ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่มี ผล ต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม ไทย สมัยอยุธยา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี

คำชี้แจง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่มี ผล ต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม ไทย สมัยอยุธยา

ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่มี ผล ต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม ไทย สมัยอยุธยา

1. ปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีคืออะไร

2. การนำปลามาทำปลาเค็มเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยด้านใดมากที่สุด

3. งานศิลปกรรมส่วนใหญ่ในสมัยอยุธยาเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร

ค ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา

ง ความเป็นอยู่ของเจ้านายและขุนนาง

4. ศิลปกรรมสมัยธนบุรีรับแบบอย่างมาจากไหน

5. พระพุทธรูปปางมารวิชัยได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบใด

6. ผลงานชิ้นใดจัดเป็นงานประณีตศิลป์ในสมัยอยุธยา

ข พระพุทธรูปสลักด้วยศิลาทรายสีแดง

ค พระเจดีย์ทรงลังกาวัดพระศรีสรรเพชญ์

ง ประตูโบสถ์ประดับมุกที่วัดพระศรีมหาธาตุ

7. ละครประเภทใดมีการดำเนินเรื่องรวดเร็ว ตลกขบขัน      และโลดโผน

8. ลิลิตโองการแช่งน้ำแต่งขึ้นมาเพื่ออะไร

ค ใช้อ่านในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา

ง ให้ขุนนางชั้นผู้ใหญ่นำไปเป็นแนวปฏิบัติ

9. วรรณกรรมต่อไปนี้เรื่องใดให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์มากที่สุด

10. พระราชพิธีเห่เรือจัดขึ้นในเดือนใด

ค ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา

ง ประตูโบสถ์ประดับมุกที่วัดพระศรีมหาธาตุ

ค ใช้อ่านในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

แบบฝึกหัดพร้อมเฉลย ภูมิปัญญาไทย

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยมีความสำคัญต่อสังคมไทยอย่างไร

ตอบ ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และทำให้คนไทย เกิดความรักและความภาคภูมิใจใน   ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยที่บรรพบุรุษสร้างสรรค์ไว้

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยคืออะไร

ตอบ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสภาพแวดล้อม ทำให้คนไทยคิดและแก้ปัญหาให้สอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์ และปัจจัยลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยมีวังและวัดเป็นศูนย์กลางการสร้างศรรค์ศิลปวัฒนธรรมของไทย

ตัวอย่างภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย

ตอบ –การแพทย์แผนไทย ในสมัยรัชการที่ 1-3 เป็นองค์ความรู้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บที่มีมาแต่โบราณและสืบทอดมาถึงปัจจุบัน

     วัดพระแก้ว เป็นที่ประดิษฐานของพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย และเป็นแหล่งรวมงานช่างชั้นสู.ที่มีแต่โบราณ


การเผยแผ่พระพุทธศาสนา อดีต-ปัจจุบัน

ข้อแตกต่างของพระพุทธศาสนา ระหว่างสมัยโบราณกับปัจจุบัน วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โบราณ - ด้วยการแสดงธรรมหรือการเทศน์ โดยอาศัยพระสงฆ์หรือผู้รู้ เป็นผู้อบรมสั่งสอน -       การศึกษาแบบ “มุขปาฐะ” ถ่ายทอดกันโดยอาศัยการบอก หรือการท่องจำสืบต่อกันมา ปัจจุบัน - ด้วยการแสดงธรรมหรือการเทศน์ โดยอาศัยพระสงฆ์หรือผู้รู้ เป็นผู้อบรมสั่งสอน -       ผ่านสื่อเทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ ศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โบราณ – พระมหากษัตริย์ ผู้ปกครองและนักคิด ปัญญาชน เช่น พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา โดยส่งพระธรรมฑูต 9 สาย ออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแคว้นต่างๆ ของชมพูทวีป ปัจจุบัน – ศูนย์กลางการแผ่แผ่พระพุทธศาสนา คือ ผ่านองค์กรทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ วัด พุทธศาสนสถาน สมาคม

ม.3 บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

ภาษาไทย(สอบกลางภาค) บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ประพันธ์โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ใช้พระนามแฝง ว่า พระขรรค์เพชร (พระนามแฝงของท่านมีมากมาย เช่น บทละครพูด ทรงใช้ ศรีอยุธยา,พระขรรค์เพชร บันเทิงคดี ทรงใช้ พันแหลม,รามจิตติ,นายแก้ว นายขวัญ) ลักษณะคำประพันธ์ เป็นบทละครพูดขนาดสั้น มีลักษณะยาว ๑ องก์(ตอน) ระยะเวลาในการแต่ง ราวปี พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘ คุณค่าของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ๑.ข้อคิดคติธรรม      ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ๒.ด้านความรู้      มาตราเงินไทยในสมัยนั้นมีหน่วยเป็นชั่งและบาท      รูปแบบของการเขียนบทละครพูด      การใช้บทสนทนาในการดำเนินเรื่อง      เทคโนโลยีในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการถ่ายภาพ ๓.ด้านสังคมและวัฒนธรรม      สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมการแต่งงาน การรดน้ำอวยพรและการให้ของรับไหว้      ค่านิยมให้ลูกสาวแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย      สังคมไทยยกย่องคนที่ทำมาหากินอย่างสุจริต และไม่ยอมรับผู้ที่ไม่ซื่อสัตย์ ทำผิดกฎหมาย      ทำให้ทราบหน่วยเงินที่ใช้ในสมัยนั้น ๔.ด้านวรรณกรรม      มีการใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ทำให้เห็นอิทธิพ