ยื่นภาษีแล้ว แต่ยังไม่ได้จ่าย ภพ 30

ภาษีขาย (บาท)1,000ภาษีซื้อ1,750ภาษีที่ต้องชำระ0ภาษีที่ชำระไว้เกิน(750)เงินเพิ่ม มาตรา 89/1ไม่มีเบี้ยปรับ มาตรา 89(2)ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด

2.1   แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ

  แบบ ภ.พ. 30ความถูกต้องผลต่าง ภาษีขาย (บาท)1,0001,600600<— ขายขาดภาษีซื้อ 750400(350)<— ซื้อเกินภาษีที่ต้องชำระ2501,200950<— คลาดเคลื่อนภาษีชำระไว้เกินยกมา(70)(70)0 ภาษีต้องชำระสุทธิ1801,130950 เงินเพิ่มมาตรา 89/1 950 X 1.5% ต่อเดือนเบี้ยปรับมาตรา 89(2) 950 X 2 เท่า มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ถือเป็นบทลงโทษเกี่ยวกับภาษีอากรอย่างหนึ่ง และอาจมีโทษทางอาญาด้วย แล้วแต่ความผิดว่าเป็นเรื่องร้ายแรงขั้นไหน โดยหากบุคคลใดยื่นแบบฯ ภายในกำหนดแต่ชำระภาษีไม่ครบถ้วน หรือยื่นแบบฯ ล่าช้า ละเลย หรือหลีกเลี่ยงการยื่นแบบฯ จะต้องเสียเงินเพิ่มและเบี้ยปรับตามกฎหมายกำหนด และหากฝ่าฝืนไม่ยอมชำระ ก็ต้องรับโทษทางอาญาด้วย ซึ่งมีบทลงโทษ ดังนี้

  1. กรณีไม่ชำระภาษีภายในกำหนดเวลา จะต้องเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน (เศษของเดือนให้นับเป็น 1 เดือน) ของเงินภาษีที่ต้องชำระนับแต่วันพ้นกำหนดเวลาการยื่นรายการจนถึงวันชำระภาษี     
  2. กรณีเจ้าพนักงานตรวจสอบออกหมายเรียก และปรากฏว่ามิได้ยื่นแบบแสดงรายการไว้หรือยื่นแบบแสดงรายการไว้แต่ชำระภาษีขาดหรือต่ำไป นอกจากจะต้องรับผิดชำระเงินเพิ่มแล้ว ยังจะต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับอีก 1 เท่าหรือ 2 เท่าของภาษีที่ต้องชำระแล้วแต่กรณี เงินเบี้ยปรับดังกล่าวอาจลดหรืองดได้ตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี     
  3. กรณีไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับทางอาญาไม่เกิน 2,000 บาท      
  4. กรณีจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือแสดงหลักฐานเท็จหรือฉ้อโกง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
  5. กรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ

ยื่น ภ.พ.30 ออนไลน์ ล่าช้าได้กี่วัน

ถ้ายื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) เกินกำหนดเวลา ยื่นแบบล่าช้าไม่เกิน 7 วัน ค่าปรับ 300 บาท ยื่นแบบล่าช้าเกิน 7 วัน ค่าปรับ 500 บาท

ถ้ายื่นภาษีไม่ทัน ทําอย่างไร

หากท่านมิได้ชำระเงินภาษีภายในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี ถือว่ามิได้ยื่นแบบ ท่านต้องไปยื่นแบบ ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา และชำระเงินภาษี พร้อมเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระ รวมทั้งค่าปรับตามข้อ 1.

เบี้ยปรับเงินเพิ่ม ภพ.30 คิดยังไง

การคิดเบี้ยปรับ เงินเพิ่มในการยื่น ภ.พ. 30 เงินเพิ่มคิดจาก ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน) กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 50, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 51 คิดจากยอดภาษีที่ต้องชำระ x 20% ค่าปรับแบบ ภาษีขาย x (อัตรา %)

ภาษีขายยื่นช้าได้กี่เดือน

🌟หลายท่านอาจจะรู้ว่าใบกำกับภาษี เราสามารถนำมาใช้หักกับภาษีขายได้ไม่เกิน 6 เดือน นับตั้งแต่เดือนถัดจากเดือนที่ออกใบกำกับภาษี มาติดตามกันว่าเราต้องนับอย่างไรกันนะคะ 🟠ข้อควรระวังภาษีซื้อที่ไม่ได้นำมาหักในเดือนภาษีจะต้องมีสาเหตุดังต่อไปนี้ ◾️เหตุจำเป็นซึ่งเกิดขึ้นตามประเพณีทางการค้า