กลุ่มกรีนพีช (Green Peace) มีบทบาทโดยตรงในด้านใด

นโยบายการใช้คุกกี้ของกองประมงต่างประเทศ

เมื่อท่านได้เข้าสู่เว็บไซต์กองประมงต่างประเทศ https://www4.fisheries.go.th/foreign ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่เว็บไซต์ของท่านจะถูกเก็บเอาไว้ในรูปแบบของคุกกี้ โดยนโยบายคุกกี้นี้จะอธิบายถึงความหมาย การทำงาน วัตถุประสงค์ รวมถึงการลบและการปฏิเสธการเก็บคุกกี้เพื่อความเป็นส่วนตัวของท่าน โดยการเข้าสู่เว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้หน่วยงานราชการใช้คุกกี้ตามนโยบายคุกกี้ที่มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. คุกกี้คืออะไร

คุกกี้ คือ ไฟล์ข้อความขนาดเล็กที่ถูกดาวน์โหลดไปยังอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์มือถือของท่าน ซึ่งทำหน้าที่บันทึกข้อมูลและการตั้งค่าต่าง ๆ เช่น บันทึกข้อมูลการตั้งค่าภาษาในอุปกรณ์บนอุปกรณ์ของท่าน บันทึกสถานะการเข้าใช้งานในปัจจุบันของท่าน เพื่อช่วยให้ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน (รวมเรียกว่า “บริการ”) ได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเข้าใช้งานบริการที่ท่านชื่นชอบในรูปแบบไฟล์ โดยคุกกี้ไม่ได้ทำให้เกิดอันตรายต่ออุปกรณ์ของท่าน และเนื้อหาในคุกกี้จะถูกเรียกออกมาดูหรืออ่านได้โดยบริการที่สร้างคุกกี้ดังกล่าวเท่านั้น

2. ประโยชน์ของคุกกี้

คุกกี้จะบอกให้ทราบว่าท่านเข้าใช้งานส่วนใดในบริการของกองประมงต่างประเทศ เพื่อที่กองประมงต่างประเทศจะสามารถมอบประสบการณ์การใช้บริการที่ดีขึ้นและตรงกับความต้องการของท่านได้ นอกจากนี้ การบันทึกการตั้งค่าแรกของบริการด้วยคุกกี้จะช่วยให้ท่านเข้าถึงบริการด้วยค่าที่ตั้งไว้ทุกครั้งที่ใช้งาน ยกเว้นในกรณีที่คุกกี้ถูกลบซึ่งจะทำให้การตั้งค่าทุกอย่างจะกลับไปที่ค่าเริ่มต้น

3. การใช้งานคุกกี้

กองประมงต่างประเทศ ใช้คุกกี้และเทคโนโลยีอื่น เช่น พิกเซลแท็ก (Pixel-tags) บนบริการของกองประมงต่างประเทศ (รวมเรียกว่า “บริการที่อ้างอิงนโยบายการใช้คุกกี้”) ดังนั้น บริการใดก็ตามที่ท่านใช้เพื่อเข้าถึงบริการที่อ้างอิงนโยบายการใช้คุกกี้จะได้รับคุกกี้จากกองประมงต่างประเทศ

เมื่อท่านเข้าถึงบริการที่อ้างอิงนโยบายการใช้คุกกี้ คุกกี้ของกองประมงต่างประเทศ จะถูกดาวน์โหลดไปยังอุปกรณ์ของท่านเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการใช้และประวัติการใช้บริการ ข้อมูลหรือบริการที่ท่านสนใจ รวมถึงหมายเลขอ้างอิงการเข้าใช้บริการล่าสุดของท่าน เป็นต้น

นอกจากนั้น กองประมงต่างประเทศ มีการใช้งานคุกกี้ร่วมกับเทคโนโลยีประเภทพิกเซลแท็ก เพื่อทราบถึงรูปแบบการใช้และประวัติการใช้บริการ ข้อมูลหรือบริการที่ท่านสนใจ และนำไปวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาการให้บริการ แสดงเนื้อหา โฆษณา หรือประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่เหมาะสมรวมถึงการบริการต่าง ๆ ที่ตรงกับความสนใจของท่าน เพื่อเพิ่มความพึงพอใจให้แก่ท่านได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม กองประมงต่างประเทศ จะใช้งานคุกกี้ภายใต้รายละเอียดที่ระบุในคำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว

สำหรับประเภทคุกกี้ที่กองประมงต่างประเทศ ใช้งาน สามารถแบ่งประเภทได้ ดังนี้

3.1 คุกกี้เพื่อการให้บริการ คุกกี้เพื่อการให้บริการจะช่วยให้ท่านสามารถใช้บริการ และ/หรือเข้าถึงฟังก์ชันต่าง ๆ ได้ เช่น คุกกี้ที่จัดการเรื่องการเข้าสู่ระบบ (Login) และสถานะการเข้าสู่ระบบของท่าน

3.2 คุกกี้ที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการใช้บริการ คุกกี้ที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการใช้บริการจะช่วยอำนวยความสะดวกแก่ท่านในการใช้บริการ รวมทั้งช่วยให้กองประมงต่างประเทศ รู้จักท่านมากยิ่งขึ้น โดยกองประมงต่างประเทศ จะใช้ข้อมูลดังกล่าวนี้ในการนำเสนอและพัฒนาระบบเว็บไซต์กองประมงต่างประเทศ ให้ตรงกับความสนใจของท่านต่อไป

ตัวอย่างการอำนวยความสะดวกแก่ท่านในการใช้บริการด้วยคุกกี้ประเภทนี้ คือ

1. ช่วยจำสถานะของการใช้บริการ เช่น ภาษาที่เลือกใช้
2. ช่วยจำคำตอบที่ท่านเคยตอบไปแล้ว ซึ่งจะช่วยให้ท่านไม่ต้องตอบคำถามเดิมซ้ำอีก
3. ให้บริการ Live Bot บนเว็บไซต์ของกองประมงต่างประเทศ
4. ให้บริการฟังก์ชัน Social Media Sharing ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถแบ่งปันเนื้อหาที่สนใจบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)

ทั้งนี้ เพื่อการให้บริการและเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ท่านในการใช้บริการตามตัวอย่างข้างต้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการใช้งานโปรแกองประมงต่างประเทศเสริม (Plugin) และบริการของบุคคลที่สาม เช่น Google Analytics, Facebook Analytics, Truehits, Hotjars, Facebook, Line, Twitter, และ Add This

4. วิธีปิดการทำงานของคุกกี้

ท่านสามารถปิดการทำงานของคุกกี้ได้ โดยการตั้งค่าเบราว์เซอร์ของท่าน และตั้งค่าความเป็นส่วนตัวเพื่อระงับการรวบรวมข้อมูลโดยคุกกี้ในอนาคต (รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้จาก AboutCookies.org)

อย่างไรก็ตาม บริการบางอย่างบนเว็บไซต์ของกองประมงต่างประเทศจำเป็นต้องมีการใช้คุกกี้ หากท่านปิดการทำงานคุกกี้อาจทำให้ท่านไม่สามารถที่จะใช้งานบางฟังก์ชันหรือทั้งหมดของเว็บไซต์ได้

5. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงนโยบายฯ

กองประมงต่างประเทศขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงและแก้ไขนโยบายฯฉบับนี้ เพื่อให้เป็นไปตามกฏระเบียบรวมถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยนโยบายเวอร์ชันล่าสุดจะประกาศบนเว็บไซต์กองประมงต่างประเทศ ที่ https://www4.fisheries.go.th/foreign เพื่อให้ท่านทราบแนวทางที่กองประมงต่างประเทศใช้ในการปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน

           1. องค์กรต่างประเทศที่มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย องค์กรเอกชนอิสระ  (NGO  :  Non  Government  Organization)  จากต่างประเทศที่เข้ามามีบทบาทในการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย  ที่รู้จักกันดีมี  2  องค์กร  คือ

                    1.1  องค์กรเอกชนอิสระกรีนพีช  (Green  Peace)

                    2.2  องค์กรกองทุนสัตว์ป่าโลก                                                                                       (World  Wild  Fund  for  Nature  : WWF)

           2.  องค์กรเอกชนอิสระกรีนพืช (Green Peace)

                   2.1 ความเป็นมา เป็นองค์กรเอกชนอิสระจัดตั้งขึ้นในปี 2514

                   2.2 วัตถุประสงค์  เพื่อฟื้นฟูสิ่งมีชีวิตในโลกให้มีความเข้มแข็ง

                   2.3 ที่ตั้งสำนักงานใหญ่  ตั้งอยู่ที่กรุงอัมสเตอร์ดัม  ประเทศเนเธอร์แลนด์

                   2.4 ทุนการดำเนินงาน รับความช่วยเหลือจากกลุ่มเอกชนและดอกผลจาก                              กองทุนเท่านั้น

                   2.5 บทบาทของกลุ่มกรีนพีชในประเทศไทย

                         (1)  ยับยั้งการเคลื่อนย้ายกากสารพิษกากกัมมันตภาพรังสีข้ามพรมแดน

                         (2)  ต่อต้านการจัดสร้างเตาเผาขยะที่ไม่ได้มาตรฐาน

                         (3)  ลดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากถ่านหิน

                         (4)  ต่อต้านการใช้พันธุ์พืชที่ผ่านกระบวนการตัดแต่งทางพันธุกรรมมา                                   ปลูกในพื้นที่ประเทศไทย

         3.  องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลก  (world  wide fund for nature : WWF)

                3.1 ความเป็นมา “กองทุนสัตว์โลก” เป็นองค์กรเอกชนอิสระ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี                            2504  ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์

                3.2 บทบาทและการดำเนินงาน ได้ดำเนินงานในโครงการอนุรักษ์                                         ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากกว่า 12,000 โครงการใน 153                               ประเทศทั่วโลก

                3.3 โครงการเร่งด่วนสำคัญที่ได้รณรงค์พร้อมกันทั่วโลก เช่น โครงการป่าเพื่อ                         ชีวิต  โครงการคืนชีวิตให้แหล่งน้ำ โครงการอนุรักษ์ทะเลและมหาสมุทร

                      โครงการอนุรักษ์พืชและสัตว์น้ำที่ใกล้สูญพันธุ์

                3.4 บทบาทของกองทุนสัตว์ป่าโลกในประเทศไทย เช่น

                      โครงการอนุรักษ์แม่น้ำโขง

                      โครงการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำและชายฝั่งทะเล

                      โครงการรณรงค์เพื่อการไม่ค้าสัตว์ป่าและพืชป่าที่ผิดกฎหมาย

กรีนพีซ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ใด

ในประเทศไทย: กรีนพีซ ประเทศไทย 1371 แคปปิตอล แมนชั่น ชั้น 1 ถนนพหลโยธิน แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 เบอร์โทร: 02 357 1921 ต่อ 120 และ 140 โทรสาร: 02 357 1929 อีเมล: [email protected].

กลุ่มกรีนพีซ (Greenpeace) ก่อตั้งโดยใคร

ผู้ก่อตั้งกรีนพีซ อัมชิตกาเป็นสถานที่หลบภัยของนากทะเลที่ใกล้สูญพันธุ์ 3,000 ตัว และเป็นถิ่นอาศัยของนกอินทรีย์หัวล้าน เหยี่ยวต่างถิ่น และ สัตว์ป่าอื่นๆ มากมาย

กรีนพีซ มีกี่ประเทศ

Green Peace เป็นองค์การสาธารณประโยชน์ (NGO) นานาชาติที่ดำเนินกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและสันติภาพ ก่อตั้งในประเทศแคนาดาเมื่อ พ.ศ. 2514 ปัจจุบัน กรีนพีซมีสำนักงานประจำประเทศและภูมิภาค อยู่ใน 41 ประเทศทั่วโลก โดยทุกสำนักงานจะทำงานร่วมกับ Greenpeace International ที่กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ชื่อที่ใช้ดำเนินการใน ...