คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

รูปแบบงานทัศนศิลป์
แบ่งเป็น 3 รูปแบบ
1.1 รูปแบบเหมือนจริง (Realistic)
หมายถึง การสร้างงานที่เหมือนจริงดังที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ โดยยึดหลักการสร้างสรรค์ และการนำเสนอดังที่ตามองเห็น เช่น การเขียนภาพคนเหมือน ภาพสัตว์ ภาพทิวทัศน์ ภาพหุ่นนิ่งใน
งานจิตรกรรม การปั้น การแกะสลัก และการหล่อรูปบุคคลสำคัญที่ทำเป็นอนุสาวรีย์ในงานประติมากรรม เป็นต้น
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์รูปแบบเหมือนจริง เป็นการนำทัศนธาตุต่าง ๆ มาสร้างสรรค์โดยการจัดองค์
ประกอบศิลป์ แสดงรายละเอียดของผลงานให้เหมือนจริงดังที่ตามองเห็น เช่น งานจิตรกรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เทคนิค ดินสอถ่านชาโคล และสีชอล์กบนกระดาษ
ผลงานของศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี
ผลงาน จิตรกรรมคนเหมือน
สื่อความหมาย
ใช้โทนสีของภาพเป็นสีน้ำตาล โดยนำทัศนธาตุต่างๆมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างกลมกลืนน่าสนใจ โดยเฉพาะการนำเส้นโค้งลักษณะต่างๆมาถ่ายทอดรูปร่าง รูปทรงของบุคคลได้อย่างเหมือนจริง มีขนาด สัดส่วนที่ถูกต้องชัดเจน
การจัดวางภาพบนบริเวณว่างทำได้อย่างเหมาะสม
แสงเงาและสี มีการใช้ค่าน้ำหนักสีที่ดูกลมกลืน ศิลปินนำพื้นผิวมาใช้ในการเน้นพื้นหลังของภาพ ทำให้ภาพที่ให้ความรู้สึกนิ่งๆ กลับดูเคลื่อนไหว และมีเรื่องราวมากยิ่งขึ้น

งานประติมากรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน ป้าอิน
เทคนิค ปูนปลาสเตอร์
ผลงานของไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์
ผลงาน ประติมากรรมลอยตัว
สื่อความหมาย เป็นผลงานคนเหมือน รูปผู้หญิงสูงวัย ศิลปินได้นำทัศนธาตุต่างๆมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานให้มีลักษณะเหมือนจริงมากที่สุด มีการนำเส้นโค้งลักษณะต่างๆมาถ่ายทอดรูปร่าง รูปทรงของบุคคลและแสดงรายละเอียดต่างๆ
ผลงานนี้มีขนาดและสัดส่วนที่ถูกต้องชัดเจน
มีลักษณะพื้นผิวที่เหมือนจริง ดูจากผิวเนื้อมีการขัดและตกแต่งจนเรียบ ส่วนเสื้อผ้ามีลักษณะพื้นผิวที่หยาบกว่า ทำให้ผลงานมีความเด่นชัดและให้อารมณ์ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น

1.2 รูปแบบแบบตัดทอน (Distortion)
หมายถึง การสร้างสรรค์งานศิลปะในลักษณะบิดเบือนไปจากของจริง โดยจะให้ความสำคัญกับรูปแบบที่เหมือนจริงน้อยลง แต่ให้ความสำคัญกับรูปแบบจากความคิดของศิลปินมากขึ้น เพื่อสื่อความงามในการรับรู้ให้เข้าใจง่ายและรวดเร็ว
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์รูปแบบแบบตัดทอน เป็นการนำทัศนธาตุมาจัดองค์ประกอบศิลป์ของผลงาน โดย
การบิดเบือนไปจากของจริงตามความคิดสร้างสรรค์ของศิลปิน เพื่อสื่อความงามในการรับรู้ให้เข้าใจง่ายและรวดเร็ว เช่น

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน ดอกไม้
เทคนิค สีน้ำมันบนผ้าใบ
ผลงานของศาสตราจารย์สวัสด์ ตันติสุข
ผลงาน จิตรกรรม
สื่อความหมาย
เป็นผลงานจิตรกรรมหุ่นนิ่งในรูปแบบตัดทอน ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานด้วยทัศนธาตุต่างๆได้อย่างกลมกลืนน่าสนใจ โดยเฉพาะการใช้เส้นในการตัดทอนรูปร่าง รูปทรงของหุ่นนิ่งให้มีรูปแบบตัดทอน
การจัดวางภาพลงบนวริเวณว่างทำได้อย่างเหมาะสม ขนาด สัดส่วนของภาพกับผืนผ้าใบมีการจัดวางได้อย่างสมุดเช่นกัน
แสงเงาและสีของผลงานมีการใช้ค่าน้ำหนักของสีที่ดูกลมกลืนกัน มีการนำสีข้างเคืยงมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานทำให้ภาพดูกลมกลืนด้วยสี
นอกจากนี้ยังถ่ายทอดลักษณะพื้นผิวด้วยรอยเชิงฝีแปรงของเส้นและสี

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน แม่กับลูก
เทคนิค ประติมากรรมปูนปลาสเตอร์
ผลงานของสุวิช สถิตวิทยานันท์
ผลงาน ประติมากรรมลอยตัว
สื่อความหมาย
เป็นผลงานประติมากรรมในรูปแบบตัดทอน รูปแม่กับลูก ศิลปินถ่ายทอดผลงานด้วยทัศนธาตุต่าง ๆ ที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือรูปร่าง รูปทรง ที่มีการตัดทอนรายละเอียด แสดงเส้นรอบนอกด้วยเส้นโค้งลักษณะต่าง ๆ ได้อย่างกลมกลืนและสอดคล้องกัน ขนาด สัดส่วนของผลงานก็สัมพันธ์กันเป็นอย่างดี ส่วนสีของผลงานนั้นเป็นสีขาว ซึ่งเป็นสีของวัสดุที่ใช้ในการสร้างสรรค์คือปูปลาสเตอร์ เป็นการสื่อความหมายถึงความรักอันบริสุทธิ์ระหว่างแม่กับลูก ในส่วนของพื้นผิวจะมีลักษณะผิวเรียบ ละเอียด แสดงถึงความนุ่นนวล ละมุนละไม ให้ความรู้สึกปลอดภัย น่าทะนุถนอม

1.3 รูปแบบตามความรู้สึก (Abstraction)
หมายถึง การสร้างสรรค์งานศิลปะที่ไม่มีรูปแบบและเรื่องราวเหมือนจริง แต่มุ่งแสดงอารมณ์ความรู้สึกของศิลปินที่ถ่ายทอดลงในผลงาน
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์รูปแบบตามความรู้สึก เป็นการนำทัศนธาตุมาใช้ในการจัดองค์ประกอบศิลป์และกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ความรู้สึก เช่น ความสนุกสนาน ความตื่นเต้น ความน่ากลัว ความเศร้า ความสับสน ความร้อนแรง ความรัก เป็นต้น

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน เปลี่ยนแปลง
เทคนิค สีน้ำมันบนผ้าใบ
ผลงานของรุ่งศักด์ ดอกบัว
ผลงาน จิตรกรรม
สื่อความหมาย เป็นผลงานจิตรกรรมในรูปแบบตามความรู้สึก ศิลปินได้นำทัศนธาตุต่างๆมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยสี รูปร่าง รูปทรงอิสระ ไม่มีรูปแบบที่ตายตัว ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ตื่นตาตื่นใจ และแสดงถึงความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ศิลปินผสมผสานทัศนธาตุๆได้อย่างกลมกลืน โดยยึดความเป็นเอกภาพ

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน ชีวิตและศรัทธา
เทคนิค ประติมากรรมหล่อโลหะ
ผลงานของเข็มรัตน์ กองสุข
ผลงาน ประติมากรรมลอยตัว
สื่อความหมาย
เป็นผลงานประติมากรรมในรูปแบบตามความรู้สึก ที่ทำให้ผู้ชมใช้จินตนาการและความรู้สึกด้วยตนเอง
ศิลปินถ่ายทอดผลงานด้วยทัศนธาตุต่างๆที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือรูปร่าง รูปทรง และบริเวณว่าง ที่มีรูปแบบตามความรู้สึก แสดงเส้นรอบนอกด้วยเส้นโค้งและเส้นตรงได้อย่างกลมกลืนและสอดคล้องกัน ขนาด สัดส่วนของผลงานก็สัมพันธ์กันเป็นอย่างดี ดูมีความมั่นคง ส่วนสีของผลงานนั้นเป็นสีแท้ของวัสดุ ศิลปินได้นำบริเวณว่างมาสร้างจุดสนใจในผลงาน โดยการเจาะจงผลงานให้เกิดบริเวณว่าง
2. แนวคิดในงานทัศนศิลป์เกิดจากเหตุผล
งานทัศนศิลป์เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นจากความคิด ความรู้สึก และความประทับใจในแง่มุมต่างๆ อันเป็นเหตุผลให้เกิดรูปแบบและวิธีการในการถ่ายทอดเป็นผลงานทัศนศิลป์ ซึ่งเกิดจากเหตุผลหลักๆดังนี้
2.1 ความประทับใจ เกิดจากการได้สัมผัส ชื่นชม และซาบซึ้งกับความงามในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะขึ้น ซึ้งอาจจะมีรูปแบบในการถ่ายทอดเลียนแบบธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เช่น

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน ลูกม้า
เทคนิค ประติมากรรมปูนปลาสเตอร์
ผลงานของไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์
ผลงาน ประติมากรรมลอยตัว
สื่อความหมาย
เป็นผลงานประติมากรรมที่เกิดจากความประทับใจในท่วงท่า และลีลาในการทำความสะอาดตัวเองของลูกม้า
2.2 แรงบันดาลใจ
เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ชาติ ศาสนา เทพเจ้า กษัตริย์ เป็นต้น แล้วเกิดความมุ่งมั่นในการสร้างสรรค์ผลงานาศิลปะเพื่ออุทิศถวายในสิ่งที่ตนเคารพบูชา รูปแบบในการถ่ายทอดอาจเป็นผลงานที่เหนือจากความเป็นจริง ซึ่งเกิดจากจินตนาการหรือความเชื่อในแบบอุดมคติ เช่น
คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
เทคนิค สีน้ำบนกระดาษ
ผลงานของเกริกบุระ ยมนาค
ผลงาน จิตรกรรม
สื่อความหมาย
เป็นผลงานจิตรกรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากความรัก ความจงรักภักดี และความศรัทธาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ปิรามิดแห่งเมืองกิเซ นักเรียนสามารถ อธิบายสื่อความหมายได้ว่าอย่างไร………………………………..
…………………………………………………………………………………
คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

2.3 สัญลักษณ์หรือสิ่งแทน
เกิดจากความต้องการสื่อสารเพื่อให้ผู้ชมผลงานได้เข้าใจในความหมายที่ต้องการสื่อ เป็นการเชื่อมโยงความคิดสร้างสรรค์กับสิ่งที่ต้องการสื่อความหมาย โดยมีรูปแบบเป็นสัญลักษณ์หรือสิ่งแทน
เช่น
คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ชื่อผลงาน การล่าสัตว์ปีก
เทคนิค จิตรกรรมปูนเปียก
ผลงาน จิตรกรรม
สื่อความหมาย
เป็นผลงานจิตรกรรมฝาผนังศิลปะอียิปต์ มีลักษณะการแสดงออกทางสัญลักษณ์สื่อสิ่งแทน เพื่อแสดงความสำคัญของฐานะบุคคล ด้วยขนาด สัดส่วน เช่น ภาพยนตร์หรือฟาโรห์จะมขนาดใหญ่ทีสุด
คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

วีนัสแห่งวิลเลนดอร์ฟ(Venus of Willendrof)
สัญลักษณ์แทนความอุดมสมบูรณ์ เพศแม่ การเกิด

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : สัมพันธภาพ
ศิลปิน : ศราวุธ ดวงจำปา
ชิ้นงาน : งานเชื่อม ขนาด 6.0 x 6.0 เมตร สูง 8.0 เมตร
แนวคิด : สัมพันธภาพของการอยู่ร่วมกันของสังคมมนุษย์ในจักวาลที่มีดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของโลก กล่าวถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อการดำรงอยู่และพัฒนาเจริญรุ่งเรืองไปพร้อมๆ กัน ไม่มีสังคมใดอยู่รอดได้ด้วยตัวคนเดียว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับการช่วยเหลือไม่มากก็น้อยกับวิธีชีวิตรอบข้าง
ผลงานชิ้นนี้แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบในวิถีชีวิตของท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมที่มีความสงบสุข มุ่งมั่น เข้มแข็ง เกื้อหนุนจุนเจือ และสามัคคี สีฟ้า แทนค่าท้องฟ้าและน้ำทะเล สีแดงดั่งแสงอาทิตย์ที่เจิดจ้า สดใส หนักแน่น มั่นคงด้วยพลังของการต่อสู้ สีเหลือ คือความอ่อนหวานและนุ่มนวลดั่งแสงจันทร์

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : Orchid
ศิลปิน : Jon Barlow Hudson, United States
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 2.90 x 2.90 เมตร สูง 4.00 เมตร
แนวคิด : ผลงานประติมากรรมในชื่อ Orchid เปรียบเสมือนดอกไม้ทรงเรขาคณิตในองค์ประกอบแบบ 3 มิติ ซึ่งมีลักษณะโครงสร้างพื้นฐานที่ถูกกำหนดช่วงตัวมีน้ำหนักเบา และมีขนาดยาวกว่าส่วนปีทั้ง 2 ข้าง รูปทรงภายในมีลักษณะแบนราบและพื้นผิวที่ถูกออกแบบอย่างลงตัวให้สามารถทนต่อแรงเสียดทานใดๆ เมื่อถูกนำมาติดตั้งในบริเวณกลางแจ้ง โดยนัยสำคัญต้องการให้ผลงานสามารถสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ภายใต้ความกลมกลืนกับบรรยากาศแห่งท้องทะเลเพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : King of Sky
ศิลปิน : Denis St-Pierre, Canada
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 1.50 x 0.3 เมตร สูง 5.8 เมตร
แนวคิด : พญาอินทรี คือจ้าวแห่งนกที่สง่างามและน่าเกรงขาม เป็นเวลาหลายศตวรรษมาแล้วที่ผู้คนหลงใหลและชื่นชมพญาอินทรี มนุษย์เปรียญพญาอินทรีว่าเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจ ความมีอิสระ เสรีภาพ และมีความยิ่งใหญ่เหนือธรรมชาติ ในบางศาสนาเชื่อว่าพญาอินทรีสามารถบินทะยานสูงจนสัมผัสพระพักตร์ของพระผู้เป็นเจ้าได้

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : กลองสะบัดชัย
ศิลปิน : อินสนธิ์ วงศ์สาม เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาประติมากรรม สร้างงานประติมากรรมแนวนามธรรมจากวัสดุธรรมชาติประเภทไม้ ใช้ชีวิตอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย
ชิ้นงาน : งานเชื่อม ขนาด 4.50 x 4.50 เมตร height 6.00 เมตร
แนวคิด : ผลงานชุดนี้เป็นความคิดฝันของศิลปินที่ต้องการสร้างประติมากรรมที่มีรูปร่างและโครงสร้างคล้ายวัตถุสมัยใหม่แต่มีชีวิตเคลื่อนไหวได้อยู่ในท้องทะเล ใช้สีระบายรูปทรงด้วยสีแดงเพื่อให้รู้สึกถึงความสุข ความเบิกบาน ทำลายความเงียบเหงาของชีวิตให้สลายไป

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : พลังจักรวาล
ศิลปิน : นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน
ชิ้นงาน : สเตนเลส ขนาด 5.50 x 5.50 เมตร สูง 6.0 เมตร
แนวคิด : สรรพสิ่งเคลื่อนไหวอยู่ในกระแสการเคลื่อนไหวของจักรวาลเป็นพลังงานเดียวกันกับการสืบเนื่องของสรรพชีวิต ก่อกำเนิด เติมโต และแตกสลายไปแล้วกลับเกิดใหม่เช่นนี้เรื่อยไปไม่รู้จบสิ้นเป็นนิรันดร์กาล

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : กอและ
ศิลปิน : มนตรี สังข์มุสิกานนท์
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 1.90 x 1.90 เมตร สูง 9.0 เมตร
แนวคิด : ข้าพเจ้าได้รับความบันดาลใจจาวิธีชีวิตของชาวประมง และรูปทรงของเรือกอและของภาคใต้ที่มีโครงสร้างโค้งงาม โดยสร้างรูปประติมากรรมจากโครงสร้างของเรือให้ประสานสัมพันธ์กันเปรียบดั่งวิถีชีวิตของชาวใต้ที่มีความแตกต่างกัน แต่อยู่ร่วมกันอย่างสันติทั้งเชื้อชาติและศาสนา โครงสร้างของประติมากรรมพุ่งโค้งทะยานขึ้นสู่เวลาเป็นสัญลักษณ์แห่งความมุ่งมั่นของมนุษย์ที่จะร่วมทุกข์ร่วมสุขเพื่อการก้าวไปสู่ความสมบูรณ์สูงสุดของชีวิต

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : จากพื้นดินสู่ท้องฟ้า
ศิลปิน : Bettino Fraccini & Diana Manni, Italy
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 4.00 x 6.00 เมตร สูง 7.00 เมตร
แนวคิด : เมื่อข้าพเจ้าเดินทางมาประเทศไทยได้เห็นต้นโกงกางซึ่งขึ้นอยู่ทั่วไปตามชายฝั่งทะเลของประเทศไทย ต้นไม้ชนิดนี้จะมีรากอยู่ภายนอกและแทงรากลงสู่พื้นดิน และมีลำต้นตั้งตรงขึ้น บนยอดจะมีใบสีเขียว ลักษณะทั่วไปของต้นโกงกางคือการเจริญเติมโตจากพื้นดินสู่ท้องฟ้า

ผลงานประติมากรรม “จากพื้นดินสู่ท้องฟ้า” จะมีโครงสร้างของรากปรากฏให้เห็นอยู่ภายนอก ในขณะที่ส่วนกลางทำด้วยเหล็กอ่อนพับม้วนขึ้นไป ส่วนบนเปิดและแตกตัวออก และจากปรัชญาของศาสนาพุทธซึ่งเป็นสานาประจำชาติของประเทศไทย หนึ่งในคำสอนของสาสนาก็คือ การปล่อยวาง การละทิ้งจาก “ทุกสิ่ง” ผลงานชิ้นนี้ต้องการสื่อถึงความจริงข้อนี้ แผ่นสเตนเลสม้วนจะสะท้อนถึงการเดินทางที่มีสินสุดของชีวิตและวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด รากที่หยั่งลึกลงสู่ดิน เปรียบเหมือนการยึดติดกับวัตถุ ส่วนการเปิดแผ่นเหล็กด้านบนเปรียบเหมือนการปล่อยวางจากทุกๆ สิ่ง เพื่อให้ชีวิตก้าวไปสู่ความสงบสุข

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
ศิลปิน : กมล ทัศนาญชลี
ชิ้นงาน : งานเชื่อม ขนาด 8.50 x 7.00 เมตร สูง 9.00 เมตร

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : ข้างขึ้นข้างแรม
ศิลปิน : วิชัย สิทธิรัตน์
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 1.40 x 1.12 เมตร สูง 5 เมตร
แนวคิด : พระจันทร์หรือดวงจันทร์โดยธรรมชาติเป็นดวงดาวดวงหนึ่งที่เป็นบริวารของโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบโลก ได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์เช่นเดียวกับโลกของเราในยามข้างขึ้น ดวงจันทร์มีแสงสว่างนุ่มนวลเย็นตา ด้วยแรงดึงดูดของดวงจันทร์ทำให้น้ำทะเลมีระดับสูงขึ้น และในยามข้างแรมน้ำทะเลก็จะลดระดับลง ดวงจันทร์จึงเป็นองค์ประกอบสำคัญเมื่ออยู่คู่กันกับทะเล ทำให้เกิดบรรยากาศแห่งความฝัน ความงาม ความสุขมาสู่จิตใจ

ในแง่ธรรมะ ยามใดที่จิตของเรามีความสุข เบิกบาน ก็เหมือนพระจันทร์ในเวลาข้างขึ้น ยามใดที่จิตใจเราเศร้าหมองจิตก็จะมืดมิดเหมือนคืนข้างแรม สภาวะเช่นนี้เกิดกับมนุษย์ทุกรูปทุกนาม แต่สำหรับผู้ฝึกจิตมาดีแล้วย่อมมีสติและสามารถเฝ้ามองสภาวะของจิตที่เปลี่ยนไปมาอย่างสงบ

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : มีดม้างฟ้า
ศิลปิน : ถวัลย์ ดัชนี, ศิลปินแห่งชาติ
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 2.10 x 2.60 เมตร สูง 9.00 เมตร
แนวคิด : พระเจ้าแผ่นดิน ศูนย์รวมแห่งเอกภาพของแผ่นฟ้า พื้นน้ำ ท้องทะเล ความดี ความงามอันวิจิตร ข้าพเจ้านำรูปลักษณ์ของกริช สัญลักษณ์แห่งกษัตริย์ อาวุธของเทวราชา เครื่องหมายของจิตวิญญาณ ภูมิมรดกแห่งสุวรรณภูมิ ร่วมสร้างสรรค์กับประชาชนเมืองสงขลา เพื่อเทิดไท้องค์ราชันย์

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : ท่วงทำนองแห่งมิตรภาพ
ศิลปิน : ชำเรือง วิเชียรเขตต์
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 6.50 x 6.50 เมตร สูง 5.15 เมตร
แนวคิด : ศิลปินแห่งชาติสาขาประติกรรม สร้างงานประติมากรรมในแนวนามธรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากรูปทรงยืนของมนุษย์ที่มีอยู่ 2 รูปทรง เป็นรูปทรงที่สัมพันธ์กัน เปรียบดั่งน้ำใจไมตรีแห่งมิตรภาพของมวลมนุษยชาติที่มีต่อกัน เป็นหลักของชีวิตที่มีความเป็นเพื่อน มีความห่วงใยต่อกันและกัน พร้อมที่จะก้าวต่อไปในหนทางข้างหน้าด้วยความมั่นคงสันติสุข และสันติภาพของโลก

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : เท่งชมดาว
ศิลปิน : เข็มรัตน์ กองสุข
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 10.0 x 10.0 เมตร สูง 7.8 เมตร
แนวคิด : เท่ง หรืออ้ายเท่ง หรือปู่เท่ง เป็นชื่อรูปตลกของหนังตะลุงซึ่งทุกคณะมักจะมีประจำโรงเป็นตัวตลกที่มีนิสัย ลีลาการพูด สำเนียงพูด เป็นลักษณะเดียวกัน เป็นเสนาคู่หูกับหนูนุ้ยในหนังตะลุง ประวัติความเป็นมาเชื่อกันว่ารูปของเท่งมีผู้ตัดเลียนรูปร่างลักษณะและถอดนิสัยมาจากบุคคลจริงซึ่งเป็นชาวบ้านตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ผลงานประติมากรรมชื่อ “เท่งชมดาว” ข้าพเจ้ามีความประสงค์ที่จะนำเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการดำรงอยู่ของวิถีชีวิตพื้นถิ่นทางภาคใต้ของประเทศไทย เพื่อสะท้อนถึงจิตวิญญาณ สังคมที่เรียบง่าย ความเชื่อและวัฒนธรรมดั้งเดิม ตลอดถึงความน่ารักมีเสน่ห์ ความหวังของมนุษย์ และจินตนาการอันไม่สิ้นสุด

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : พืชพรรณ : สัญลักษณ์แห่งชีวิต
ศิลปิน : วิโชค มุกดามณี
ชิ้นงาน : งานเชื่อม ขนาด 2.0 x 7.0 เมตร สูง 4 เมตร
แนวคิด : มนุษย์มีการดำรงชีวิตที่สัมพันธ์กับธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ท่ามกลางกระแสของความเจริญเติมโตในสังคมปัจจุบัน ทำให้เรารับรู้ถึงวิวัฒนาการของชีวิตและวัฒนธรรมอันหลากหลายที่ผสมผสานอยู่ด้วยกัน

ภาพประติมากรรมชิ้นนี้เสมือนดั่งเมล็ดพันธุ์พืช คล้ายดั่งต้นข้าวของชาวนาที่งอกงาม เติมโตในช่วงเวลาต่างๆ อยู่ 4 ลักษณะ ต้นกล้าที่งอกจาเมล็ดพันธุ์ในระยะแรกต้องคอยถนอมดูแลรักษา ต้นกล้าค่อยๆ เติมโต กล้าแข็งมีชีวิตขึ้นทีละน้อย เมื่อแตกใบเข้มแข็งขึ้น มีความงดงามของรูปร่าง มีจังหวะลีลานุ่มนวลดำรงอยู่สภาพแวดล้อมที่ผันแปรเปลี่ยนไปตามสภาวะ รูปทรงทั้ง 4 เป็นสัญลักษณ์ของชีวิตที่เกิดตามธรรมชาติ มีความรัก คามผูกพันอันอบอุ่น มีความสัมพันธ์ต่อกันและกัน มีความสำคัญของกำดำรงชีวิตที่มีความหมายและความหวัง เป็นชีวิตที่เจริญงอกงามรุ่งเรือง

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : สามหลักผสมเกลียวเป็นหนึ่งเดียวในบ่อยาง
ศิลปิน : สมหมาย มาอ่อน
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 3.60 x 5.40 เมตร สูง 3.60 เมตร
แนวคิด : ประติมากรรม สามหลักผสมเกลียวเป็นหนึ่งเดียวในบ่อยาง คือเอกภาพของ 3 กลุ่มชน ในการร่วมพลังสามัคคีสร้างเมืองสงขลา 3 กลุ่มชน อันได้แก่ ไทยพุทธ ไทยมุสลิม และชาวจีนที่อพยพเพื่อพึ่งพระบรมโพธิสมภารในอดีต โดยนำเลข 3 มารวมกันสร้างเป็นประติมากรรมเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 แสดงความภักดีและพลังสามัคคีของประชาชนแห่งเมืองสงขลา

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : The Origin
ศิลปิน : Miguel Hernandez Urban, Mexico
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 3.80 x 1.30 เมตร สูง 6.16 เมตร
แนวคิด : ข้าพเจ้าสร้างเมล็ดพันธุ์ของชีวิตที่บริสุทธิ์ให้ก่อนกำเนิดเริ่มต้นจากส่วนแกนกลางของรูประติมากรรมรายล้อมรูปทรงเล็กที่บริสุทธิ์ พืชมีรูปทรงโค้ง 3 วงซ้อนกันอย่างสมบูรณ์อยู่ 2 ด้าน ประติมากรรมที่รวมตัวเชื่อมโยงประสานกันทั้งหมด แสดงพลังของการปกป้อง ดูแลให้ชีวิตมีความสุข สงบ ร่มเย็น

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : พลังสำคัญกับการสร้างสรรค์เทคโนโลยี
ศิลปิน : Edgar Zuniga, Costa Rica
ชิ้นงาน : สแตนเลส 1.22 x 0.8 เมตร สูง 4.88 เมตร
แนวคิด : ผลงานประติมากรรมนี้สื่อถึงโลกสมัยใหม่ที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีและทำให้เกิดผลต่อการทำลายธรรมชาติ โดยเน้นการสร้างประติมากรรมให้มีโครงสร้างแบบรูปทรงเรขาคณิตเพื่อแสดงพลังของเทคโนโลยีพร้อมกับสภาพรูปทรงท่อสีแดงที่ต้องการแสดงสัญลักษณ์ของเส้นเลือดแดงของมนุษย์และสื่อถึงความผูกพันขอโลกกับรากเหง้าของมนุษย์ รูปทรงทั้งสองประเภทผูกพันเกี่ยวข้องกันเป็นความสัมพันธ์ของความมีชีวิตของมนุษย์กับเทคโนโลยีที่อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนให้สอดคล้องและกลมกลืนกับพลังของธรรมชาติ

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

ผลงานชื่อ : การเปิดรับ
ศิลปิน : Florence Hoffman, Luxembourg
ชิ้นงาน : สแตนเลส ขนาด 2.70 x 1.20 เมตร สูง 4.50 เมตร
แนวคิด : “การเปิดรับ” คือการผ่านจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง สถานที่ซึ่งได้รับการตบแต่งสวยงาม หรือโดยอีกนัยหนึ่งคือ ประตูนี้จะเปิดรับทุกๆ คนให้เห็นว่าอะไรอยู่ “ภายใน” เชื้อเชิญให้มาเยี่ยมเยือน เปรียบเหมือนจังหวัดสงขลาที่จัดโครงการสร้างสรรค์ประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อมนานาชาติ ซึ่งจะเปิดประตูให้ผู้คนได้เข้ามาท่องเที่ยวและเยี่ยมสถานที่ต่างๆ ในจังหวัดสงขลา

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

แอดการ์ เดอกา (ฝรั่งเศส: Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 – 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่า[1] นอกจากนั้นเดอกายังเป็นช่างเขียนแบบ (Draughtsman) ที่มีฝีมือดี ภาพที่เดอกาชอบวาดคือภาพนักเต้นบัลเลต์ ซึ่งเป็นมากกว่าครึ่งของงานเขียนทั้งหมดที่เดอกาทำ การวาดทำให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญของเดอกาในการวาดความเคลื่อนไหว เช่นเดียวกับภาพที่วาดเกี่ยวกับสนามม้าและผู้หญิงเปลือย ภาพเหมือนของเดอกาถือกันว่าเป็นภาพเขียนที่อยู่ในบรรดาภาพเขียนมีลักษณะดีที่สุดในประวัติศาสตร์ศิลปะ

เมี่อเริ่มอาชีพเดอกาต้องการจะเป็นจิตรกรประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นสาขาที่เขียนภาพจากเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์คลาสสิก ประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนา ตำนานเทพเจ้า และเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เพิ่งเกิดขึ้น เดอกาก็ได้เตรียมตัวโดยการศึกษามาทางนี้โดยเฉพาะ เมื่ออายุได้ราวสามสิบปีกว่า ๆ เดอกาก็เปลื่ยนใจแต่ก็ได้นำความรู้ทางจิตรกรรมประวัติศาสตร์มาผสมกับการวาดภาพร่วมสมัย ฉะนั้นเดอกาจึงถือว่าเป็นจิตรกรคลาสสิกที่วาดภาพสมัยใหม่[2]

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

หลังจากจบมหาวิทยาลัยแล้วโกลด์สเวิร์ทธีก็ย้ายไปอยู่ที่ยอร์คเชอร์, แลงคาสเชอร์ และต่อมาคัมเบรีย ในปี ค.ศ. 1985 โกลด์สเวิร์ทธีก็ย้ายไปอยู่ที่แลงโฮล์มที่ ดัมฟรีส์และกาลโลเวย์ในดัมฟรีส์เชอร์ในสกอตแลนด์ และปีต่อมาที่เพนพอนท์ กล่าวกันว่าการย้ายไปทางเหนือขึ้นเรื่อยๆ อาจจะมีสาเหตมาจาก “วิถีชีวิตที่ไม่อยู่ในความควบคุมของ[โกลด์สเวิร์ทธี]” แต่ก็เป็นเหตุผลบางส่วนที่ประกอบกับความต้องการที่จะไปทำงานในบริเวณที่เหมาะกับ “สถานะทางเศรษฐกิจ”[5]

ในปี ค.ศ. 1993 โกลด์สเวิร์ทธีก็ได้รับปริญญาเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด ในปัจจุบันโกลด์สเวิร์ทธีเป็นศาสตราจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์[6]

ในปี ค.ศ. 2001 ทอมัส รีเดิลส์ไฮเมอร์กำกับภาพยนตร์เกี่ยวกับชีวิต, ปรัชญาการสร้างงานศิลปะ และ งานศิลปะโดยโกลด์สเวิร์ทธี ชื่อ “Rivers and Tides”[7]

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

The Little Mermaid, Denmark 
รูปปั้นทองสัมฤทธิ์รูปนางเงือกในโคเปนเฮเกนประเทศเดนมาร์ก รูปปั้นนี้สร้างขึ้นโดยศิลปินชาวเดนมาร์กชื่อ เอ็ดวาร์ด อีริกเซน ตามคำสั่งจ้างของคาร์ล จาค็อบเซน บุตรชายของผู้ก่อตั้งบริษัทเบียร์คาร์ลสเบิร์ก ในปี ค.ศ. 1909 ซึ่งมีความประทับใจในบัลเลต์เรื่อง เงือกน้อยผจญภัย (หรือที่เรารู้จักกันดีในนามของ The Little Mermaid นั่นเอง) จากนิทานของฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน โดยอีริกเซนนำแบบใบหน้ามาจากนักเต้นบัลเลต์ชื่อ เอลเลน ไพรซ์ ส่วนร่างกายที่เป็นหญิงเปลือยนำแบบมาจากภรรยาของตัวเขาเอง รูปปั้นนางเงือกนี้กลายเป็นจุดท่องเที่ยวของโคเปนเฮเกนมาตั้งแต่ปี 1913 แต่ความสำคัญของรูปปั้นไม่ได้เป็นแค่เพียงจุดท่องเที่ยวเท่านั้น แต่มันยังเป็นเป้าหมายของนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่มักจะมาลักลอบทำลายรูปปั้นจนต้องมีการปรับปรุงอยู่บ่อยครั้ง และปัจจุบันก็มีการสร้างแบบจำลองขึ้นแทน ส่วนของจริงนั้นถูกเก็บไว้ภายใต้การครอบครองโดยทายาทของเอ็ดวาร์ด อีริกเซน

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

คำ กล่าว ใน ข้อ ใด ไม่มี ความ จำเป็น ต้อง กล่าวถึง ในการบรรยายผลงาน ทัศน ศิลป์ ด้าน ประติมากรรม

เกาะ Delos เป็นหนึ่งในสิ่งที่สำคัญมากที่สุดของตำนานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีในกรีซ Delos มีตำแหน่งเป็นวิหารศักดิ์สิทธิ์สำหรับสหัสวรรษก่อนตำนานเทพเจ้ากรีก ที่นี่เป็นบ้านเกิดของเทพอพอลโลและเทพอาร์ทิมิส Terrace of the Lions เปรียบเหมือนของที่ผู้คนจาก Naxos (นานก่อนที่ 600 BC) อุทิศหรือถวายให้แก่เทพอพอลโล แต่เดิมมันมีราว 9-12 ตัว แต่ปัจจุบันเหลือเพียง 5 ตัว และต้นฉบับของจริงนั้นถูกย้ายไปยัง Delos Museum ในปี 1999