Single valued Attribute คือ

Single valued Attribute คือ
 
Single valued Attribute คือ
 &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="782" align="center" valign="top" bgcolor="#FFFFFF"&gt;&lt;p class="po" style="font-size:12px;color:#FFF"&gt;ห&lt;/p&gt; &lt;p class="po"&gt;ขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล&lt;/p&gt; &lt;table width="500" border="0" align="left" cellpadding="0" cellspacing="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="54"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/graphicloads-100-flat-2-arrow-next-3.ico" alt="" width="35" height="35"&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="446" class="iu" style="font-size:28px"&gt;&lt;table width="500" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tbody&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;การออกแบบฐานข้อมูลโดยใช้โมเดลแบบE-R&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/tbody&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;table width="700" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td valign="top" class="iu"&gt;&lt;p&gt;ในการเขียน E-R Diagram จะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของ E-R ดังต่อไปนี้&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;– Entity&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; entity แทนที่ สิ่ง ซึ่งอาจจะเป็นทั้งคน วัตถุ สิ่งของ หรือสิ่งซึ่งเป็นนามธรรมจับต้องไม่ได้ ใช้แทนที่สิ่งในโลกความเป็นจริงแต่ละ entity แทนที่ด้วยชื่อของ entity ในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;– Attribute&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; attributes ใช้แสดงถึงคุณสมบัติของ entity เช่น ชื่อ นามสกุล &amp;nbsp;เลขประจำตัว &amp;nbsp;ที่อยู่ ฯลฯ แทนที่ด้วยชื่อของ attribute ในรูปวงรี&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;a target="_blank" href="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg"&gt;&lt;img data-attachment-id="461" data-permalink="https://msit5.wordpress.com/2013/09/17/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%81%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%94%e0%b9%89%e0%b8%a7%e0%b8%a2-e-r-diagram-entity-relation/e-r1/" data-orig-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg" data-orig-size="541,389" data-comments-opened="1" data-image-meta="{'aperture':'0','credit':'','camera':'','caption':'','created_timestamp':'0','copyright':'','focal_length':'0','iso':'0','shutter_speed':'0','title':''}" data-image-title="e-r1" data-image-description="" data-medium-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg?w=541&amp;h=389" data-large-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg?w=541" alt="e-r1" src="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg?w=541&amp;h=389" width="541" height="389" srcset="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg 541w, https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg?w=150&amp;h=108 150w, https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r1.jpg?w=300&amp;h=216 300w" sizes="(max-width: 541px) 100vw, 541px"&gt;&lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;br&gt; จากภาพข้างบนแสดงถึง entity ที่ชื่อ Customer ซึ่งจะแสดงชื่อ entity อยู่ในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า&lt;br&gt; ส่วน attribute จะแสดงชื่อ attribute อยู่ในรูปวงรี ซึ่งเชื่อมโยงกับ entity ด้วยเส้นตรงที่ลากเชื่อมระหว่าง entity และ attribute&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Key attribute&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; คือ attribute ที่ถูกกำหนดให้เป็น key ของ entity โดยแทนที่ด้วย attribute ที่ถูกขีดเส้นใต้ จากในภาพ account Id ถูกขีดเส้นใต้เพื่อแสดงว่า attribute นี้ถูกใช้เป็น key ของ entity Customer&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Multi-valued attribute&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; คือ attribute ที่มีค่าบรรจุอยู่มากกว่าหนึ่งค่า โดยแทนที่ด้วยวงกลมรูปไข่ซ้อนกันสองวง จากในภาพ attribute ที่ชื่อ otherUsers เป็น multi-valued attribute หมายถึง Customer สามารถมีผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่ใช้บัญชีของ Customer ได้ (ผู้ใช้คนอื่นอาจจะเป็นญาติกับ Customer เช่น ลูก, ภรรยา, น้อง)&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Derived attribute&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; คือ attribute ที่ค่าของมันได้มาจากการคำนวณของ attribute อื่น โดยแทนที่ด้วยวงกลมรูปไข่ที่เป็นเส้นประ &amp;nbsp;จากในภาพ attribute ที่ชื่อ numberRentals หรือจำนวนที่เช่าซึ่งได้มาจากการรวมจำนวนสินค้าที่เช่าทั้งหมดเข้าด้วยกัน&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Composite attribute&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; คือ attribute ที่สามารถแยกออกเป็น attribute ย่อย ๆ ได้หลาย attribute แทนที่โดยชื่อ attribute ใน วงกลมรูปไข่ที่มีเส้นตรงลากไปเชื่อมโยงกับ attribute หลัก จากในภาพ attribute ที่ชื่อ address สามารถแยกออกเป็น attribute ย่อยที่ชื่อ street, city, state, zipcode &amp;nbsp;ได้อีก&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Relationship Types&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง entity โดยแทนที่ด้วยรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ดังในภาพข้างล่าง Store &amp;nbsp;Owns (เป็นเจ้าของ) &amp;nbsp;Video (ในกรณีที่อ่านจากซ้ายไปขวา) หรือ Video IsOwnedBy (ถูกเป็นเจ้าของโดย) Store (ในกรณีที่อ่านจากขวาไปซ้าย) &amp;nbsp;พึงสังเกตุว่าชื่อของ relationship types จะต้องเป็นคำกริยาเสมอ &amp;nbsp;และความสัมพันธ์สามารถมี attribute ของตัวเองได้ เช่นในภาพ ความสัมพันธ์ Owns มี attribute คือ purchase Date และ cost&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;a target="_blank" href="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg"&gt;&lt;img data-attachment-id="462" data-permalink="https://msit5.wordpress.com/2013/09/17/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%81%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%94%e0%b9%89%e0%b8%a7%e0%b8%a2-e-r-diagram-entity-relation/e-r2/" data-orig-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg" data-orig-size="542,259" data-comments-opened="1" data-image-meta="{'aperture':'0','credit':'','camera':'','caption':'','created_timestamp':'0','copyright':'','focal_length':'0','iso':'0','shutter_speed':'0','title':''}" data-image-title="e-r2" data-image-description="" data-medium-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg?w=542&amp;h=259" data-large-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg?w=542" alt="e-r2" src="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg?w=542&amp;h=259" width="542" height="259" srcset="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg 542w, https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg?w=150&amp;h=72 150w, https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r2.jpg?w=300&amp;h=143 300w" sizes="(max-width: 542px) 100vw, 542px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Cardinality Constraints&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; ใช้แสดงถึงข้อกำหนดของความสัมพันธ์ระหว่าง entity &amp;nbsp;แบ่งออกเป็นสองแบบคือ&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Cardinality ratio&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; ใช้แสดงถึงอัตราส่วนของความสัมพันธ์ แทนที่ด้วยตัวเลข 1, M และ N&lt;br&gt; 1 :&amp;nbsp; 1 &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp;แทนความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง&lt;br&gt; 1 :&amp;nbsp; N &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp;แทนความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหลาย&lt;br&gt; M : N &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp;แทนความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลาย&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;Participation&lt;/strong&gt;&lt;br&gt; ใช้แสดงการมีส่วนร่วมในความสัมพันธ์ของสมาชิกใน entity แทนที่ด้วยเส้นตรงหรือเส้นคู่&lt;br&gt; total &amp;nbsp;(เส้นคู่) &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; ทุก ๆ สมาชิกที่อยู่ใน entity จะต้องอยู่ในความสัมพันธ์ทั้งหมด&lt;br&gt; partial &amp;nbsp;(เส้นเดี่ยว) &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp;บางส่วนของสมาชิกที่อยู่ใน entity เท่านั้นที่อยู่ในความสัมพันธ์&lt;/p&gt; &lt;p&gt;จากภาพข้างล่าง Store มีความสัมพันธ์ Owns กับ Video &amp;nbsp;โดยหนึ่ง Store สามารถเป็นเจ้าของ Video ได้จำนวนหลาย ๆ Video &amp;nbsp; แต่ว่าแต่ละ Video สามารถถูกเป็นเจ้าของได้โดย Store เพียงหนึ่ง Store เท่านั้น และแต่ละ Store อาจจะมี Video อยู่ในร้านหรือไม่มีก็ได้ (เส้นเดี่ยว) &amp;nbsp;ในขณะที่ Video ทุก ๆ ม้วนจะต้องถูกเป็นเจ้าของโดยร้านค้าหนึ่งร้านเสมอ (เส้นคู่)&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;a target="_blank" href="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg"&gt;&lt;img data-attachment-id="463" data-permalink="https://msit5.wordpress.com/2013/09/17/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%81%e0%b9%81%e0%b8%9a%e0%b8%9a%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%94%e0%b9%89%e0%b8%a7%e0%b8%a2-e-r-diagram-entity-relation/e-r3/" data-orig-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg" data-orig-size="551,234" data-comments-opened="1" data-image-meta="{'aperture':'0','credit':'','camera':'','caption':'','created_timestamp':'0','copyright':'','focal_length':'0','iso':'0','shutter_speed':'0','title':''}" data-image-title="e-r3" data-image-description="" data-medium-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg?w=551&amp;h=234" data-large-file="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg?w=551" alt="e-r3" src="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg?w=551&amp;h=234" width="551" height="234" srcset="https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg 551w, https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg?w=150&amp;h=64 150w, https://msit5.files.wordpress.com/2013/09/e-r3.jpg?w=300&amp;h=127 300w" sizes="(max-width: 551px) 100vw, 551px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt; &lt;/p&gt; &lt;div class="iu"&gt;&lt;/div&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;table width="500" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="134"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://202.29.239.50/temp/2560/class/3-5.php"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/back-icon1.png" width="86" height="102"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="138" align="right"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://202.29.239.50/temp/2560/class/3.php"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/Line3.gif" width="352" height="90"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="228" align="right"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://202.29.239.50/temp/2560/class/3-7.php"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/next.png" width="80" height="101"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="200" valign="top" bgcolor="#BDE7E7"&gt;&lt;table width="201" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="201"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/m5.png" width="200" height="250"&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/m6.png" width="200" height="250"&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;iframe marginwidth="0" marginheight="0" src="http://www.pttplc.com/th/GetOilPrice.aspx" frameborder="0" width="173" scrolling="no" height="305"&gt;&lt;/iframe&gt;&amp;nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&amp;nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;map name="Map" id="Map"&gt; &lt;area shape="rect" coords="4,3,225,40" href="1.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="6,41,212,72" href="2.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,75,208,145" href="3.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,148,172,180" href="4..php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="8,181,198,221" href="5.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,223,193,283" href="6.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="8,284,196,322" href="7.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,323,198,387" href="8.php"&gt; &lt;/map&gt; &lt;/body&gt; &lt;/html&gt;</td></tr></table></td></tr></table></body></html>

Multiple value attribute คืออะไร

3) Multivalued Attribute คือ Attribute ที่ให้ค่ามากกว่า 1 ค่า สำหรับ Entity1 Entity เช่น ชื่อบุตร เป็น Multivalued Attribute เนื่องจากมีบุตรได้หลายคน โดยจะใช้สัญลักษณ์ วงรี 2 วงซ้อนกัน

Derived Attribute คืออะไร

Derived attribute คือ คุณสมบัติของ Entity ที่เป็นค่าข้อมูลที่สามารถ ได้มาจากข้อมูลอื่น เช่น รายได้รวมของ salesman ได้จากการรวมเงินเดือน และค่านายหน้า (commission) ที่ได้จากยอดขายที่ทำได้ในแต่ละเดือน เป็นต้น

Entity และ Attribute คืออะไร

Attribute คือ คุณสมบัติหรือลักษณะของ Entity เป็น การแสดงรายละเอียด ท าให้ทราบว่า Entity เก็บข้อมูล อะไรบ้าง สัญลักษณ์ของ Attribute จะใช้รูปวงรีระบุชื่อ ของ Attribute โดยมีเส้นตรงเชื่อมต่อออกมาจาก Entity ตัวอย่าง Database(5)

แอททริบิวต์ (Attribute) มีความหมายตามข้อใด

แอททริบิวต์(Attribute) หมายถึง ข้อมูลที่แสดงถึงคุณสมบัติของเอนทิตี เช่น เอนทิตีสินค้า ประกอบด้วยแอททริบิวต์ รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคาสินค้า และสินค้าคงเหลือ เอนทิตีลูกค้าประกอบด้วยแอททริบิวต์ รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า และที่อยู่ เอนทิตีใบสั่งซื้อประกอบด้วยแอททริบิวต์ รหัสใบสั่งซื้อ รหัสสินค้า รหัสลูกค้า และจำนวน