สรุปการแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี

         ��кǹ��÷�����㹡����ѭ���� 4 ��鹵͹ �ѧ�����
         1)  ��÷Ӥ������㨻ѭ��
              - �Ӥ������㨶��¤ӵ�ҧ � 㹻ѭ��
              - �¡�������͡�����觷���ͧ����Ҥ������
              - ������������͹䢡�˹���������ú�ҧ ��§�ͷ����Ҥӵͺ���������
         2) ����ҧἹ㹡����ѭ�� ���� 2 �óդ��
              2.1  �ջ��ʺ��ó�㹡����ѭ����ѡɳй�� � �ҡ�͹
                    - �Ԩ�ó���觷���ͧ�����
                    - ���͡�ѭ����ҷ�����ѡɳФ���¤�֧�Ѻ�ѭ�ҷ����� ��������Ƿҧ
                    - ��Ѻ��ا�Ƿҧ㹡����ѭ���������ʹ���ͧ��������Ѻ�ѭ������
                    - �ҧἹ��ѭ��
              2.2  ����ջ��ʺ��ó�㹡����ѭ���ѡɳй���ҡ�͹
                    - �Ԩ�ó���觷���ͧ�����
                    - ���Ըա������������������ѹ�������ҧ��觷���ͧ����ҡѺ�����ŷ��������
                    - �Ԩ�óҴ���� ��������ѹ��������ö�Ҥӵͺ��������� ���������ͧ�Ң������������ �����Ҥ�������ѹ����ٻẺ���
                    - �ҧἹ��ѭ��
               2.3  ���Թ�����ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ��� ������ҧἹ�������ǡ���Թ�����ѭ�� ���Ἱ����ҧ��� �����ҧ��ô��Թ���
�������Ƿҧ��蹷��ա��� ������ö���һ�Ѻ����¹��
               2.4  ��Ǩ�ͺ�����ѭ�� ��������Ըա����ѭ������ ���繵�ͧ��Ǩ�ͺ��� �Ըա�÷���������Ѿ����١��ͧ�������         

      (3) ���Թ�����ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ��� 
          ��������ա���ҧἹ���ǡ���Թ�����ѭ�� �����ҧ��ô��Թ�����ѭ�� �Ҩ���������Ƿҧ���ա��ҷ��Դ��������ö ��Ѻ����¹��

      (4)  ��õ�Ǩ�ͺ  �繢�鹵͹�ش���·����繵�ͧ�ա�õ�Ǩ�ͺ���Ѿ����� ����Թ��� ��ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ���١��ͧ������� ��кǹ�����ѭ�� ����ö��ػ�͡����Ἱ�Ҿ�ѧ���

              

สรุปการแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี

         �ٻ��� 1 �ʴ���кǹ�����ѭ��

การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน จะทำให้มีการตัดสินใจได้อย่างดีขึ้น มีการมองปัญหาอย่างเป็นระบบขึ้น และมีหลักการในการแก้ไขปัญหาได้ดีกว่าเดิม ซึ่งแต่เดิมอาจจะแก้ไขปัญหาแบบไม่มีหลักการ ไม่มีการวิเคราะห์ปัญหา แยกแยะและทำความเข้าใจปัญหา ไม่มีการรวบรวมข้อมูลมาให้มากที่สุด ไม่มีการหาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาไว้หลายๆทาง ไม่มีการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่มีวิธีการที่ดีที่สุด ไม่มีการวางแผนเป็นขั้นเป็นตอนในการนำวิธีการไปใช้ และไม่มีการประเมินผล ติดตามความคืบหน้าอย่างใกล้ชิด โดยปกติมนุษย์มีกระบวนในการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ

สรุปการแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี

1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร กล่าวโดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ดังนี้

การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา

การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ

การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก

2. การวางแผนในการแก้ปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1 แล้วเราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา เริ่มจากการเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่องมือกับเงื่อนไขต่าง ๆ ของปัญหา การออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทำงาน เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ เช่น ผังงาน (Flowchart) ที่จำลองวิธีขั้นตอนการแก้ปัญหาในรูปแบบสัญลักษณ์ รหัสจำลอง (Pseudo Code) ซึ่งเป็นการจำลองขั้นตอนวิธีการปัญหาในรูปแบบคำบรรยาย

3. การดำเนินการแก้ปัญหา ลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้

4. การตรวจสอบและปรับปรุง ตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา และปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด


ตัวอย่างต่อไปนี้จะพิจารณาการแก้ปัญหาแนวทางของการแก้ปัญหา แต่จะเน้นที่ขั้นตอนการทำความเข้าใจและการวางแผนซึ่งเป็นขั้นตอนที่สำคัญ

การหาค่ามากที่สุดของจำนวนสามจำนวนที่กำหนดให้

การแก้ปัญหามีขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

           ข้อมูลเข้า จำนวนสามจำนวน ได้แก่ a, b และ c

           ข้อมูลออกหรือสิ่งที่ต้องการ ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุดของเลขสามจำนวน

วิธีตรวจสอบความถูกต้อง ดำเนินการหาตัวเลขที่มากที่สุดด้วยตนเอง โดยกำหนดชุดตัวเลข 3 จำนวน เช่น 8, 7 และ 12 ในกรณีนี้ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุด คือ 12

ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการแก้ปัญหา

2.1 เปรียบเทียบ a และ b เพื่อหาค่ามากกว่าระหว่างสองจำนวน

2.2 นำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับ c เพื่อหาค่าที่มากกว่า

2.3 ค่าที่มากที่สุดคือ ผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนที่ 2.1

ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการแก้ปัญหา

ดำเนินการทดสอบตามขั้นตอนที่วางแผนไว้กับชุดตัวเลขที่กำหนด โดยสมมติ a, b และ c เป็น 8, 7 และ 12

3.1 เปรียบเทียบเพื่อหาค่าที่มากกว่าระหว่าง 8 และ 7 พบว่า 8 เป็นค่าที่มากกว่า

3.2 เปรียบเทียบเพื่อหาค่ามากกว่าระหว่าง 8 และ 12 พบว่า 12 เป็นค่าที่มากกว่า

3.3 ค่าที่มากที่สุดของ 8, 7 และ 12 คือ 12

ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง

          เมื่อพิจารณาคำตอบที่ได้คือ 12 กับค่าที่เหลือซึ่งได้แก่ 8 และ 7 พบว่า 12 มีค่ามากกว่าค่าที่เหลือทั้งคู่ คำตอบนี้จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้องตามข้อกำหนดของสิ่งที่ต้องการ

          แนวคิดข้างต้นใช้งานได้เนื่องจากว่าหากพิจารณาจำนวนสามจำนวนใด ๆ เมื่อ a > b และ b > c แล้ว a > c ด้วย

          จากตัวอย่างแม้ว่าเราจะไม่ได้นำค่า 12 มาเปรียบเทียบกับ 7 โดยตรง แต่เราได้นำมาเปรียบเทียบกับ 8 ซึ่ง 8 ถูกตรวจสอบมาก่อนหน้านี้แล้วว่ามากกว่า 7 เพราะฉะนั้น 12 จึงมากกว่า 7 ด้วย






อ้างอิง

นางสาวสุภตรา นามสกุล สะทู, “ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ” จากเว็บไซต์ https://gibjoy2927.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2563

นางสาววริณศิญา พงษ์เกษ, “การแก้ปัญหา” จากเว็บไซต์ http://krupicnic.patum.ac.th/kha-xthibay-raywicha/kar-kae-payha สืบค้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2563