ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

โครงสร้างสาระวิทย์ป.6 from supphawan

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
วิเคราะห์หลักสูตร ปีการศึกษา 2563

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
วิเคราะห์หลักสูตร ปีการศึกษา 2564

1.กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ

2.กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

3.กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

4.กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

5.กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6.กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

7.กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

8.กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่างประเทศ

9.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

การศึกษาทดลอง สำรวจตรวจสอบ เพื่อตอบคำถามใดคำถามหนึ่ง ที่เด็กปฐมวัยสนใจ มีการสรุป และสะท้อนผลโดยใช้ระยะเวลาในการสำรวจตรวจสอบหลายวัน หรือหลายสัปดาห์

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้เด็กมีโอกาสได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจ

2. เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งขึ้นต่อยอดจากการทดลองในห้องเรียน

3. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

4. เพื่อส่งเสริมความสามารถพื้นฐาน ด้านการเรียนรู้ ภาษา สังคม และการเคลื่อนไหวของเด็กปฐมวัย

ลักษณะของโครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย

โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยเป็นการศึกษาค้นคว้า สำรวจตรวจสอบ ทดลอง เพื่อให้ได้คำตอบ ในเรื่องที่เด็กสนใจ หรือเป็นเรื่องที่ต่อยอดจากการทดลองในกิจกรรมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อย ประเทศไทย หัวข้อการศึกษาค้นคว้า อาจบูรณาการข้ามสาระการเรียนรู้หลายสาระ ซึ่งควรเน้นที่สาระวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือเทคโนโลยีเป็นหลัก โดยใช้ระยะเวลาในการสำรวจตรวจสอบในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อาจเป็นหลายวัน หลายสัปดาห์ หรือหลายเดือน กระบวนการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้จากโครงงานควร เริ่มจากง่ายไปสู่ความซับซ้อน จากการเล่นและทำกิจกรรมง่ายๆ โดยครูอาจแสดงความคิดเห็นร่วมกันกับเด็ก หรือให้เด็กแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน หรืออาจเชื่อมโยงเรื่องที่จะสอนให้สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก และนำวามรู้นั้นมาต่อยอดหรือนำมาสู่การทำโครงงานระหว่างทำโครงงาน ครูควรมีบทบาทกระตุ้นให้เด็กคิดไตร่ตรอง ทบทวน เกี่ยวกับความคิดของตัวเอง ที่มีต่อหัวข้อโครงงานนั้น และแลกเปลี่ยนความคิดกับเด็ก ซึ่งเด็ก จะเกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี และตอบสนองต่อการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ได้ดี จากการที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติ สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า ประดิษฐ์ และคิดวางแผนปัญหาด้วยตนเอง การศึกษาโครงงานที่วางแผนระยะยาว จะเปิดโอกาสให้เด็กเข้าใจหัวข้อนั้นอย่างลึกซึ้ง เข้าใจความสัมพันธ์และได้รับความรู้ที่เด็ก ๆ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในอนาคตได้ประสบความสำเร็จ

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

หัวข้อโครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย ควรมีลักษณะ ดังนี้

1. เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก ซึ่งเด็กสามารถสังเกตได้เอง

2. เป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจและเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ส่วนใหญ่ของเด็กในกลุ่ม

3. เป็นเรื่องที่ไม่ซับซ้อนหรือง่ายจนเกินไป และเด็กสามารถค้นคว้า สำรวจตรวจสอบ เพื่อหาคำตอบได้ด้วยตนเอง

4. มีความเหมาะสมกับวัยของเด็ก และทรัพยากร หรืออุปกรณ์ที่มีอยู่

5. กระบวนการทำโครงงานมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสร้างชิ้นงาน การวาดรูป ฯลฯ

6. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมด้วย

7. มีความเหมาะสมกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น ๆ

แนวคิดโครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย มีแนวคิดที่เชื่อมโยงเน้นการเรียนรู้เนื้อหาและทักษะทางวิทยาศาสตร์ (Science ) คณิตศาสตร์ (Mathematics) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และเทคโนโลยี(Technology) ซึ่งใช้คำย่อ STEM วิชาเหล่านี้ซึ่งล้วนเป็นวิชาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพในโลกศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความเป็นโลกาภิวัฒน์ตั้งอยู่บนพื้นฐานความรู้ และ เต็มไปด้วยเทคโนโลยี อีกทั้งวิชาทั้งสี่เป็นวิชาที่มีความสำคัญอย่างมากกับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงของประเทศการเรียนการสอนแบบประสานรวมกันของวิชาทั้งสี่ใน STEM รวมทั้งการบูรณาการกับสาขาอื่น เช่น สุขภาพ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ฯลฯ จำเป็นต้องให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ได้ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปราย และสื่อสารเพื่อนำเสนอผลงาน ให้เด็กได้รับประสบการณ์ จากกิจกรรมที่หลากหลาย

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย

1. ชื่อ/หัวข้อโครงงาน

- การตั้งชื่อเรื่อง เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา เมื่ออ่านชื่อเรื่องแล้วสามารถบอกได้ว่า เรื่องนั้นมีวิธีการศึกษาอย่างไร

- ชื่อเรื่องควรเป็นชื่อที่น่าสนใจ

- การตั้งชื่อเรื่องให้กะทัดรัด ได้ใจความสมบูรณ์ สื่อความหมายตรง เข้าใจง่าย

2. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน

3. ชื่อครูที่ปรึกษา

4. ระยะเวลา แสดงถึงระยะเวลาในการหาคำตอบที่เด็กสงสัย อาจใช้เวลาหลายวัน หลายสัปดาห์ หรือหลายเดือน ขึ้นอยู่กับเรื่องที่ศึกษา

5. ที่มา

- เกิดจากความสนใจ ข้อสงสัยของเด็กจากการจัดกิจกรรมประสบการณ์การเรียนรู้ เหตุการณ์ หรือสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน โดยเด็กและครูร่วมกันวางแผน การเลือกโครงงานควรเป็นไปตาม ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ ความสงสัยและความต้องการของเด็ก เพื่อจะตอบปัญหาที่เกิดขึ้นจาก กิจกรรมการเรียนรู้ เด็กอยากรู้อยากเห็นและต้องการคำตอบด้วยตนเอง

- มาจากการต่อยอดกิจกรรมในกล่องบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

6. วัตถุประสงค์

- ตอบข้อสงสัยในเรื่องที่ศึกษา

7. ขั้นตอนการทำโครงงาน

- การจัดทำโครงงาน ประกอบด้วยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 8 ทักษะ (การสังเกตการวัด การคำนวณ การจำแนกประเภท การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับเวลา การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูล และการพยากรณ์หรือการทำนาย)

- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แสดงถึงการปฏิบัติจริงของเด็ก และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง (มีภาพประกอบขณะเด็กทำแต่ละขั้นตอน)

8. ผลการทำโครงงานของเด็ก หรือร่องรอยจากการศึกษาหาคำตอบข้อสงสัยของเด็ก

- ภาพการทำกิจกรรมของเด็ก

- ภาพความสำเร็จของงาน เช่น บันทึกคำพูด ภาพวาด ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ ตารางข้อมูล แผนภาพ แผนภูมิแบบบันทึกกิจกรรม แบบบันทึกการสังเกต ภาพถ่ายกิจกรรม ฯลฯ

9. สรุปผลที่เกิดจากผู้เรียน

- สรุปสิ่งที่เด็กได้จากการเรียนรู้ (ตอบข้อสงสัยในเรื่องที่ศึกษา)

- เด็กมีการพัฒนาความสามารถพื้นฐานด้านใดบ้างเพิ่มขึ้น (ความสามารถพื้นฐานด้านการเรียนรู้ภาษา สังคม การเคลื่อนไหว) และแสดงถึงพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน

- เด็กเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านใดบ้าง และจิตวิทยาศาสตร์อย่างไรบ้าง

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

แนวทางการประเมินโครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

1. ลักษณะโครงงาน: เป็นการศึกษา สำรวจ ทดลอง ตรวจสอบเพื่อตอบคำถามที่เด็กสนใจมีการสรุป สะท้อนผล โดยใช้เวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ที่เหมาะสมกับกิจกรรม

2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน: สอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา

3. ที่มาของโครงงาน: ริเริ่มจากความสนใจ ข้อสงสัยของเด็ก

4. การส่งเสริมความสามารถพื้นฐานด้านต่าง ๆ ได้แก่ การเรียนรู้ ภาษา สังคม และการเคลื่อนไหว

5. ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย 8 ทักษะ ได้แก่ การสังเกตการวัด การคำนวณ การจำแนกประเภท การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับเวลา การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูล และการพยากรณ์หรือการทำนาย(ควรมีอย่างน้อย 4 ทักษะ)

6. หลักฐานการทำกิจกรรมของโครงงาน: เป็นผลงานของเด็กที่แสดงถึงความสามารถในการบันทึก สรุป (แบบบันทึก ชิ้นงาน) และรูปถ่ายขณะเด็กทำกิจกรรม

7. การสรุปผล: มีการสรุปผลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงงานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานการเรียนรู้ของเด็ก

8. มีแบบรายงานสรุปกิจกรรมสอดคล้องกับสมุดบันทึกผล (Logbook) จำนวน 20 กิจกรรม

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method)

วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method) ปัจจุบันวิธีการหาความรู้ความจริงที่สังคมในวงกว้างให้การยอมรับว่าเป็นวิธีการหาความรู้ที่มีความน่าเชื่อถือคือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ชาร์ลดาร์วิน(Charles Darwin ) นำวิธีอนุมานของอริสโตเติลและวิธีอุปมานของเบคอนมารวมกันเพราะเห็นว่าทั้งสองวิธีจะมีประโยชน์อย่างมากในการที่จะค้นความความรู้ความจริงและตรวจสอบความถูกต้องความรู้ความจริงนั้นเมื่อรวมทั้งสองวิธีเรียกว่าวิธีการอนุมาน-อุปมาน (Deductive-Inductive Method) เป็น 5 ขั้น

1. ขั้นปัญหา (Problem) เป็นขั้นตอนที่เราจะสังเกตพบปัญหาในความต้องการความรู้ความจริงหนึ่งว่ามีเหตุการณ์หรือสภาพการณ์เป็นอย่างไรมีเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทาให้เกิดเหตุการณ์หรือสภาพการณ์นั้น

2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) ในขั้นตอนนี้เราจะต้องศึกษาและทบทวนความรู้ที่มีอยู่เดิมมาประกอบการพิจารณาว่าคาตอบของปัญหาในขั้นที่ 1 นั้นจะเป็นอย่างไรซึ่งเรียกว่าการตั้งสมมติฐานซึ่งจะเป็นแนวในการตรวจสอบว่าสมมติฐานที่ตั้งขึ้นนี้จะเป็นจริงหรือไม่

3. ขั้นรวบรวมข้อมูล (Gathering Data) ในขั้นนี้เราจะทำการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาอย่างเพียงพอและตรงกับสิ่งที่ต้องการศึกษา

4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) ในขั้นนี้จะเป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์เพื่อมาหาลักษณะร่วมหรือสอดคล้องกันของข้อมูลเหล่านั้นและพิจารณาว่าข้อมูลเหล่านี้มีกี่ลักษณะและแตกต่างอย่างไรเป็นต้น

5. ขั้นสรุป (Conclusion) ในขั้นตอนนี้เป็นการนำผลการวิเคราะห์มาแปลผลและตีความผลที่ได้เพื่อนำสู่การสรุปผล

ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6
ตาราง วิเคราะห์หลักสูตร วิทยาศาสตร์ ป. 6

จิตวิทยาศาสตร์(Scientific mind / Scientific attitudes)

จิตวิทยาศาสตร์เป็นคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์จิตวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยคุณลักษณะต่างๆได้แก่ความสนใจใฝ่รู้ความมุ่งมั่นอดทนรอบคอบความรับผิดชอบความซื่อสัตย์ประหยัดการร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นความมีเหตุผลการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ ได้แก่

        1. การตั้งสมมติฐาน

        2. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ

        3. การกำหนดและการควบคุมตัวแปร

        4. การออกแบบและดำเนินการทดลอง

        5. การตีความหมายของข้อมูลและการลงข้อสรุป

ทั้งนี้ในระดับปฐมวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 8 ทักษะ ได้แก่  การสังเกต การวัด การจำแนก การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับเวลา การคำนวณ การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูล และการพยากรณ์  //