คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

ละครในพบครั้งแรกในหนังสือบุณโณวาทคำฉันท์ พรรณาว่าแสดงเรื่องอิเหนา ตอนลักบุษบาหนีเข้าถ้ำ แสดงว่าละครในแสดงแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีแสดงในงานสมโภชพระพุทธบาท
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงฟื้นฟูการละครครั้งใหญ่ ดังได้กล่าวมาแล้วในเรื่องประวัติของการละครห้าสมัย ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครใน เพื่อเป็นต้นฉบับสำหรับพระนครขึ้นทั้ง ๔ เรื่องอย่างสมบูรณ์ แต่แบบฉบับการฟ้อนรำไม่ได้เคร่งครัด พึ่งจะมาพิถีพิถันในเรื่องท่ารำและแบบแผน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จนเรียกว่า เป็น “ยุคทองของละครใน”
คำว่า “ละครใน” สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงมีพระราชดำรัสว่า คงจะมาจากคำว่า “นางใน” ละครข้างใน ซึ่งใช้เรียกกันในชั้นแรก แต่ต่อมาเรียกให้สั้นเข้าจนเหลือแต่ “ละครใน” เมื่อละครในเกิดขึ้นและใช้ผู้หญิงในวังเป็นผู้แสดง ละครที่ผู้ชายแสดงอยู่ภายนอกพระราชวังเดิมจึงเรียกกันว่า “ละครนอก” เป็นคำคู่กัน
แบบแผนการเล่นละครในกับละครนอกต่างกันมากกล่าวคือ ละครในมุ่งการร่ายรำที่ประณีตงดงามและเพลงที่ขับร้องไพเราะเป็นสำคัญ และมักจะมีบทพรรณาความงดงาม ความวิจิตรพิสดารของสิ่งต่างๆ ในขณะที่ละครนอกไม่สนใจในสิ่งเหล่านี้ มุ่งแต่ความรวดเร็วในการดำเนินเรื่อง และการเล่นตลกคะนองให้เป็นที่สนุกสนาน ทำความบันเทิงให้แก่ผู้ชมละครได้มากที่สุด กระบวนการฟ้อนรำและท่วงทำนองเพลงดนตรีของละครใน จะมีลีลาที่เชื่องช้าและนุ่มนวลกว่าของละครนอกมาก ตัวละครไม่ได้ร้องบทเอง อาจเป็นเพราะเห็นว่าการรำอย่างละครในต้องใช้ความประณีตอ่อนช้อย เหน็ดเหนื่อยมากพออยู่แล้ว ถ้าผู้แสดงจะต้องร้องเพลงด้วยก็จะแสดงศิลปะในการรำได้ไม่เต็มที่

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

การแสดง ละครใน
ที่มาภาพ : http://www.baanjomyut.com/library_2/inside_the_theater/index.html

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

เนื่องจากผู้แสดงเป็นนางในซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีกิริยามารยาทงดงาม เพราะฉะนั้น ละครในจึงมีความมุ่งหมายอยู่ที่ศิลปะของการร่ายรำต้องให้แช่มช้อย มีสง่า ไม่นิยมแสดงตลก ขบขัน โลดโผน ทั้งยังต้องรักษาแบบแผนจารีตประเพณี เพราะเหตุนี้ ผู้ประพันธ์ละครในจึงต้องพิถีพิถันในการใช้ถ้อยคำให้สละสลวย ระมัดระวังที่จะไม่ให้มีคำตลาดเข้ามาปน
ผู้แสดงละครในนั้นต้องตีบทให้แตก คำว่า ตีบท เป็นภาษานาฏศิลป์ หมายถึง การรำบท การรำบทก็คือการแสดงท่าทางแทนคำพูด เรียกว่า “ภาษาท่า"
ในเรื่องแบบแผนของละครใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเห็นว่าละครในเป็นการนำเอาแบบแผนของการแสดง ๓ อย่างมาผสมกัน กล่าวคือ ได้เรื่องที่เล่นมาจากโขน ได้กระบวนการเล่นและชื่อเรียกว่า “ละคร” มาจากละครผู้ชายที่เล่นกันอยู่เดิมและนำเอาวิธีร้อง วิธีรำ มาจากระบำ ละครในจึงไม่ให้ตัวละครร้องบทเองอย่างละครนอก

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

โดยปกติใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้า นิยมตีด้วยไม้นวม เพื่อให้มีกระแสเสียงที่นุ่มนวล เพลงร้องและหน้าพาทย์ที่ใช้ประกอบการร่ายรำจากบทละครที่ปรากฏเป็นหลักฐาน ใช้เพลงร้องไม่มากนักโดยจะดำเนินเรื่องด้วย “เพลงร่ายใน” เป็นหลักใหญ่ การใช้เพลงร้องทำนองต่างๆ ปรากฏมากขึ้นในระยะที่มีละครดึกดำบรรพ์เกิดขึ้นแล้ว และเป็นแบบแผนสืบมาถึงปัจจุบัน

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

มักนิยมแสดงเพียง ๓ เรื่อง คือ อุณรุท รามเกียรติ์ และอิเหนา

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

พิถีพิถันตามแบบแผนกษัตริย์จริงๆ เรียกว่า ยืนเครื่องทั้งตัวพระและตัวนาง (แต่งเลียนแบบเครื่องต้นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์) 

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

ในระยะแรกการแสดงละครในจะแสดงภายในพระราชฐานเท่านั้น ในสมัยต่อมาโอกาสที่แสดงละครใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวว่า “การเล่นละครในไม่เล่นรับงานหาเหมือนละครนอก เพราะละครในมักเป็นละครผู้มีบรรดาศักดิ์ ฝึกหัดไว้สำหรับประดับเกียรติยศเป็นแต่แสดงดูกันเอง หรือแสดงในการบำเพ็ญกุศล” ระยะหลังไม่จำกัดสถานที่แสดง

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

การแสดง ละครใน


คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

http://oknation.nationtv.tv/blog/assada999/2009/11/20/entry-2
http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing-arts/238-stage/68--m-s

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

สวัสดีเพื่อนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคน หลังจากผ่านมรสุมความยากของบทเรียนเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิงกันไปแล้ว ก็ถึงเวลาที่เราต้องมาทำข้อสอบวัดระดับความเข้าใจกันสักหน่อย สูดหายใจลึก ๆ แล้วไปทำพร้อมกันเลย

เพื่อน ๆ สามารถดูวิดีโอการสอนเรื่องอิเหนาแบบจัดเต็มได้ที่แอปพลิเคชัน StartDee ดาวน์โหลดที่แบนเนอร์ด้านล่างได้เลย

คำ ขึ้น ต้น ของ ละคร ใน ข้อ ใด กล่าว ได้ ถูก ต้อง

1. จุดประสงค์ในการแต่งเรื่องอิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง  คืออะไร
  1.   เพื่อใช้สำหรับแสดงละครนอก
  2.   เพื่อใช้สำหรับแสดงละครใน
  3.   เพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมทางภาษา
  4.   เพื่อให้ความรู้กับประชาชนในการสู้รบ
  5.   เพื่อเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่  ๒

ตอบ  2. เพื่อใช้สำหรับแสดงละครใน เพราะใช้ในการแสดงในวัง และผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน

 

2. ลักษณะคำประพันธ์ในเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง  คือข้อใด

  1. กลอนนิทาน
  2. กลอนสุภาพ
  3. กลอนเสภา
  4. กลอนบทละคร
  5. กลอนดอกสร้อย

ตอบ  4. กลอนบทละคร  เพราะใช้สำหรับการแสดงละครใน  ขึ้นวรรคแรกด้วยคำว่า  เมื่อนั้น บัดนั้น   มาจะกล่าวบทไป

 

3. ตัวละครตัวใดไม่ได้อยู่ในราชวงศ์อสัญแดหวา

  1.   ท้าวกุเรปัน
  2.   ท้าวดาหา
  3.   ท้าวกะหมังกุหนิง
  4.   อิเหนา
  5.   บุษบา

ตอบ  3. ท้าวกะหมังกุหนิง เพราะเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์กะหมังกุหนิง

 

     “...แต่การศึกครั้งนี้ไม่ควรเป็น       เกิดเข็ญเพราะลูกอัปลักษณ์

  จะมีคู่ผู้ชายก็ไม่รัก                     จึงหักให้สาสมใจ...”

4. บทร้อยกรองนี้ผู้กล่าวมีความประสงค์ใด
  1. ระบายความน้อยใจ
  2. อ้อนวอนขอความเห็นใจ
  3. ตัดพ้อต่อว่าให้เห็นว่าแค้นใจ
  4. ประชดประชันด้วยความเจ็บปวด
  5. เยาะเย้ยอีกฝ่ายให้เจ็บใจ

ตอบ  4. ประชดประชันด้วยความเจ็บปวด เป็นคำพูดของท้าวดาหาที่ประชดอิเหนาที่ไม่มาแต่งงานกับบุษบา

 

5. ข้อใดเป็นทรรศนะเกี่ยวกับผู้หญิงที่ไม่ได้สะท้อนจากเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

  1. ผู้หญิงงามเป็นชนวนของสงคราม
  2. ผู้หญิงที่แย่งสามีผู้อื่นเป็นที่น่ารังเกียจ
  3. ผู้หญิงที่แต่งงานแล้วเป็นสมบัติของสามี
  4. ผู้หญิงที่เป็นม่ายขันหมากย่อมได้รับความอับอาย
  5. ผู้หญิงที่ดีต้องเชื่อฟังคำสั่งของพ่อแม่

ตอบ  3. ผู้หญิงที่แต่งงานแล้วเป็นสมบัติของสามี ไม่ปรากฏในตอนดังกล่าว

 

6. เหตุใดบทละครเรื่อง อิเหนา จึงได้รับการ ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดแห่งกลอนบทละครรำ

  1. ใช้ภาษาสละสลวย เสริมจินตนาการ
  2. แฝงคุณค่าด้านคุณธรรมและจริยธรรม
  3. เนื้อหาสอดคล้องกับการแสดงนาฏศิลป์
  4. การดำเนินเรื่องดีเด่น
  5. ถูกทุกข้อ

ตอบ  5. ถูกทุกข้อ ด้วยเหตุผลหลายข้อประกอบกัน

 

7. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับละครใน

  1. ผู้แสดงล้วนเป็นผู้หญิง
  2. ผู้แสดงมีทั้งนางใน และชาวบ้าน
  3. ผู้แสดงเป็นชายและหญิงที่อยู่ในพระราชวัง
  4. เป็นการแสดงที่ให้ประชาชนเข้ามาชมภายในพระราชวัง
  5. เป็นละครที่แสดงในวงจำกัดเท่านั้น

ตอบ  1. ผู้แสดงล้วนเป็นผู้หญิง  เป็นนิยามที่สำคัญของละครใน

 

8. “...ถึงว่ากษัตริย์ทั้งสี่กรุง       จะมาช่วยรบพุ่งเป็นศึกใหญ่...” 

ข้อใดไม่ตรงความหมายกับคำที่พิมพ์ ตัวหนา

  1. ดาหา           
  2. มะเดหวี
  3. กาหลัง        
  4. สิงหัดส่าหรี
  5. กุเรปัน

ตอบ  2. มะเดวี เป็นชื่อตำแหน่งตามลำดับ มเหสีลำดับที่ 2 ของกษัตริย์ชวา

นอกจากข้อสอบเรื่องอิเหนาแล้ว StartDee ยังมีข้อสอบภาษาไทยอีกเยอะในบล็อกของเรา อย่างเช่น ข้อสอบภาษาไทย เรื่อง การใช้คำราชาศัพท์ นอกจากนั้น เพื่อน ๆ ยังอ่านวรรณคดีเรื่องอื่น ๆ ได้อีกนะ คลิกเลือกที่ลิสต์ด้านล่างได้เลย