ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด

และส่วนตัวไม้ทีประกบกันเป็นมุม 90 องศา ใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวนอน หรือเส้นระดับอย่างเดียวเท่า นั้น ซึ่งจะต้องใช้ร่วมกับโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขียนแบบ พร้อมนี้จะต้องใช้ร่วมกับฉากสามเหลี่ยม (Set - Square) สำหรับลากเส้นให้เป็นมุมต่าง ๆ ลักษณะของไม้ฉากที หรือ T - Square ที่ดีนั้น หัวไม้ฉากทีต้องไม่โยกคลอนยึดติดกันแน่นกับก้านไม้ตัวขวางของไม้ฉากที ขอบบนของตัวไม้ฉากทีต้องเรียบและตรงไม่บิดงอ การเขียนเส้นนอน ต้องลากเส้นจากซ้ายไปขวาเสมอ หัวไม้ฉากทีแนบกับโต๊ะเขียนแบบด้านซ้ายมือจรดปลายดินสอให้เอนไปในทิศทางของการลากเส้นทำมุมกับกระดาษเขียนแบบเป็นมุม 60 องศา ขณะเดียวกันให้ดินสอเอนออกจากขอบบรรทัดเล็กน้อย เพื่อให้ปลายดินสออยู่ชิดขอบบรรทัดมากที่สุด ในขณะที่ลากเส้น ควรหมุนดินสอไปด้วย ซึ่งจะช่วยรักษาปลายไส้ดินสอ เป็นกรวยแหลม และช่วยให้เส้นดินสอโตสม่ำเสมอกัน


ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด


3. ฉากสามเหลี่ยม (Set - Square) ชุดหนึ่งมีอยู่ ๒ แบบ มีมุมต่างกันดังนี้ อันแรกเรียกว่า ฉาก 30 60, และ 90 องศา ส่วนอันที่ 2 เรียกว่า ฉาก 45,  และ 90 องศา การเขียนมุมของฉากสามเหลี่ยมทั้ง 2 อันนี้ จะต้องใช้ร่วมควบคู่กับไม้ฉากทีทุกครั้ง ในขณะทำการปฏิบัติงานเขียนแบบ ฉากสาม เหลี่ยมใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวดิ่ง และเส้นเอียงทำมุมต่าง ๆ เวลาเขียนเส้นดิ่งให้ลากดินสอขึ้นไปตามแนวดิ่ง จับดินสอให้เอนไปในทิศ ทางของการลากเส้น ทำมุม 60 องศา กับกระดานเขียนแบบ และให้ดินสอเอนออกจากตัวฉากสามเหลี่ยมเล็กน้อย

ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด



4. วงเวียน เป็นอุปกรณ์สำหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง ด้วยดินสอดำหรือหมึกก็ได้ วงเวียนมีหลายแบบ สามารถเลือกใช้แล้วแต่ความสำคัญของความต้องการในแต่กรณี วิธีเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ให้ปรับขาวงเวียนที่เป็นเหล็กแหลม ให้ยาวกว่าข้างที่เป็นไส้ดินสอเล็กน้อย ใช้ปลายแหลม ปักลงตรงจุดที่กำหนดให้เป็นศูนย์กลางของวงกลม ปรับขาวงเวียนจนกางได้ระยะเท่ากับรัศมีที่ต้องการจับก้านวงเวียนไว้ระหว่างนิ้วหัวแม่ มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนเอนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามเขียนวงกลมให้สมบูรณ์ โดยการหมุนวงเวียนไปเพียงครั้งเดียว

ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด


5. ดินสอดำ หรือดินสอเขียนแบบ (Drawing Pencil) ดินสอเขียนแบบทำด้วยไส้ดินสอที่มีระดับความแข็งต่างกันความแข็งของไส้ดินสอมีการระบุไว้บนแท่งดินสอด้วยตัวเลขและตัวอักษร ดินสอที่ใช้ในการเขียนแบบ ควรมีความอ่อนแข็งดังนี้ 2H, 3H, H, HB อย่างน้อยควรมี 4 แท่ง คือ ดินสอที่มีไส้อ่อนได้แก่เกรด F, HB ไส้ขนาดกลาง H – 2H ไส้แข็ง 4H – 5H ในงานเขียนแบบปัจจุบันนี้นิยมใช้ดินสอสำเร็จแบบไส้เลื่อน หรือไส้กด เพราะสะดวกรวดเร็ว ไม่เสียเวลาต่อการเหลาดินสอ มีความยาวคงที่ บรรจุไส้ใหม่สะดวก ทำให้งานสะอาด ไม่สกปรก    


ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด


6. ยางลบ ควรเป็นยางลบชนิดนุ่ม ๆ มีคุณภาพใช้ลบดินสอดำที่เขียนผิด หรือลบในสิ่งที่ต้องการจะลบ

ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด

7. กระดาษเขียนแบบ มีทั้งขนาดความหนา 80 ปอนด์ ถึง 100 ปอนด์ เป็นชนิดไม่มีเส้นขนาดความกว้างความยาวแล้วแต่จะต้องการเขียนหรือต้องการใช้ขั้นตอนการติดกระดาษเขียนแบบที่ปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนต่าง ๆ


ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด


8. ผ้ายาง หรือเทปกาว (Scotch Tape) ใช้ติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบให้แน่นในขณะเขียนแบบทุกครั้ง เพื่อป้องกันกระดาษเลื่อน การติดกระดาษเขียนแบบที่ถูกวิธีนั้น ต้องติดขวางมุม

มีแขนเลื่อนตามขวางซึ่งเลื่อนไปทางซ้ายและขวาของโต๊ะเขียนแบบรูปร่างและการเคลื่อนที่ ตลอดจนการควบคุมการเคลื่อนที่จะแตกต่างกันไปตามบริษัทผู้ผลิต ดังรูป 1.1 ซึ่งแสดงถึงส่วนต่างๆ ของโต๊ะเขียนแบบที่เป็นรางเลื่อน ซึ่งมีข้อดีดังนี้

1.                   มั่นคงและแม่นยำ

2.                   ขณะใช้งานสามารถเอียงโต๊ะเป็นมุมชัน และชุดหัวไม่เลื่อนลง

3.                   ทั้งชุดหัวและแขนเลื่อนตามขวางล็อคได้ทุกตำแหน่ง ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สำคัญเมื่อต้องเขียนตัวอักษรหรือใช้อุปกรณ์อื่นๆ ในการเขียนแบบที่ต้องการตำแหน่งอันมั่นคง

 

 ภาพที่ 1.1 ลักษณะกระดานเขียนแบบและโต๊ะเขียนแบบ

ภาพที่ 1.2 โต๊ะเขียนแบบ

1.2          กระดานเขียนแบบ

                จะต้องมีพื้นผิวเรียบที่ขอบด้านซ้ายมือจะต้องเรียบและตรง  เนื่องจากหัวของไม้ที (T-Square) จะต้องแนบและเลื่อนขึ้นลงที่ขอบด้านซ้ายมือนั้น กระดานเขียนแบบส่วนใหญ่นิยมนำมาใช้ในการเขียนแบบสนามหรือเขียนแบบนอกสถานที่  บางครั้งก็นำมาใช้เขียนแบบในโรงเรียนบ้างเหมือนกันกรณีที่โรงเรียนนั้นไม่มีโต๊ะเขียนแบบมาตรฐาน เพราะถ้าหากว่านักศึกษาเขียนไม่เสร็จ  สามารถนำไปเขียนต่อที่บ้านได้โดยไม่ต้องแกะแบบออกจากกระดาน ดังแสดงในภาพที่ 1.3

ฉากสามเหลี่ยมชนิด 30 ใช้ในงานเขียนแบบภาพชนิดใด

 ภาพที่ 1.3 แสดงลักษณะของกระดานเขียนแบบและการใช้งานกับไม้ที

1.3               ไม้ที (T SQUARE)

ไม้ทีเป็นเครื่องมือที่สำคัญในงานเขียนแบบ ไม้ทีมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือหัว (HEAD) ทำจากไม้เนื้อแข็ง และใบ (BLADE)ทำจากไม้ทีขอบทำจากพลาสติกใส ทั้งสองส่วนจะยึดตั้งฉากกัน ไม้ทีใช้สำหรับเขียนเส้นในแนวนอน และใช้ประกอบกับฉากสามเหลี่ยม สำหรับเขียนเส้นในแนวดิ่ง และเส้นเอียงเป็นมุมต่าง ๆ

  

 ภภาพที่ 1.4 ลักษณะการใช้ไม้ทีเขียนเส้น

ภาพที่ 1.5 การจับไม้ทีในงานเขียนแบบ

1.4               บรรทัดสามเหลี่ยม (TRIANGLES)

บรรทัดสามเหลี่ยมปกติทำจากพลาสติกใส  สามารถมองเป็นเส้นที่เขียนได้ชัดเจน บรรทัดสามเหลี่ยมจะใช้คู่กับไม้ทีสำหรับเขียนเส้นดิ่ง  เส้นเอียงเป็นมุมต่าง ๆ บรรทัดสามเหลี่ยมปกติจะมี 2 อัน คือ 90° -45° -45°และ 90°-30°-60°

 ภาพที่ 1.6 ลักษณะการใช้บรรทัดสามเหลี่ยม

ภาพที่ 1.7 แสดงลักษณะของบรรทัดสามเหลี่ยมมุม 45°  และ 30°-60°

ภาพที่ 1.8 แสดงลักษณะของบรรทัดสามเหลี่ยมชนิดปรับมุมได้

ภาพที่ 1.9 แสดงวิธีการแบ่งมุมด้วยบรรทัดสามเหลี่ยม 45°

ภาพที่ 1.10 แสดงวิธีการแบ่งมุม 15° และ 75° ด้วยบรรทัดสามเหลี่ยม 45° และบรรทัดสามเหลี่ยม 30°-60°

1.5               บรรทัดมาตราส่วน (SCALE)

                เป็นบรรทัดที่มีมาตราส่วนต่าง ๆ หลายขนาด เช่น 1:1, 1:2, 1:5, 1.25 เพื่อสะดวกในการเขียนแบบลักษณะต่างๆ ที่ต้องใช้มาตราส่วนในการเขียนแบบเพื่อย่อหรือขยายทำให้สะดากและรวดเร็วซึ่งจะใช้มากในงานเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม

ภาพที่ 1.11 ลักษณะของบรรทัดมาตรส่วน

1.6               บรรทัดเขียนส่วนโค้ง (IRREQULAR CURVES)

                บรรทัดเขียนส่วนโค้ง เป็นการเขียนที่จะใช้ในการเขียนส่วนโค้ง หรือเส้นโค้งในแบบงานที่ไม่สามารถใช้วงเวียนเขียนการใช้บรรทัดส่วนโค้งเป็นการเขียนที่จะต้องให้เส้นต่อเนื่องกันโดยการให้ส่วนโค้งของบรรทัดสัมผัส 3 จุด แล้วจึงลากเส้นผ่านจุดซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความชำนาญ และมีประสบการณ์ในการใช้บรรทัดเขียนส่วนโค้งจึงสามารถเขียนส่วนโค้งได้สมบูรณ์

ภาพที่ 1 .12  ลักษณะการใช้บรรทัดเขียนส่วนโค้ง

ภาพที่ 1.13 รัศมีของโค้ง

1.7          แผ่นแบบ (Templates)

                มีให้เลือกหลายขนาดและหลายแบบ เช่น วงกลม วงรี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม  และหกเหลี่ยม เป็นต้น ดังแสดงในภาพที่ 1.7

 

ภาพที่ 1.14  แสดงลักษณะของแผ่นแบบรูปร่างต่างๆ และวิธีการใช้แผ่นแบบรูปวงกลมขนาดเล็ก

 

 ภาพที่ 1.15 แผ่นแบบที่ใช้ในการเขียนแบบเทคนิค

1.8       วงเวียน (COMPASS)

                วงเวียนเป็นเครื่องมือสำหรับใช้เขียนส่วนโค้ง หรือวงกลม ก่อนจะใช้วงเวียนควรจะปรับระยะไส้ดินสอให้เสมอกับหลักศูนย์กลาง และควรลับดินสอให้เอียงเพื่อสะดวกในการวัดระยะรัศมี และจะทำให้เขียนส่วนโค้งสะดวก วงเวียนที่ใช้งานในการเขียนแบบมีหลายลักษณะควรเลือกใช้วงเวียนให้เหมาะสมกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมที่จะเขียน เช่น

1.8.1      วงเวียนวงกลมเล็ก (BOW COMPASS)        เป็นวงเวียนสำหรับใช้เขียนวงกลมที่มีรัศมีไม่เกิน 15 มิลลิเมตร วงเวียนชนิดนี้ใช้แรงสปริง และสกรูเป็นตัวปรับขนาดความกว้างของรัศมี

 

 ภาพที่1.16 ลักษณะวงเวียนเขียนวงกลมเล็ก

1.82        วงเวียนเขียนวงกลมโต  (LARGE COMPASS)      เป็นวงเวียนที่ใช้งานมาตรฐานทั่วไป ออกแบบสำหรับใช้เขียนวงกลมขนาดใหญ่ซึ่งไม่สามารถเขียนด้ายวงเวียนแบบ  BOW COMPASS  ได้

 ภาพที่ 1.17 ลักษณะของวงเวียนวงกลมโต

1.83            วงเวียนคาน (BEAM COMPASS)              เป็นวงเวียนที่ออกแบบสำหรับใช้เขียนวงกลมขนาดใาหญ่ซึ่งไม่สามารถเขียนด้วยวงเวียนธรรมดาได้

 ภาพที่ 1.18  ลักษณะวงเวียนคาน

1.9   วงเวียนวัดระยะ (DIVIDERS)

        วงเวียนวัดระยะมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับวงเวียนที่นำใช้งานเขียนแบบทั่วไปแต่ปลายขาวงเวียนจะเป็นปลายแหลมทั้งสองข้างใช้สำหรับวัดระยะจากเครื่องมือวัดแล้วนำไปถ่ายขนาดลงบนแบบงาน หรือใช้เส้นตรงออกเป็นส่วน ๆ กัน

 

ภาพที่ 1.19  การใช้งานวัดระยะแบ่งเส้น

 

 ภาพที่ 1.20  ลักษณะของดินสอที่ใช้งานในวงเวียน

1.10            ปากการเขียนแบบ (DRAWING PEN)

        ปากกาเขียนแบบ เป็นเครื่องมือที่ใช้เขียนใาห้เป็นเส้นหรือสัญลักษณ์สำหรับกระดาษเขียนแบบที่เป็น
กระดาษไข ปากกาเขียนแบบประกอบด้วยหลอด และปลายเข็มใช้สำหรับเขียนเส้นที่มีขนาดความหนาของเส้นจะเพิ่มขึ้นตามอนุกรมก้าวหน้าเรขาคณิตคูณด้วย

 

 ภาพที่ 1.21  ขนาดของเส้นที่เขียนจากปากกา

1.11            ดินสอเขียนแบบ (DRAWING PENCIL)

        ดินสอเขียนแบบเป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดให้เป็นเส้นบนกระดาษเขียนแบบ ดินสอเขียนแบบมี 2 ชนิด คือ ดินสอเปลือกไม้และดินสอแบบเปลี่ยนไส้ได้ ส่วนที่สำคัญที่สุดของดินสอเขียนแบบคือ ไส้ดินสอ ซึ่งดินสอ ซึ่งทำจากกราไฟต์ (GRAPHITE) โดยนำมาอัดให้เป็นแท่งโดยให้มีความแข็งอ่อนของไส้แบ่งเป็นกรดต่าง เพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้ในงานเขียนแบบ