สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

หากพูดถึงภาพรวมเศรษฐกิจในภาพรวม มักจะดูที่ GDP กัน คงจะได้ยินคำนี้กันบ่อยๆ แต่ GDP คืออะไร สำคัญยังไง เราจะเล่าให้ฟังค่ะ

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

GDP คือ อะไร?

GDP ย่อมาจาก Gross Domestic Product หรือแปลเป็นไทยว่าผลิตภัณฑ์รวมในประเทศ แปลจากไทยเป็นไทยอีกที คือ การที่นับรายได้ที่เกิดขึ้นจากในประเทศเท่านั้น ไม่ว่าจะสัญชาติใดก็ตาม โดย GDP ประเทศไทย จะนับการคำนวณเฉพาะรายได้ที่เกิดขึ้นในไทยเท่านั้น แต่ถ้าเป็นคนไทย แล้วมีรายได้ที่ต่างประเทศ ไม่นับนะจ๊ะ อันนั้นเรียก GNP : Gross National Product ที่จะนับเฉพาะรายได้จากคนไทยเท่านั้น ไม่ว่าจะอยู่ประเทศใดในโลกนี้ก็ตาม

แล้ว GDP เอาไว้ทำอะไร ? GDP เป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจในการศึกษาเปรียบเทียบถึงอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาเปรียบเทียบในการวางแผนและกำหนดนโยบายต่าง ๆ สำหรับพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ 

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

การคำนวณ GDP มีกี่วิธี ?

การคำนวณ GDP จะมี 3 วิธีด้วยกัน ได้แก่

  • ด้านรายได้: เป็นการคำนวณ GDP โดยการรวมรายได้ประเภทต่าง ๆ ที่บุคคลได้รับในฐานะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
  • ด้านรายจ่าย: เป็นการคำนวณ GDP โดยการนำรายจ่ายของครัวเรือนในการซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายรวมกันในระยะเวลา 1 ปี
  • ด้านผลผลิต: เป็นการคำนวณ GDP โดยการรวมมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจจะเป็นตัววัดมูลค่าของสินค้าและบริการ 

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

GDP ด้านรายจ่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง?

C = Consumption คือ การบริโภคของภาคเอกชนและประชาชน เป็นการจับจ่ายใช้สอยทั่วไป เช่น ค่าอาหาร สาธาณูปโภค เป็นต้น

I = Investment คือ การลงทุนของภาคเอกชน ในการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ ถนนทางเดิน รถไฟฟ้า ฯลฯ

G = Government Spending คือ การใช้จ่ายของรัฐบาล หรือ การลงทุนภาครัฐ ตามนโยบายต่างๆ

X = Export คือ การส่งออก (ขายสินค้าให้กับต่างประเทศ)

M = Import คือ การนำเข้า (รับสินค้าจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย)

มีสมการด้วยนะ

GDP = C+I+G+(X-M)

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

ทำไมต้องเขียนว่า X-M?

การเขียนแบบนี้หมายถึง Net Export เป็นการดูมูลค่าการส่งออกสุทธิ เปรียบเหมือนการส่งออกคือรายได้ การนำเข้าคือรายจ่าย เราอยากรู้ว่าตัวเองเหลือเงินเท่าไหร่ เป็นบวกหรือไม่ ต้องนำรายได้หักรายจ่ายออก

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

ค่า GDP เป็นบวก / เป็นลบ

ถ้าค่า GDP เป็นบวก แสดงถึงภาพรวมเศรษฐกิจที่มีการเติบโตขึ้น มีเม็ดเงินหมุนเวียนในประเทศมากขึ้น แต่สิ่งที่อาจตามมาได้ คือ อัตราเงินเฟ้อที่จะสูงขึ้นได้เช่นกัน เพราะเมื่อคนมีความต้องการซื้อกันมากขึ้น สามารถดันให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้นมาได้

ยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นภาพ

เวลาที่ยี่ห้อโทรศัพท์มือถือดังๆ ประกาศว่าจะมีรุ่นใหม่ออกมา สื่อออนไลน์ต่างๆ จะพร้อมใจกันออกข่าวเกี่ยวกับโทรศัพท์รุ่นนี้ เพื่อเป็นข้อมูลให้กับคนอ่านที่สนใจ และในวันที่ประกาศขายเป็นวันแรก คนจำนวนมากอาจจะแห่กันไปซื้อ จนต้องต่อคิวกันเลยทีเดียว เรียกว่าเป็นช่วงที่สามารถตั้งราคาสูงได้ เพราะรู้ว่ามีคนต้องการซื้อแน่นอน

ถ้าค่า GDP เป็นลบ แสดงถึงภาพรวมเศรษฐกิจที่มีการชะลอตัวเลง มีเม็ดเงินหมุนเวียนในประเทศลดลง เกิดจากกอะไร ขอกลับไปที่ตัวอย่างโทรศัพท์มือถือยี่ห้อดังอีกครั้งค่ะ

ในจังหวะที่โทรศัพท์มือถือรุ่นนั้นเป็นที่ต้องการมาก คนก็จะแห่กันไปต่อแถวซื้อ เพราะอยากได้กลับมาครอบครอง แต่ในโลกความเป็นจริง ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแล้วแต่มีอยู่อย่างจำกัด คนที่ต้องการโทรศัพท์รุ่นนี้ก็มีจำกัดเช่นกัน ดังนั้นพอเลยจุดพีคไป จำนวนคนที่จะซื้อโทรศัพท์รุ่นนี้ก็จะค่อยๆ ลดลงไป รวมถึงราคาสินค้าก็จะลดลงด้วยเช่นกัน

            3.9.5 �鹷ع�������˹��� (Marginal Cost) ���¶֧ �鹷ع����������鹨ҡ��ü�Ե�������˹��˹��� ������ѡɳФ���¤�֧�Ѻ�鹷ع��ǹ���� (Incremental Cost) ��鹷ع��ǹ�������˹����繡�þԨ�ó���ǹ��������ҡ��������ͧ��ü�Ե��§ 1 ˹��� �������������� ���¼����������͡�õѴ�Թ����蹡ѹ

ซึ่งเป็นการสร้างวินัยทางการเงินให้แก่ตนเองในการทยอยเก็บเงินทีละเล็กละน้อยให้มีจำนวนพอกพูนขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปในรูปแบบที่มีความปลอดภัย มีความเสี่ยงต่ำ เพื่อรักษาเงินต้นไว้ โดยผลตอบแทนจากเงินออมอาจไม่ได้สูงมากนัก ยกตัวอย่าง  เช่น  เงินฝากออมทรัพย์หรือเงินฝากประจำรายเดือนแบบปลอดภาษี จนกระทั่งสามารถเก็บเงินได้จำนวนหนึ่ง จึงค่อยเริ่มลงทุน ด้วยการแบ่งเงินก้อนที่ได้จากการเก็บหอมรอมริบส่วนหนึ่งไปลงทุนในผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน เช่น หุ้น  ตราสารหนี้ กองทุนรวม   Exchange Traded Fund หรือ ETF สัญญาซื้อขายล่วงหน้าและทางเลือกในการลงทุนอื่น ๆ เพื่อสร้างผลตอบแทนให้สูงขึ้นกว่าการออม 

หรืออีกทางเลือกหนึ่ง คือ ทุกครั้งที่มีรายได้เข้ามา ให้แบ่งเงินนั้นออกเป็นส่วน ๆ ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ โดยแบ่งส่วนหนึ่งมาเลือกออมหรือลงทุนอย่างสม่ำเสมอตามความเหมาะสม

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

จำนวนเงินที่สามารถนำไปลงทุนได้ คือ เงินก้อนที่มีอยู่  หักด้วยค่าใช้จ่ายจำเป็น ภาระผูกพัน และเงินสำรองเผื่อไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน แต่มีข้อควรคำนึงคือ ผู้ลงทุนต้องสามารถยอมรับความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุนนั้น ๆ ได้ เพื่อแลกกับโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น เนื่องจากการลงทุนมีความเสี่ยงที่จะสูญเสียเงินต้น


ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุนและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง เช่น หุ้น  หรือ กองทุนรวม ที่เปิดโอกาสการทำกำไรจากส่วนต่างระหว่างราคาซื้อและราคาขายหลักทรัพย์หรือหน่วยลงทุน (Capital Gain) แต่ในทางกลับกันก็มีความเสี่ยงที่จะขาดทุนเพราะราคาขายต่ำกว่าราคาซื้อ (Capital Loss) เช่นกัน รวมทั้งมีโอกาสที่จะได้รับเงินปันผลตามผลประกอบการและนโยบายปันผล  ส่วนการลงทุนในตราสารหนี้ แม้ว่าจะมีความผันผวนด้านราคาต่ำกว่าตราสารทุน แต่ก็สามารถขาดทุนได้จากราคาตราสารหนี้ที่โดยมากจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ย นอกจากนั้นยังต้องพิจารณาถึงความเสี่ยงด้านเครดิตหรือความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสารด้วย

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด
 

​ทั้งนี้ เงินฝากประจำ หรือ สลากออมทรัพย์ ก็อาจมองได้ว่าเป็นการลงทุน เพราะผู้ลงทุนยอมที่จะสูญเสียสภาพคล่องของตนเองไป ไม่สามารถนำเงินสดออกไปใช้ได้ในช่วงเวลาหนึ่ง เพื่อแลกกับการได้รับดอกเบี้ยที่สูงขึ้นหรือโอกาสที่จะถูกรางวัล​​


รู้จักตนเอง

เมื่อเตรียมเงินสำหรับการลงทุนไว้แล้ว ก่อนการตัดสินใจลงทุนใด ๆ  ผู้ลงทุนต้องตอบคำถามสำคัญด้านล่างให้ได้เสียก่อนเพื่อประเมินตนเอง และใช้เป็นแนวทางในการลงทุน รวมถึงเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน ที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง

 

วัตถุประสงค์ในการลงทุนของคุณคืออะไร​

 

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด

ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ในการลงทุน  เช่น  ลงทุนเพื่อบรรลุเป้าหมายทางการเงินต่าง ๆ ได้แก่  ซื้อรถ  ซื้อบ้าน ศึกษาต่อต่างประเทศ หรือลงทุนเพื่อให้เงินงอกเงยเพียงพอสำหรับ
การใช้จ่ายหลังเกษียณ​ หรือลงทุนเพื่อลดหย่อนภาษี และยังมีคำถามที่ตามมา คือ ต้องการเงินจำนวนเท่าไหร่  เพื่อใช้ทำอะไร  ภายในระยะเวลาเท่าไหร่ ระยะสั้น (ไม่เกิน 1 ปี) 
ระยะกลาง (1-3 ปี) หรือ ระยะยาว (3 ปีขึ้นไป)  แต่หัวใจสำคัญ คือ การเลือกลงทุนในสิ่งที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการลงทุนของตนเอง  ขอยกตัวอย่างการเตรียมเงินไว้สำหรับการพาครอบครัวไปท่องเที่ยวต่างประเทศในอีก 6 เดือนข้างหน้า  หากเรานำเงินไปลงทุนโดยตรงในตลาดหลักทรัพย์ หรือซื้อกองทุนรวมตราสารทุน มีความเป็นไปได้ที่ในอีก 6 เดือนต่อมา ราคาหลักทรัพย์หรือมูลค่าหน่วยลงทุนจะต่ำลง ซึ่งเรามีความจำเป็นต้องยอมรับผลขาดทุนโดยขายหลักทรัพย์หรือหน่วยลงทุนนั้นเพื่อนำเงินมาใช้จ่ายตามกำหนด  มิหนำซ้ำถ้าราคาต่ำลงมากก็อาจเหลือเงินไม่เพียงพอสำหรับใช้จ่ายก็เป็นได้  ในกรณีนี้ เราควรนำเงินไปฝากประจำหรือซื้อกองทุนรวมตราสารหนี้ ที่มีระยะเวลาครบกำหนดไม่เกิน 6 เดือน จะเป็นทางเลือกที่เหมาะสมกว่า  ซึ่งโดยทั่วไป เงินฝากประจำและตราสารหนี้ที่อายุยาวกว่าจะมีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าระยะสั้น  นอกจากนี้ ความผันผวนของราคาหลักทรัพย์​หรือหน่วยลงทุน ในระยะสั้น อาจไม่กระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุนในระยะยาวก็ได้ 

 

อัตราผลตอบแทนที่คาดหวังเป็นอย่างไร และคุณสามารถยอมรับความเสี่ยงได้มากน้อยเพียงใด​

ผลตอบแทนที่สูงขึ้นมักมาพร้อมกับความเสี่ยงที่สูงขึ้นเสมอ (high risk, high return) ทั้งนี้ ความสามารถในการรับความเสี่ยงของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่างกัน ขึ้นกับหลายปัจจัย  เช่น

สิ่งที่มีประโยชน์หรือมูลค่าสูง” ตรงกับคำในข้อใด
​​​​​​​​​​​นักลงทุนที่มีอายุน้อย หรือมีความตั้งใจที่จะลงทุนในระยะยาว ย่อมยอมรับความเสี่ยงได้มากกว่า​นักลงทุนที่มีอายุมากขึ้นหรือสามารถลงทุนได้ในช่วงเวลาที่สั้นกว่า เพ​ราะมีความเป็นไปได้น้อยกว่าที่จะมีความจำเป็นต้องนำเงินที่ไปลงทุนไว้ออกมาใช้ในช่วงที่สินทรัพย์มีราคาต่ำ