อํา นา จ หน้าที่ของ โรงเรียน ตาม กฎกระทรวง

บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน


1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
    1) พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545
    2) พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา 38 (กรรมการสถานศึกษา) มาตรา 39 (อำนาจหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา)
    3) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2547 (ออกตาม ม.34 วรรคสี่ ของ พรบ.บริหารศธ.)
    4) กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา (ออกตาม ม.39 วรรคสอง พรบ.กศ แห่งชาติ 2542)
    5) ระเบียบ ศธ.ว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2546 (ออกตาม ม.35 พรบ.บริหาร ศธ.)
    6) กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์วิธีการสรรหากรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2546
    7) ระเบียบ กฎหมายอื่น ๆ

2. บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาตามเจตนารมณ์ของ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ
    1) จัดทำนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาด้านวิชาการ บุคคล งบประมาณ บริหารทั่วไป
    2) จัดตั้ง/รับผิดชอบการใช้จ่ายงบประมาณ
    3) พัฒนาหลักสูตร /จัดการเรียนการสอน
    4) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ แนวปฏิบัติ
    5) กำกับ ติดตามประเมินผลตามแผนงานโครงการ
    6) ระดมทรัพยากร ปกครอง ดูแลบำรุงรักษาทรัพย์สินฯ
    7) จัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
    8) ส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชน สร้างความสัมพันธ์

บทบาทหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน


1. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ
    1) จัดรูปแบบการศึกษา ม.15
    2) จัดกระบวนการศึกษา ม. 24-30
    3) บริหารจัดการศึกษา 4 ด้าน ม. 39
    4) เป็นคณะกรรมการสถานศึกษา ม. 40
    5) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ม. 48-50
    6) ปกครองดูแลบำรุงรักษาทรัพย์สินฯ ม. 59
    7) พัฒนาบุคลากร นักเรียนด้านเทคโนโลยีฯ ม. 65-66

2. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ.การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
    1) ผ่อนผันการส่งเด็กเข้าเรียน ม.6
    2) เป็นเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่
    3) จัดการศึกษาเด็กบกพร่อง พิการ ด้อยโอกาสในรูปแบบเหมาะสม ม.12
    4) ดำเนินการอื่นๆ ตามกฎหมายกำหนด

3. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ.ระเบียบบริหาร ศธ. 2546 (ม.39)
    1) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการครู และ บุคลากรในสถานศึกษา
    2) บริหารกิจการสถานศึกษา
    3) ประสานระดมทรัพยากร
    4) เป็นผู้แทนสถานศึกษา
    5) จัดทำรายงานประจำปีต่อ กก.เขตพื้นที่
    6) อนุมัติประกาศนียบัตร วุฒิบัตร
    7) อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาทุกระดับมอบหมาย
    8) ตามที่ได้รับการกระจาย มอบอำนาจ(ปฏิบัติราชการแทน) ม.44-45
        - ปลัดศธ. เลขาฯ ถึง ผอ.สถานศึกษา
        - ผอ.สำนักฯในกรม ถึง ผอ.สถานศึกษา
        - ผอ.สพท. ถึง ผอ.สถานศึกษา

4. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตามกฎ ศธ. แบ่งส่วนราชการในสถานศึกษา 2546
    1) วิเคราะห์ จัดทำนโยบาย แผนสถานศึกษา
    2) วางระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ
    3) เสนอขอจัดตั้งเงินอุดหนุนทั่วไป
    4) แต่งตั้งอนุกรรมการ คณะทำงานต่าง ๆ

5. อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตาม พรบ.รบ.ครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
    1) ควบคุมดูแลการบริหารงานบุคคล ม.27(1)
    2) พิจารณาความดีความชอบ ม.27(2)
    3) ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาบุคลากร ม.27(3)
    4) จัดทำมาตรฐานภาระงานครู ม.27(4)
    5) ประเมินผลการปฏิบัติงานครู ม.27(5)
    6) ปฏิบัติหน้าที่ตาม อ.ก.ค.ศ. กก.รร.มอบหมาย ม.27(6)
    7) สั่งให้ครูฯออกจากราชการกรณีขาดคุณสมบัติ ม.49
    8) สั่งบรรจุแต่งตั้งครูผู้ช่วย ครู บุคลากร ม.53(4)
    9) สั่งครูที่ทดลองปฏิบัติราชการออก ม.56 วรรคสอง
   10) สั่งให้ครูพ้นทดลองทำงานต่อไป ม.56 วรรคสอง
   11) สั่งครูที่ออกไปแล้วกลับเข้ามาตาม มติ อ.ก.ค.ศ ม.64
   12) สั่งให้ครูรักษาการในตำแหน่ง (ตำแหน่งว่าง) ม.68
   13) สั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการครู ม.73
   14) ยกย่องเชิดชูเกียรติครูดีเด่น ม.75
   15) แจ้งภาระงาน เกณฑ์ประเมินผลงาน มาตรฐานวิชาชีพจรรยาบรรณวิชาชีพ ระเบียบแบบแผนฯ ม.78
   16) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ม.79
   17) ส่งเสริมสนับสนุนให้ไปศึกษาดูงาน ม.81
   18) รักษาวินัยอย่างเคร่งครัด ม.82
   19) เสริมสร้างพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ม.95 98
   20) อนุญาต ยับยั้งอนุญาตลาออก ม.108
   21) สั่งแต่งตั้งกก.สอบสวนกรณีกล่าวหาไม่เลื่อมใสปกครองฯ ม.110 (4)
   22) สั่งให้ครูออกจากราชการ ในกรณีต่างๆ เช่น เจ็บป่วย ยุบตำแหน่ง ไร้ประสิทธิภาพ จำคุก

�����Է�ҹԾ��� ��þѲ���к���èѴ��á�ü�Ե��ç�ҹö䶹�
A DEVELOPMENT OF PRODUCTION MANAGEMENT SYSTEM IN POWER TILLER INDUSTRY ���͹��Ե �ҭ�ز� �����Ҫѹ��
Chanwoot Asawarachan �����Ҩ�������֡�� �� �� �ѹ��� �Ԩ��ǹԪ
Asso Prof Vanchai Rijiravanich Ph D ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. ���ǡ�����ʵ�� (���ǡ����ص��ˡ��)
Master. Engineering (Industrial Engineering) �շ�診����֡�� 2544 ���Ѵ���(��) �Է�ҹԾ��쩺Ѻ����繡���֡�һѭ����оѲ���к���èѴ��á�ü�Ե��ç�ҹö䶹ҵ�����ҧ ������������Է���Ҿ���Ŵ�����٭���´�ҹ��ü�Ե �ҡ����֡�Ҿ������Ҿ�ѭ�ҷ���Ӥѭ ���� �ѭ�Ҵ�ҹ��èѴͧ��� ��ҹ����ҧἹ��ü�Ե ��ҹ��äǺ�����ü�Ե ��ҹ��äǺ����Թ��Ҥ���ѧ ��д�ҹ�к��͡��� �ҡ�ѭ�Ҵѧ����Ƿҧ����Ԩ�����ʹ��Ƿҧ㹡�û�Ѻ��ا �¡�èѴ��÷ҧ��ҹ��ҧ� �ѧ��� 1. ��èѴ�ٻͧ��� ���� ��èѴ�ٻͧ������� ��èѴ�ӤӺ������ѡɳЧҹ�����ӹǹ�˵ء�ó�������ͧ�ѡ�������Ѻ���Чҹ�դ��Ŵŧ 36.15% 2. ����͡Ẻ�к��͡��� ���� ����͡Ẻ�к��͡�����зҧ�Թ�͡��÷�����кǹ����ҧἹ��ü�Ե��С�û���ҹ�ҹ�բ�� 3. ����ҧἹ��ü�Ե ���� ��þ�ҡó��ʹ��� ��������٭�����͡��㹡�â���դ��Ŵŧ�ҡ 5,280,000 �ҷ ����� 1,440,000 �ҷ ���ͤԴ���ѵ��Ŵŧ 72.72% 4. ��äǺ�����ü�Ե ���� ��������觼�Ե�����§ҹ�� ��û����Թ�ŧҹ��������ҳ�Թ���������ٻ����ѧ����ҡ�Թ���������դ��Ŵŧ�ҡ 2,938 ˹��� �����1,496 ˹��� ���ͤԴ���ѵ��Ŵŧ 49.08% 5. ��äǺ����Թ��Ҥ���ѧ ���� ����ҧἹ�����觫��� �����ӹǹ�˵ء�ó����ѵ�شԺ�Ҵ�ŹŴŧ�ҡ 32 ���� �� 12 ���� ��������� 4 ��͹ ���ͤԴ���ѵ��Ŵŧ 62.50% ���Ѵ���(English) This thesis studies ploblems and developments of productionmanagement system in power tiller industry to increase efficiency andreduce loss in production process. It was found from the study that themain problems were due to the problem of organization, production planningand controlling, inventory control and documentation systems. Solutionswere proposed to improve the productivity by using the management system asfollows : 1. Organization chart was reorganized. Job description was revisedand implemented. Machine idle time was reduced by 36.15 %. 2. After the redesign of documentation system, a new documentationflow was implemented. The coordinating and planning processes are improved. 3. Production plan applying sale forecasting was used. Salesopportunity loss was reduced from 5,280,000 baht to 1,440,000 baht whichwas 72.72 %. 4. Controlling system using job assignment forms and reports togetherwith work evaluation were implemented. The quantity of finished productinventory was reduced from 2,938 units to 1,496 units which was 49.08 %. 5. Inventory control system was developed to help purchasingplanning. The number of raw material shortages during a period of 4 monthswere reduced from 32 to 12 times which was a reduction of 62.50 %. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 370 P. ISBN 974-03-0769-8 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ DEVELOPMENT, PRODUCTION, MANAGEMENT, POWER, TILLER �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ