์ประกอบภาพสวยงามกลมกลืน เช่น ผลงานชื่อ จินตนาการ หมาย 5, 2535 ของ เดชา วราชุน
ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม
[3]  เป็นต้น

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

จินตนาการ หมายเลข 5, 2535
เทคนิค  สื่อผสม
ผลงานของ  เดชา   วราชุน

ที่มา : หอสมุดแห่งชาติ

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=yc8vaaO2eS0

                                ศิลปะสื่อผสมเริ่มในปี ค.ศ.1912 (พ.ศ.2455) โดยปิกัสโซ

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม
 และบราค ด้วยการนำวัสดุต่างๆ เช่น กระดาษปิดฝาผนัง กระดาษและภาพจากหนังสือนิตยสาร ฝ้า แผ่นไม้ ฯลฯ มาสร้างสรรค์ผลงานด้วยกลวิธีการของศิลปะแบบภาพปะติด (COLLAGE) ผสมผสานกับการวาดในภาพ เพื่อให้เกิดมิติทางอารมณ์สัมผัส และยังเป็นการแสวงหากลวิธีในการแสดงออกทางความงามในรูปแบบใหม่ๆ ผลงานที่มีชื่อเสียงตามกลวิธีนี้ เช่น STILL LIFE WITH CHAIR CANNING นอกจากนี้ยังได้พัฒนาการสร้างผลงานโดยใช้วัสดุสำเร็จรูปที่มีลักษณะ 3 มิติ ปะติดลงในผลงาน เช่น GUITAR AND BASS BOTTLE เป็นต้น ต่อมาศิลปะแบบ ภาพปะติด
ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม
[4] ได้ถูกนำมาดัดแปลงใช้ในองค์ประกอบที่หลากหลาย จนประยุกต์สู่ยุคปัจจุบันที่รู้จักกันในนาม สื่อผสม (MIXED MEDIA) ซึ่งหมายถึงการนำเอาวัสดุ  และกลวิธีต่างๆในการสร้างงานทัศนศิลป์มาผสมผสานกันด้วยการจัดองค์ประกอบทางศิลปะให้เกิดเป็นรูปแบบความงามใหม่อย่างอิสระ

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

STILL LIFE WITH CHAIR CANNING, 1912
            ผลงานของ  ปาโบล  ปิกัสโซ (PABLO PICASSO)

ที่มา : หอสมุดแห่งชาติ

          เป็นภาพที่สร้างสรรค์โดยการนำเอาเศษกระดาษ   และเสื่อน้ำมันที่พิมพ์เป็นภาพลายสานของเก้าอี้หวายด้วยการใช้กลวิธีการปะติด และระบายสีน้ำมันลงบนผ้าใบทำเป็นรูปวงรี มีเชือกขดล้อมเป็นกรอบ

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

GUITAR AND BASS BOTTLE, 1913

ผลงานของ  ปาโบล  ปิกัสโซ

ที่มา : หอสมุดแห่งชาติ

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

หลักการออกแบบสร้างงานศิลปะสื่อผสม
                การสร้างสรรค์งานศิลปะสื่อผสมมีหลักการออกแบบสำคัญมีอยู่  3  ประการ ได้แก่ หลักการด้านความงาม หลักการด้านความมั่นคงแข็งแรง และหลักการนำไปใช้
                                 1.  หลักการด้านความงาม ผู้ออกแบบต้องมีความเข้าใจในส่วนประกอบสำคัญของการออกแบบ ซึ่งประกอบไปด้วย จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี ลักษณะผิว จังหวะ ลวดลาย บริเวณว่าง และสัดส่วน ที่มีผลต่อจิตวิทยาในการกระตุ้นเร้าอารมณ์ความรู้สึกมาใช้ในการสร้างสรรค์ โดยการนำมาจัดเข้าด้วยกัน มีหลักการจัดดังนี้คือ จัดให้มีเอกภาพ ความสมดุล จุดเด่น ความกลมกลืน และความขัดแย้ง เพื่อให้ผลงานเกิดความงามมีความพอเหมาะพอดี

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

เทคนิคสื่อผสม
ผลงานของ  กมล  ทัศนาญชลี

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

ที่มา : หอสมุดแห่งชาติ

                                  2.  หลักการด้านความมั่นคงแข็งแรง การสร้างงานศิลปะสื่อผสมควรคำนึงถึงความคงทนสามารถอยู่ได้มั่นคงยาวนาน จึงต้องพิจารณาคัดเลือกวัสดุที่ใช้สร้างงานให้เหมาะสมกับลักษณะงาน เพื่อให้ได้โครงสร้างที่มั่นคง เช่นผลงานศิลปะสื่อผสม  มีลักษณะไปทางประติมากรรมแบบตั้งบนพื้นแนวราบ ควรออกแบบให้มีฐานรองรับน้ำหนัก  และตัวรูปทรงที่มีความมั่นคงแข็งแรง เป็นต้น

ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

สิ่งที่หลงเหลือจากอารยธรรมใหม่ของมนุษย์ 2  เทคนิคสื่อผสม  ผลงานของ วัฒน  กรีทอง

ที่มา : หอสมุดแห่งชาติ

           3. หลักการด้านการนำไปใช้  การออกแบบและการสร้างงานต้องให้เกิดคุณค่าในการนำไปใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้าง


ข้อใดไม่ใช่เทคนิคงานสื่อผสม

ของสะสมหมายเลข 5, 2538  เทคนิคสื่อผสม  ผลงานของ  เดชา  วราชุน
                แสดงความงามการจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยกลวิธีการปะติดวัสดุต่างๆ เช่น ไม้ กระดาษ อลูมิเนียมและกล่องไม้ขีด ก้านไม้ขีด ซึ่งเป็นของสะสมที่ได้รับมา

ที่มา : หอสมุดแห่งชาติ

ขั้นตอนการสร้างสรรค์งานศิลปะสื่อผสม
                            1.  สร้างจินตนาการ (IMAGINATION) หรือการสร้างภาพขึ้นในใจ เพื่อเป็นแนวทางกำหนดรูปแบบงานที่จะสร้างสรรค์ ควรถ่ายทอดลักษณะรูปแบบใด เช่น รูปแบบเหมือนจริง รูปแบบตัดทอน รูปแบบตามความรู้สึก และจะมีเนื้อหาอย่างไร เช่น เป็นเนื้อหาเรื่องราวจากประสบการณ์ตรง ประสบการณ์ทางอ้อม หรือคิดสร้างสรรค์ใหม่ เป็นต้น