ตัวอย่างการสรุปรายงานการศึกษาดูงาน doc

รายงานสรปุ ผลการศึกษาดงู าน

โครงการศึกษาดงู านนอกสถานที หลักสตู รการศึกษามหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา วทิ ยาลัยการศึกษา

มหาวทิ ยาลัยพะเยา

โรงเรยี นหวั หนิ วทิ ยาลัย อําเภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์
จดั ทําโดย นสิ ติ ปรญิ ญาโท สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา
วทิ ยาลัยการศึกษา มหาวทิ ยาลัยพะเยา

คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงานเพื่อเสริมสร้าง
แล ะ ก า รแ ล ก เ ป ลี่ย น ป ร ะ สบ ก า ร ณ์ อัน จ ะ ก่ อ ให้ เ กิ ด อ งค์ ค ว า ม รู้ใ ห ม่ ต่ อ กา ร เ รี ย นแ ล ะ ก า ร
ประยกุ ต์ใช้ในการบริหารการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของนิสิต เปน็ การเปิด
โลกทัศน์ในสังคมและวัฒนธรรม และภาษาที่แตกต่างกันเพื่อนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้
จากการศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษาและการเรียน
การสอนในหน่วยงานของนิสิตให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด โดยมีขอบข่ายการศึกษาดูงานในพื้นที่
อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มโี รงเรียนเป้าหมายในการศกึ ษาดูงานจานวน 2 โรงเรียน
ได้แก่ โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย และโรงเรียนหัวหิน ทั้งนี้การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทาให้นิสิต
ได้รับความรู้ ประสบการณ์จากการศึกษาบริบทของโรงเรียนท้ัง 2 โรงเรียนที่มีสังกัดแตกต่าง
กัน คือเป็นโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทาให้เห็นการจัดการศึกษา และ
การดาเนินการตามสภาพจริงของโรงเรียน

รายงานฉบบั นีป้ ระกอบด้วยโครงการโครงการศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ หลกั สูตรการศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บริบท และภาพรวมของโรงเรียน แบบประเมิน
ความพึงพอใจ และอภิปรายผลของแบบประเมิน ข้อเสนอแนะรวมถึงประโยชน์ที่ได้รับจาก
การศกึ ษาดูงานในคร้ังน้ี

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานสรุปผลการศึกษาดูงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์
อย่างยิ่งสาหรับการศกึ มาดูงานคร้ังต่อไป หากผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ณ ที่น้ีด้วย

คณะผู้จัดทา

สารบัญ

บทท่ี หน้า

คำนำ ข
1
สำรบัญ
8
บทที่ 1 โครงกำร ศกึ ษำดูงำนนอกสถำนที่ หลกั สตู รกำรศกึ ษำมหำบณั ฑิต 27
33
สำขำวิชำกำรบริหำรกำรศกึ ษำ 37
40
บทที่ 2 บริบท และภำพรวมของโรงเรียน 41
42
บทที่ 3 วิธีกำรประเมนิ 43

บทที่ 4 กำรวิเครำะหข์ ้อมูล 47

บทที่ 5 สรุปผลกำรศกึ ษำดูงำน 51
54
เอกสำรอ้ำงอิง

คณะผู้จดั ทำ

ภำคผนวก หนงั สือขอควำมอนเุ ครำะหเ์ ข้ำศกึ ษำดงู ำนโรงเรียนหวั หินวิทยำลัย

คำสัง่ แต่งตงั้ คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรจดั กิจกรรมศกึ ษำดงู ำนนอก

สถำนที่

ประกำศคำส่ังแต่งต้ังคณะกรรมกำรดำเนินกำรจัดกิจกรรมศึกษำดู

งำนนอกสถำนที่

แบบประเมินควำมพึงพอใจ

รปู ภำพ

1

บทที่ 1
โครงการศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี หลักสูตรการศกึ ษามหาบัณฑิต

สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา

โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวทิ ยาลยั พะเยา
หนว่ ยงาน วทิ ยาลัยการศกึ ษา

1. รหัสโครงการ.........-......... ช่อื โครงการ ศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี หลกั สตู รการศึกษามหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

2. ความสอดคล้องกบั เปา้ หมายหลัก (UP Model) (อา้ งอิงแบบ บผ.1)

 Comprehensive University  Community Engagement

 International Publication  Partially World Class  AEC

3. ความสอดคล้องกบั แผนกลยทุ ธ์

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ/์ แนวปฏิบตั ขิ องหนว่ ยงาน

 ด้านการเรียนการสอนและพัฒนา กลยทุ ธ์ที่ ………1..……แนวปฏบิ ตั ทิ ี.่ ...........

นสิ ิต 2...........................

 ด้านการวจิ ยั กลยุทธ์ที่ …………………แนวปฏบิ ัตทิ ี่
.......................................

 ด้านบริการวิชาการ กลยทุ ธ์ที่ …………………แนวปฏบิ ัตทิ ี่
.......................................

 ด้านทานบุ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม กลยทุ ธ์ที่ …………………แนวปฏบิ ตั ทิ ี่
.......................................

 ด้านการบริหาร กลยทุ ธ์ที่ …………………แนวปฏบิ ัตทิ ี่
.......................................

 ด้านพลังงานและสง่ิ แวดล้อม กลยุทธ์ที่ …………………แนวปฏบิ ัตทิ ี่
.......................................

 ด้านการให้บริการสขุ ภาพ กลยทุ ธ์ที่ …………………แนวปฏบิ ัตทิ ี่
.......................................

4. ผู้รบั ผิดชอบ วทิ ยาลัยการศึกษา
6.1 หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ
6.2 ผู้รับผิดชอบ ดร.ธารารัตน์ มาลยั เถาว์ โทร......089-1469458
6.3 ผู้ประสานงาน
นายอนพุ นธ์ คาหลา้ โทร.....086-2178687

2

5. หลักการและเหตผุ ล
การจัดการศึกษาและการเรียนการสอนในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปมากในแต่ละสังคมหรือแต่ละ

ระดับของการจัดการศึกษา ทั้งการพัฒนาในรูปแบบของการบริหาร การจัดการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงใน
ปัจจุบันซึ่งเป็นยุคแห่งสังคมข้อมูลสารสนเทศ (The Information Age) หรือที่เรียกกันตามสมัยนิยมว่า “ยุค
โลกาภิวัตน์ (The Globalization)” น้ันได้ส่งผลต่อรูปแบบกระบวนการจัดการศึกษาเป็นอย่างมาก และคง
จะต้องมีการพัฒนาปรับระบบหรือรูปแบบกระบวนการต่อไปอย่างไม่หยุดย้ังเพ่ือให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมทางสงั คม เศรษฐกิจและข้อมูลข่าวสารที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและต่อเน่อื งนั่นเอง ซึ่ง
ตัวแปรสาคญั ทส่ี ่งผลกระทบตอ่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคอื ความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี
ทีม่ ีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูงในบริบทของสังคมโลกในปัจจบุ ัน

ดังน้ันจึงเป็นสิ่งจาเป็นที่บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาทุก ๆ ฝ่ายโดยเฉพาะผู้บริหาร นัก
การศึกษา ครอู าจารยร์ วมทั้งตัวผู้เรียนเองจะต้องมีทกั ษะ ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในบทบาทหนา้ ที่
ซึ่งคงจะต้องปรับเปลี่ยนไปให้ก้าวทันกับสภาพการณ์ทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลในภาพรวมต่อการจัดการศึกษาและการเรียน
การสอนในอนาคต

และปัจจุบันประเทศต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้านอันเน่ืองมาจากความ
เจรญิ ก้าวหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยใี นยคุ โลกาภิวัตนส์ ่งผลกระทบโดยตรงตอ่ วิถีการดารงชวี ติ ของคนทวั่ ไป ให้
เกิดการแข่งขนั เพ่ือความอยรู่ อดของตนเองและประเทศต่างมีอตั ราสูงขึน้ ทุกขณะความสาคญั ของการพัฒนา
ประเทศจึงมไิ ด้ข้ึนอยกู่ ับระบบทุนหรือทรัพยากรอีกต่อไป แตข่ ึ้นอยกู่ ับศักยภาพและคณุ ภาพของคนในสังคม
ทีเ่ ป็นพลังสาคัญเพ่ือพัฒนาประเทศตอ่ ไปในอนาคต การศกึ ษาในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งเป็นการการจัดการ
เรียนรู้ในระดับสูง จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองเพ่ิมขึ้น นอกเหนือจากที่มีอยู่
ในหลักสูตร โดยเฉพาะการศึกษาจากประสบการณ์จริงจากการไปทัศนศึกษา ดูงานในสถานศึกษาต่าง ๆ
เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้จากทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ การศึกษาในระดับมหาบัณฑิตศึกษาเป็นการศึกษาที่สาคัญ
และเป็นกาลังที่มีประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาของประเทศ เพ่ือให้นักศึกษาได้นาเอาสิ่งที่ได้พบเห็นมา
นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาการศกึ ษา ในหน่วยงานของตนให้เจรญิ ก้าวหนา้ ต่อไป

มหาวทิ ยาลัยพะเยา ได้เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรบริหารการศกึ ษามหาบณั ฑิต โดยเน้ือหา
หลักสูตรจัดการเรียนการสอนในด้านการบริหารการศกึ ษามคี วามจาเปน็ ตอ้ งศกึ ษาในด้านทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ
เพ่ีอให้นิสิตได้เรียนรู้ทักษะด้านวิชาการและทักษะด้านอ่ืน ๆ ท้ังน้ี วิทยาลัยการศึกษา ได้ให้ความสาคัญต่อ
การศึกษาดูงาน เพ่ือส่งเสริมให้นิสิตปริญญาโทสาขาวิชาการบริหารการศึกษาได้มีวิสัยทัศน์ เพ่ิมพูน
ประสบการณ์ และได้เรียนรู้ถึงแนวคิดและวิธีการปฏิบัติงานที่แตกต่างจากเดิม เป็นการส่งเสริมให้นิสิตมี
ความรู้และประสบการณ์นอกหอ้ งเรียน สามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับวิชาชพี ของนสิ ิตในอนาคต

6. วตั ถปุ ระสงค์
6.1 เพอ่ื เสริมสร้างและการแลกเปลีย่ นประสบการณ์อันจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ต่อการเรียน

และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบริหารการศึกษา
6.2 เพอ่ื เพ่มิ พูนความรู้และประสบการณ์ของนสิ ิต เปน็ การเปิดโลกทศั นใ์ นสังคมและวฒั นธรรม

และภาษาท่แี ตกตา่ งกัน

3

6.3 เพ่อื นาความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ไปประยุกตใ์ ชใ้ น
การบริหารการศึกษาและการเรียนการสอนในหน่วยงานของนสิ ติ ให้เกิดผลประโยชนส์ งู สดุ

7. เปา้ หมายของโครงการ

7.1. เป้าหมายการดาเนนิ งาน

จานวนผู้เข้าร่วมโครงการจานวนทั้งส้นิ .................34..............คน ประกอบด้วย

นสิ ิต จานวน........33..............คน

อาจารย์/บคุ ลากร จานวน...........1.............คน

อน่ื ๆ..................... จานวน.........-...............คน

7.2. กิจกรรม/เน้อื หาท่จี ะดาเนินการ
1. เป็นโครงการที่นานิสติ ออกไปทัศนศกึ ษาดงู าน ณ สถานศกึ ษา ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเรียนการสอน

และทารายงานตามหัวข้อที่กาหนดเพ่อื นาเสนอในชั้นเรียน
2. มกี ารบูรณาการร่วมกับพันธกิจของมหาวทิ ยาลยั ดังน้ี
- การเรียนการสอน โดยนิสติ ศึกษาดูงานในสถานประกอบการและนามาสรุปเป็นบทเรียนเพ่อื

นาเสนอในชั้นเรียน

8. ตวั บ่งชีค้ วามสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการและคา่ เปา้ หมาย

KPI คา่ เปา้ หมาย
ปริมาณ : นสิ ิตเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100
คณุ ภาพ : นสิ ิตได้ทราบถึงการจดั การศกึ ษาของสถาบนั การศกึ ษา ในระดับมาก
ในระดับมาก
ในภมู ิภาคอื่น ร้อยละ 100
เวลา : ดาเนนิ งานตรงตามระยะเวลาทีก่ าหนด

9. ลกั ษณะกจิ กรรม/เนื้อหาที่จะดาเนินการ (โดยย่อ)

 การฝึกอบรม สัมมนา อภปิ รายและบรรยาย  การค้นควา้ สารวจ วิเคราะห์ ทดสอบและ

ตรวจสอบ

 การวางระบบ ออกแบบและประดิษฐ์  การให้คาปรึกษาทางวชิ าการและวิชาชีพ

 การให้บริการวจิ ัย  การให้บริการเกี่ยวกับหลกั สูตรการเรียนการ

สอน

 การเขียนทางวิชาการและงานแปล  การให้บริการทางด้านเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

 การให้บริการสารสนเทศ  อ่นื ๆ (ระบุ)

4

10. งบประมาณดาเนินการ
-

11. แผนดาเนนิ งาน (PDCA)

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2562 ปีงบประมาณ

2563

ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย

ขั้นวางแผนงาน (P)
1. วางแผนการดาเนินงาน
2. ขออนมุ ัติโครงการ

ข้ันดาเนินการ (D)
1. ดาเนินงานตามโครงการ
ข้ันสรุปและประเมินผล (C)
1. สรปุ และประเมนิ โครงการ

ข้ันการนาผลการประเมินไป
ปรับปรงุ โครงการ (A)
1. สรปุ ผลการดาเนิน
โครงการ
2. ติดตามประเมินผลการ
ดาเนินงาน

12. วนั เวลา และสถานที่ในการดาเนนิ การ
1) วนั เวลา ในการจัดกิจกรรม วนั ที่ 7 - 10 ตลุ าคม 2563
2) สถานที่จัดกิจกรรม โรงเรียนหวั หินวทิ ยาลัย และโรงเรียนหวั หนิ อ.หวั หนิ

จ.ประจวบคีรีขันธ์

13. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1-.1 นิสิตได้รับความรู้และประสบการณ์ที่นอกเหนือจากชั้นเรียนและตาราเรียนอันจะก่อให้เกิด

แนวคิดและองค์ความรู้ใหม่ ซึง่ เพ่มิ โอกาสในการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การศึกษาของตนเอง
13.2 นสิ ิตได้พัฒนาทักษะทางดา้ นภาษาและแลกเปลีย่ นเรียนรู้วัฒนธรรม
13.3 นสิ ิตทีร่ ่วมไปศึกษาดูงานได้พัฒนาตนเอง ให้มีทักษะการบริหารและการจดั การการศึกษา

14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ (โปรดระบใุ ห้ชดั เจน)
นสิ ิตทีไ่ ปศึกษาดงู านนอกสถานท่ี ได้รวบรวมความรู้จากประสบการณ์ทีไ่ ด้ศึกษาดงู านสรปุ เปน็ รูปเล่ม

ตามหวั ขอ้ ทีท่ างมหาวิทยาลัยไดก้ าหนดให้ จานวน 1 เลม่ เพื่อนาไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินการปฏบิ ัตงิ าน

5

กาหนดการโครงการศึกษาดงู าน
หลกั สตู รการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา

ณ อำเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์
ระหว่างวันที่ 7 - 10 ตลุ าคม 2563

วันที่ 7 ตลุ าคม 2563 คณะพรอ้ มกนั ทีม่ หาวทิ ยาลยั พะเยา
16.00 น.

วันที่ 8 ตุลาคม 2563 ถึงอาเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์โดยสวัสดภิ าพ
06.30 น. ศกึ ษาดงู าน ณ โรงเรียนหวั หินวทิ ยาลัย
08.30 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน
12.00 น. ศกึ ษาดูงาน ณ โรงเรียนหัวหนิ
13.30 น. เดินทางเขา้ ท่พี กั และพักผ่อนตามอธั ยาศยั
16.30 น.
วนั ที่ 9 ตลุ าคม 2563 เดินทางสกั การะพระเข้ยี วแก้ว ณ วัดเขาตะเกยี บ
09.00 น. ศกึ ษาดงู านดา้ นสงั คม – ชมุ ชน ณ ตลาดน้าสามพนั นาม
11.00 น. แวะรบั ประทานอาหารกลางวัน
เดินทางสู่หาดหวั ดอน (หาดตะเกียบฝ่ังทิศใต้)
13.00 น. พักผ่อนตามอธั ยาศยั
เยย่ี มชมตลาดกลางคืน Cicada Market
18.00 น เดินทางเขา้ ทพ่ี ักและพกั ผ่อนตามอธั ยาศัย

วนั ที่ 10 ตุลาคม 2563 เดินทางสู่ไรอ่ งนุ่ Monsoon Valley
09.00 น. แวะพกั รับประทานอาหารกลางวัน
12.00 น. เย่ยี มชม The Venezia hua hin
13.00 น. เดินทางออกจากอาเภอ หัวหนิ จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์
16.00 น.
วันที่ 11 ตลุ าคม 2563 ถึงมหาวทิ ยาลยั พะเยาโดยสวสั ดิภาพ
06.30 น.

6

รายชื่อผ้รู ่วมเดินทางศึกษาดงู าน ณ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์

อาจารย์ จานวน 2 ท่าน ดงั น้ี
1. ดร.ธารารัตน์ มาลัยเถาว์
2. ดร. สุนทร คล้ายอา่

รายชื่อนสิ ิตหลกั สตู รการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จานวน 16 คน ดังน้ี

ที่ รหสั นิสิต ช่อื -สกุล เบอรโ์ ทรศพั ท์

1 62206264 นางสาวกฤษณา บวั เนยี ม 084-4477113

2 62206275 นายกติ ติศกั ดิ์ แสนอบุ ล 084-6091218

3 62206286 นางสาวจิตต์พิชชา จรยิ า 094-7169562

4 62206297 วา่ ท่รี ้อยตรีหญงิ เจนจิรา ตัวลอื 088-4115156

5 62206309 นางสาวฐิตวิ รดา จันทร์แมน 093-1831313

6 62206310 นายณรงค์ อนิ ดี 081-0237250

7 62206321 นางสาวณฏั ฐ์ณชิ า ชยั นนถี 095-5688448

8 62206332 นายดนยั ใจเยน็ 098-7851039

9 62206340 นางธิดาพร สร้อยสังวาลย์ 081-0285533

10 62206354 สิบเอก นภดล สมทรพั ย์ 084-4822746

11 62206365 นางสาวนนั ท์ดณชุ ยา ณภคั พงศ์ชยั 097-9579405

12 62206376 นางสาวนัยนา สุนะเสน 061-6292662

13 62206387 นายบัญชา แสงอรุณ 093-1376760

14 62206398 นางสาวประกายแกว้ แก้วอนิ ต๊ะ 093-3046977

15 62206400 นางสาวพชั ราภรณ์ นะภใิ จ 087-3602134

16 62206411 นางสาวพชิ ยา พานธงรกั ษ์ 086-9199924

17 62206433 พระมหาภทั รดนยั กาจดั 080-7693503

18 62206444 นายภาคิน เกษณา 093-1318464

19 62206455 นางสาวมยรุ ี รินศรี 091-8519592

20 62206466 นางสาวมทั นี คิดวอ่ ง 080-4998493

21 62206488 นางยพุ ิน อังกรู พร 093-2409593

22 62206499 นายรณชัย ปินใจ 098-7622184

23 62206502 นายฤทธิชยั สุขแก้ว 091-6297649

24 62206512 นางสาววรรณวณชิ ขดั จา 095-8970919

25 62206523 นางสาววรัชญข์ วญั ปัญวยิ ะ 065-5354154

26 62206534 นายวิศรฬุ ห์ เทพสรุ ินทร์ 093-3086674

27 62206545 นางสาววณี า ทิมคล้าย 094-7614817

28 62206556 นายศราวฒุ ิ จินดา 065-2790754

29 62206567 นางสาวศศภิ รณ์ สวุ รรณรตั น์ 088-2612513

7

ที่ รหสั นิสิต ชอ่ื -สกุล เบอร์โทรศพั ท์

30 62206578 นายสรลั รชั ต์ ดอนมูล 093-3169797

31 62206590 นายอนุพนธ์ คาหล้า 086-2178687

32 62206602 นางสาวอรดี ทิพยพ์ ทิ ยานุวัฒน์ 086-8817527

33 62206613 นางสาวอัสนี โปราณานนท์ 081-9930417

8

บทที่ 2
บริบท และภาพรวมของโรงเรียน

1. ประวัติความเป็นมา นโยบาย/เปา้ หมายของโรงเรียน
1.1 ประวัติความเปน็ มาของโรงเรยี น
โรงเรียนหวั หนิ วิทยาลยั ตั้งอยู่เลขที่ 240 ถนนเพชรเกษม อาเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบ

คีรีขันธ์ รหัสไปรษณีย์ 77110 สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทร
032-511233 โทรสาร 032-533771 e-mail : [email protected] website : www.hv.ac.th
ได้รับอนญุ าตจัดตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2490 เปิดสอนระดบั ช้ัน อนุบาล 1 ถึงระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6
มีเน้ือทีจ่ านวน 11 ไร่ 73 ตารางวา

โรงเรียนหัวหินวิทยาลัยบริหารงานโดยนักบวชคณะซาเลเซียนแห่งประเทศไทย นิกาย
โรมันคาทอลิก ก่อตง้ั เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 ตามใบอนุญาตเลขที่ 2/2490 เรม่ิ แรก
มีอาคารช้ันเดียว รับเฉพาะนักเรียนชาย ปัจจุบันมี บาทหลวงเทพรัตน์ ปิติสันต์ เป็นผู้รับ
ใบอนุญาต บาทหลวงสมโรจน์ ไชยชนะ เป็นผู้จัดการและ ผู้อานวยการ ดาเนินการสอนมา
จนถึงปัจจุบันเปน็ เวลา 73 ปี

โรงเรียนหัวหินวิทยาลัยตระหนักถึงดีว่า การพัฒนาคนน้ันต้องพัฒนาที่ “ความเป็นคน
ทั้งครบ” จึงให้การศึกษาอบรมนักเรียนตามจิตตารมณ์ของพ่อบอสโก ผู้ก่อตั้งคณะนักบวชซา
เลเซียน ภายใต้บรรยากาศของความรักและความอบอุ่นแบบครอบครัว โดยยึดหลักแห่งความ
รักดี เหตุผล และศาสนา ทั้งน้ีคณะผู้บริหารและคณะครจู ะคอยอบรมสัง่ สอนติดตามดแู ลสนใจ
เอาใจใส่ ช่วยเหลือ และชี้แนะเด็ก ๆ เหมือนดังเป็นบิดา มารดา พี่ และเพื่อนของพวกเขา
เพือ่ ให้พวกเขาเติบโตขึ้นเปน็ บุคคลที่เปี่ยมด้วยคณุ ธรรมและจริยธรรม เป็นพลเมืองดีของสังคม
และประเทศชาติ และเป็นศาสนิกชนที่ดีของศาสนา ด้วยการพัฒนาที่ต่อเนื่องและอุดมการณ์
อันแนว่ แนน่ เี้ องโรงเรียนหวั หนิ วิทยาลัยจึงได้รับความเชอ่ื ถือและความไว้วางใจเสมอมา

1.2 นโยบาย/เป้าหมายของโรงเรียน
ปรัชญาการศึกษาของโรงเรียน
โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย มุ่งเสริมสร้างเยาวชนให้สมบูรณ์แบบตามแนวทางแห่งความ

จริงโดย การส่งเสริมพัฒนาความสามารถและศักยภาพภายใน ในบรรยากาศแห่งอิสรภาพที่
รู้จักรับผิดชอบ เพื่อจะได้สร้างสรรค์สังคมที่มีความยุติธรรม และเทิดทูนศักดิ์ศรีของมนุษย์
ยิง่ ข้นึ

9

เป้าหมาย (Goals)
1. เดก็ มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา เหมาะสมกับวัย
2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรและตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
3. ผเู้ รียนรู้จกั ใช้เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความเปน็ เลิศทางวิชาการ
4. ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 อย่างมีประสิทธิภาพ
5. สถานศึกษามีการดาเนินงานพัฒนาวิชาการ ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านทุก
กลุ่มเป้าหมาย
6. สถานศึกษามีการดาเนินงานและพฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
7. สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนา สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมทาง
กายภาพให้ร่มร่ืน สวยงาม สะอาด และใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการ
เรียนรู้
8. สถานศึกษาสร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและชุมชนในการพัฒนาการศึกษาให้มี
คุณภาพและได้มาตรฐาน
9. สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายในที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของ
ผบู้ ริหาร/คร/ู บุคลากร/นกั เรียน

2. ข้อมูลผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร และข้อมูลนกั เรยี น
2.1 ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา เจา้ หนา้ ท่ขี องโรงเรยี น
ผไู้ ดร้ ับใบอนุญาต บาทหลวงเทพรัตน์ ปิตสิ นั ต์
ผจู้ ดั การ / ผู้อานวยการ บาทหลวงสมโรจน์ ไชยชนะ
นายสุวิทย์ เทียมทดั กรรมการที่ปรึกษาผทู้ รงคุณวุฒิ
นางสาวศริ ิพร ดิษฐวงศ์ ผชู้ ่วยผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ/หัวหน้าระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอน

ปลาย นายวิโรจน์ ด้วงละไม้ ผชู้ ่วยผอู้ านวยการฝา่ ยกิจการนกั เรียน
นางเกวลี หนิ แก้ว ผชู้ ่วยผอู้ านวยการฝา่ ยบคุ ลากร/หัวหน้าระดบั ช้ันประถมศกึ ษา
นายพรเทพ เต้นฉอย ผชู้ ่วยผอู้ านวยการฝา่ ยธรุ การ
นายสุรศักดิ์ ยนปลัดยศ ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายบริหารท่ัวไป/ที่ปรึกษาฝ่าย

ปกครอง
นางสาวณชั ชา พุ่มพวง ผชู้ ่วยผอู้ านวยการฝา่ ยนโยบายและแผน
นางพชั ญ์สิตา เรอื งกิจโชติเศวต หัวหน้าแผนก ENGLISH PROGRAM

10

นางปณั ณพร สุขประเสริฐ หัวหน้าแผนกอนุบาล
นางสาวทัศนีย์ ทวีวฒั น์ หัวหน้างานปกครอง
นางสาวสิรนิ ทิพย์ ระดมกิจ หัวหน้างานทะเบียนและวัดผล
นางสาวอุมาพร เทียมทดั หวั หน้าระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
นางสาวสิรนิ ธร ระดมกิจ หวั หน้างานการเงนิ
นางสาวทิพวลั ย์ บวั จันทร์ หัวหน้างานธรุ การ

สรปุ จานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จาแนกวุฒกิ ารศึกษาและประเภท/ตาแหนง่

จานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

ประเภท/ตาแหน่ง ต่ากว่า ป. ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม

ตรี

1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

- ผอู้ านวยการ - - 1- 1

- รอง/ผู้ช่วยผอู้ านวยการ - 6 -- 6

- ผู้จดั การ - - -- -

- ผู้รบั ใบอนุญาต - 1 -- 1

รวม - 7 1-8

2. ผสู้ อนการศกึ ษาปฐมวัย

- ครปู ฐมวัย - 24 - - 24

- ครพู ีเ่ ลีย้ ง 5 6 - - 11

- ครูต่างชาติ - 3 1-4

3. ผสู้ อนการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

- ครูระดับประถมศกึ ษา - 72 - - 72

- ครูระดบั มธั ยมศกึ ษา - 66 6 - 72

- ครอู ตั ราจ้าง (ประถม) 1 3 -- 4

- ครอู ตั ราจ้าง (มัธยม) - 1 -1 2

- ครูต่างชาติ - 21 1 - 22

รวม 6 197 8 1 211

4. บุคลากรสายสนับสนนุ

- เจา้ หน้าที่ 6 17 - - 23

- ลกู จ้าง 70 - - - 70

11

ประเภท/ตาแหน่ง จานวนครูและบุคลากรทางการศึกษา รวม
- อืน่ ๆ (ระบุ)................................ ต่ากวา่ ป. ป.ตรี ป.โท ป.เอก -

ตรี
- - --

รวม 76 17 - - 93
รวมทง้ั สิ้น 82 221 9 1 312

ขอ้ มูลบุคลากร

: ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา จานวน 8 คน

: ครู/ผดู้ ูแลเด็ก การศกึ ษาปฐมวยั จานวน 39 คน

: ครปู ระถมศกึ ษา จานวน 96 คน

: ครูมธั ยมศกึ ษา จานวน 76 คน

: บุคลากรสายสนับสนุน จานวน 93 คน

ข้อมลู นักเรยี น (ณ วันท่ี 11 สิงหาคม 2563)

ระดับช้นั จานวนห้องเรยี น จานวนผเู้ รยี น
ชาย หญิง รวม
อนบุ าล 1 6 100 80 180
อนุบาล 2 6 114 122 236
อนุบาล 3 6 116 98 214
18 330 300 630
รวม 6 104 140 244
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 6 142 137 279
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 6 134 139 273
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 6 142 125 267
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 6 133 138 271
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 6 125 140 265
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 36 780 819 1,599
7 150 169 319
รวม 8 143 170 313
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

12

ระดบั ชั้น จานวนหอ้ งเรยี น จานวนผเู้ รยี น
ชาย หญิง รวม
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 8 154 173 327
รวม 23 447 512 959
6 101 137 238
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 6 97 152 249
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 6 92 114 206
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 18 290 403 693
95 1,847 2,034 3,881
รวม
รวมทั้งสิ้น

3. แผนทต่ี ้งั ของโรงเรยี น

4. ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
4.1 วิสยั ทศั น์
โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย มุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นคนดี มีจิตอาสา ก้าวหน้าความรู้ ควบคู่

เทคโนโลยี ดีเด่นภาษา พฒั นาสุนทรียภาพ

13

4.2 พันธกิจ

วิสยั ทัศน์ พันธกิจ

โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย มุ่ง 1. ส่งเสริมและพัฒนาเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม

ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นคนดี มีจิต และสติปญั ญาใหเ้ หมาะสมกับวยั

อาสา ก้าวหน้าความรู้ ควบคู่ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่

เทคโนโลยี ดีเด่นภาษา พัฒนา พึงประสงค์ตามหลกั สูตรและตามที่สถานศกึ ษากาหนด

สุนทรียภาพ 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์

และมีความเป็นเลิศทางวิชาการ

4. ส่งเสริมและพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบ

ด้านทุกกลุ่ม เป้าหมาย

5. ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้อง

ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

พ.ศ. 2560 อย่างมีประสิทธิภาพ

6. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทาง

วิชาชีพและ จรรยาบรรณวิชาชีพ

7. ส่งเสริมและพัฒนา สือ่ อปุ กรณ์ เทคโนโลยี อาคาร สถานที่

สภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ให้ ร่มร่ืน สวยงาม สะอาด และ

ใช้แหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและ

ภายนอกหอ้ งเรียนใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้

8. สร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและชุมชน ในการพัฒนา

การศกึ ษาใหม้ ี คุณภาพและได้มาตรฐาน

9. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้

มีคุณภาพและ พัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง

14

4.3 เป้าหมาย

พนั ธกิจ เปา้ หมาย

1. ส่งเสริมและพัฒนาเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ

จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาใหเ้ หมาะสมกบั วยั สังคม และสติปัญญา ให้เหมาะสมกับวัยและ

2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และ สติปัญญา เหมาะสมกบั วัย

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรและ 2. ผเู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ

ตามที่สถานศกึ ษากาหนด ที่ พึ งประสงค์ ตามหลั กสู ตรและตามที่

3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้เทคโนโลยี มี สถานศกึ ษากาหนด

ความคิดสร้างสรรค์ และมีความเป็นเลิศทาง 3. ผเู้ รียนรู้จกั ใช้เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์

วิชาการ และมี และมีความเปน็ เลิศทางวิชาการ

4. ส่งเสริมและพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพ 4. ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้อง

ผเู้ รียนอย่างรอบด้านทุกกลุ่ม เป้าหมาย ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

5. ส่งเสริมให้ครจู ัดกระบวนการเรียนการสอนให้ พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และ

สอดคล้องตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 อย่างมี

พื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ประสิทธิภาพ 5. สถานศึกษามีการดาเนินงาน

และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพ ผู้เรียนอย่างรอบ

อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านทกุ กลุ่มเป้าหมาย

6. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ 6. สถานศึกษามีการดาเนินงานและพัฒนาครู

เชี่ยวชาญทางวิชาชีพและ จรรยาบรรณวิชาชีพ และบุคลากร ทางวิชาชีพและจรรยาบรรณ

7. ส่งเสริมและพัฒนา สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี วิชาชีพ

อาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ให้ 7. สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนา สื่อ อุปกรณ์

ร่มร่ืน สวยงาม สะอาด และใช้แหล่งเรียนรู้ทั้ง สะอาด และใช้แหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและ

ภายในและภายนอกห้องเรียนให้เอื้อต่อการ ภายนอก เท คโนโลยี อาคารสถานที่

เรียนรู้ สภาพแวดล้อมทาง ห้องเรียนให้เอื้อต่อการ

8. สร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและชุมชน เรียนรู้

ในการพัฒนาการศึกษาให้มี คุณภาพและได้ 8. สร้างการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและชุมชน

มาตรฐาน ในการพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพและได้

9. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ มาตรฐาน

สถานศึกษาให้มีคุณภาพและ พัฒนาอย่าง 9. สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพ

ต่อเนือ่ ง ภายในที่เกิด จากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของ

ผบู้ ริหาร/ครู/บคุ ลากร/ นักเรียน

4.4 อัตลักษณข์ องเด็ก/ผู้เรยี น (Identity)

15

“ ขยนั ศรัทธา ร่าเรงิ ”
ขยัน คือ การแสดงออกถึงความต้ังใจในการทาหน้าทีข่ องตนอย่างดีที่สุด
ศรทั ธา คือ การแสดงออกถึงความเลื่อมใส เชื่อม่นั ในอดุ มการณ์แหง่ ความดี ปฏิบัติกิจของ
ศาสนาทีต่ นนบั ถือ
ร่าเริง คือ การแสดงออกถึงกิริยาท่าทางทีส่ ดใส แจม่ ใส และมีชีวิตชีวา
4.5 เอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น (Uniqueness)
โรงเรียนหัวหนิ วิทยาลัย ส่งเสริมความเปน็ เลิศด้านเทคโนโลยีและสนุ ทรียภาพ
(สุนทรียภาพ คือ ดนตรี นาฏศลิ ป์ ศลิ ปะ กีฬา ภาษา)
4.6 ปรชั ญา
โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย มุ่งเสริมสร้างเยาวชน ให้สมบูรณ์แบบตามแนวทางแห่งความ
จรงิ โดยการส่งเสริมการพัฒนาความสามารถ และ ศักยภาพภายใน บรรยากาศแหง่ อิสรภาพที่
รู้จักรับผิดชอบ เพื่อจะได้สร้างสรรค์สังคมที่มีความยุติธรรมและ เทิดทูนศักดิ์ศรีของมนุษย์
ยิ่งข้ึน
4.7 นโยบายการศึกษา
- ส่งเสริมการบริหารการจดั การภายในให้เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
- ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรครูให้สามารถทางานอย่างเป็นระบบเต็มตามศักยภาพ
ของตน
- ส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพและเปน็ เลิศทางวิชาการ
- ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสติปัญญา ด้าน
อารมณ์ และด้านสังคม
- ส่งเสริมบุคลากรครูและนักเรียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยเน้นความซื่อสัตย์
และความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อ่ืน
- ส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ เป็นพลเมืองและศาสนิกชนที่ดีของ
ประเทศชาติ
- ส่งเสริมการพัฒนาอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมใหม้ ีความร่มร่นื สวยงาม และ
สะอาดอยู่เสมอ

5. โครงสร้างการบริหาร

16

6. การบริหารโรงเรียนคุณภาพของโรงเรียนหัวหินวิทยาลัยโดยใช้ HUAHINVIT 4P
MODEL

การบริหารโรงเรียนคุณภาพโดยใช้ HUAHINVIT 4P MODEL น้ันเป็นรูปแบบการบริหาร
โรงเรียนคุณภาพที่มุ่งสู่การ พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนอย่างสมดุลรอบด้าน เพื่อให้นักเรียนที่
เป็นผลผลิต เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความสามารถ และมีความสุข เป็นรูปแบบการ
บริหารที่มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และ
ประสบการณ์ในการบริหารโรงเรียน ทาให้ได้นวตั กรรมรปู แบบการบริหารโรงเรียนที่สอดคล้อง
กบั การพฒั นาคุณภาพของ โรงเรียนหวั หินวิทยาลัย โดยใช้กระบวนการวงจรคณุ ภาพ P-D-C-
A ในการดาเนินงาน ทาให้การดาเนินการบริหารจัดการศึกษา บรรลุตามเป้าหมาย มี
รายละเอียดของการพฒั นานวัตกรรมการบริหารโรงเรยี นคณุ ภาพ ดังน้ี
ข้ันตอนท่ี 1 สารวจและวิเคราะหส์ ภาพปัจจบุ ัน ปัญหา

ความต้องการเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ของ โรงเรียนโดยใช้เทคนิค
SWOT Analysis จากผู้ที่มสี ่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทาใหท้ ราบถึงบริบทของโรงเรียนว่าขณะนี้อยู่ ณ
จุดใด (Where are we now?) เพื่อจัดลาดับความสาคัญและกาหนดกรอบในการพัฒนา
นวตั กรรม
ขั้นตอนท่ี 2 ขัน้ การวางแผน (Plan)

17

เ ป็ น ก า ร อ อ ก แ บ บ น วั ต ก ร ร ม รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ภ า พ โ ด ย ใ ช้
HUAHINVIT 4P MODEL ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน จากผลสรุปของการวิเคราะห์จุด
แข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรคการพัฒนาโรงเรียนในขั้นตอนที่ 1 โรงเรียนจะต้องมีการ
กาหนดเป้าหมายและแนวทางการดาเนินงานในอนาคตที่ชัดเจน จึงต้องมีการกาหนดวิสัยทัศน์
ให้มองเห็นภาพแห่งความสาเร็จที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งใหม่ๆ ที่มีความท้าทายต่อ
โรงเรียนด้วยปัจจัยที่มีอิทธิพลท้ังภายในและภายนอก เพื่อการพัฒนาเป็นโรงเรียนคุณภาพ
(Quality School) ว่าเราจะไปสู่ จดุ หมายที่ตอ้ งการได้อย่างไร (How do we get there?)
ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันปฏิบตั ิตามแผน (Do)

เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจกับบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อนานวัตกรรมรูปแบบ
การบริหารโรงเรียนโดยใช้ HUAHINVIT 4P MODEL ไปใช้ดาเนินงานในทุกภาคส่วนโรงเรียนต้อง
มีการกาหนด แนววิธีดาเนินการ เพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายในอนาคต เน้นการพัฒนาศักยภาพของ
ผู้เรียนให้สามารถพัฒนานวัตกรรม มีการทางาน เป็นทีม เพื่อสร้างคุณค่าให้กับโรงเรียนผ่าน
กระบวนการ การจัดการความรู้ในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ จะต้องทาหรือ เปลี่ยนแปลง
อะไรบ้างเพื่อไปถึงจุดนั้น (What do we have to do or change?) การนานวัตกรรมการบริหาร
โรงเรียนคุณภาพ โดยใช้ HUAHINVIT 4P MODEL ไปใช้ในโรงเรียนหัวหินวิทยาลัยนั้นเป็นการ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีที่มี โครงการ/กิจกรรม ระบุข้ันตอนการดาเนินงานแบบ
P-D-C-A อย่างต่อเนือ่ ง สอดคล้องกับรูปแบบของนวัตกรรมการบริหารที่ กาหนดไว้ โดยมีกล
ยุทธ์ในการดาเนินงานเพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์
ขน้ั ตอนท่ี 4 ขนั้ ตรวจสอบ (Check)

เป็นการประเมินผลและตรวจสอบการบริหารโรงเรียน จากการใช้นวัตกรรมการ
บริหารโรงเรียนโดยใช้ HUAHINVIT 4P MODEL
ข้ันตอนท่ี 5 ข้นั ปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action)

เป็นการสะท้อนผลการดาเนินงานตามสภาพจริง (Reflection) โรงเรียนต้องมี การ
พฒั นานวัตกรรมการบริหารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและคุณภาพของผู้เรียน ธารงรักษาให้
เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล อย่างต่อเน่ือง จากการใช้นวัตกรรมรูปแบบการบริหารโรงเรียน
คุณภาพโดยใช้ HUAHINVIT 4P MODEL มาวิเคราะห์และ สะท้อนผลการดาเนินงานตามสภาพ
จริง (Reflection) เพื่อวิเคราะห์ว่ามีปัญหา อุปสรรคที่ควรแก้ไขและพัฒนาหรือไม่ ถ้าหาก “ใช่”
ก็จะนาปัญหา อุปสรรคที่พบมาเป็นสิ่งที่จะต้องแสวงหาวิธีการแก้ไข ปรับปรุงในข้ันตอนของ
การวางแผนเพื่อนาไปสู่การ ปฏิบัติอีกคร้ัง ถ้าหาก “ไม่ใช่” แสดงว่ารูปแบบนวัตกรรมการ
บริหารโรงเรียนคุณภาพ โดยใช้ HUAHINVIT 4P MODEL บรรลุผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
สามารถประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่และขยายผลการดาเนินงานสู่โรงเรียนและหน่วยงาน อืน่ ๆ
เพื่อพัฒนาสู่ความมีคณุ ภาพทีย่ ง่ั ยืนต่อไป

18

การบริหารโรงเรียนโดยใช้ HUAHIN VIT 4P Model เป็นรูปแบบการบริหารโรงเรียน
คุณภาพที่มุ่งสู่การพัฒนา คุณภาพของโรงเรียนอย่างสมดุลรอบด้าน เพื่อให้นักเรียนที่เป็น
ผลผลิต เปน็ มนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์ เปน็ คนดี มีความสามารถ และ มคี วามสขุ เป็นรูปแบบการบริหาร
ที่มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน มีรายละเอียดของการพัฒนานวัตกรรมการบริหาร
โรงเรียนคุณภาพ ดงั น้ี
ขน้ั ตอนท่ี 1 ปจั จยั นาเข้า (INPUTS) ประกอบดว้ ย 6 กจิ กรรม ไดแ้ ก่

H : Humanity หมายถึง การบริหารทรัพยากรมนุษย์โดยใช้กลยุทธ์วางแผนการทางาน
ร่วมกัน ให้มีความสัมพันธ์กับทุก ๆ ฝ่าย ในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด และมีการ
พัฒนาปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา เพื่อการบริหารและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาสู่ครู
มอื อาชีพ

19

U : Unity หมายถึง ความเป็นเอกภาพ ความเป็นอนั หนึง่ อนั เดียวกนั
A : Active Learning หมายถึง การเรียนรผู้ า่ นการปฏิบัติจรงิ
H : Helpfulness หมายถึง การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกันระดมความคิด วางแผน
พฒั นาอย่างมเี หตมุ ผี ล
I : Integration หมายถึง การบูรณาการ เช่ือมโยง เสริมซึ่งกันและกัน เพื่อความเปน็ เลิศ
N : Network หมายถึง การสรา้ งเครือขา่ ยในการทางาน
ขนั้ ตอนท่ี 2 กระบวนการ (PROCESSES) ประกอบดว้ ย 4 กิจกรรม ได้แก่
1. การมีส่วนร่วม (P1 : Participation) เป็นกระบวนการทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้มีส่วนได้เสีย ใน
การจัดการศึกษาร่วมกับโรงเรียนเป็นกระบวนการเรียนรู้ซึ่งกันและกันของทุกฝ่าย นับตั้งแต่
การแสดงความคิดเหน็ การวางแผน การดาเนินการและการแก้ไข ปญั หา ตลอดจนการควบคุม
กากบั ตดิ ตามและประเมินผล เพือ่ ประโยชน์ในการพฒั นาการศกึ ษาให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์
ทีต่ งั้ ไว้
2. การจดั การกระบวนการ (P2 : Process Management) การบริหารจัดการในโรงเรียน
โดยนา “หลักธรรมาภิบาล” ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมี
สวนรวม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มา บูรณาการในการบริหารและจัด
การศึกษา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียน โดยนามาบูรณาการเข้ากับการ
ดาเนินงานดานตาง ๆ ของโรงเรียน คือ การดาเนินงานดาน วิชาการ กิจการนักเรียน
บริหารงานบุคคล ธรุ การ บริหารท่วั ไป
นโยบายและแผน ซึ่งเปาหมายในการจัดการศึกษา คือทาให้ผู้เรียนเป็นคน “ขยัน ศรัทธา ร่า
เริง”
3. ระบบป้องกัน (P3: Preventive System) ระบบการอบรมเด็กของคุณพ่อบอสโก ใช้
เหตุผลพัฒนาสติปัญญา ใช้ศาสนา พัฒนาจิตใจ ใช้ความรักเมตตาพัฒนาสุนทรียภาพด้าน
อารมณ์ให้เป็นคนที่สมบรู ณ์ "กันไว้ดีกว่าแก้" กล่าวคือป้องกนั ไม่ให้เด็ก มโี อกาสทาผดิ เพือ่ ทีจ่ ะ
ได้ไม่ต้องลงโทษเม่ือเด็กได้กระทาผิด และอบรมให้เด็กทาหน้าที่ต่าง ๆ โดยสมัครใจเอง ระบบ
การ อบรมเด็กของคุณพ่อบอสโก ยึดหลักความรัก ศาสนาและเหตุผล เป็นที่ต้ัง ความรักต่อ
เดก็ เป็นเอกลักษณ์ของซาเลเซียน
ผู้อบรมเด็กต้องจาไว้เสมอว่าตนเป็นผู้แทนบิดามารดาของเขา ดังนั้นจะต้องรักเด็กให้เหมือนที่
บิดามารดารักเขา
4. การประเมินจากชุมชน (P4: Public Assessment) การประเมินผลแบบมีส่วนร่วม ผล
ที่เกิดขึ้นจากการร่วมกันวางแผนพัฒนาโรงเรียนเพื่อสร้างโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สร้างความเชื่อมั่นใหก้ ับชุมชน เป็นการเปิดโอกาสให้ผปู้ กครอง ชื่นชมกับผลสาเร็จ จากการเข้า

20

มาเกี่ยวข้องในการมีส่วนร่วมและจะกลายเป็นการเสริมสร้างพลังประชาชน เกิดกระบวนการ
ช่วยเหลือพัฒนาและเห็นภาพการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ
ขั้นตอนท่ี 3 ผลผลิต/ผลลัพธ์ (OUTPUTS) ประกอบดว้ ย 3 กิจกรรม ไดแ้ ก่

V: Virtue หมายถึง ผลจากการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ทาให้นักเรียนเป็นคนดี มี
วินัย มีความรับผิดชอบ ขยันหม่ันเพียร มีความซื่อสัตย์ มีค่านิยมและจิตสานึกตามที่
สถานศกึ ษากาหนด

I: Innovation หมายถึง ผลจากการร่วมกันคิดร่วมกันทา ส่งผลให้เกิดวิธีคิดใหม่ และ
การค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ได้ตลอดการ ดาเนินงาน สิ่งที่ค้นพบถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ส่งเสริม
ให้ประสบความสาเร็จได้อย่างมคี ุณภาพ ประหยดั คุ้มค่า และ ภาคภูมใิ จในผลงาน

T: Team Work หมายถึง ผลจากการทางานเป็นทีม ทาให้มีความเป็นกัลยาณมิตร เกิด
ความรักสามัคคี สมานฉันท์ และร่วมมือ อย่างต่อเนื่อง ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ
แตกต่างและหลากหลาย
ข้ันตอนท่ี 4 ขอ้ เสนอแนะ/ปรบั ปรงุ (Feedback)

ข้ันตอนที่จะรับรู้ถึงปัญหาทั้งหมดจากข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ และคาติชม ซึ่งจะ
เป็นข้อมูลที่จะสะท้อนกลบั ให้ เห็นท้ังจุดด้อยหรอื จุดอ่อน และจุดเด่นของแผนงาน ข้ันตอนการ
ปฏิบัติงาน การประสานงาน และกระบวนการดาเนินงาน โดย ได้ใช้หลักการวิจัยมาบูรณาการ
ในการศกึ ษาหาแนวทางแก้ปัญหาเพือ่ ปรับปรุงพฒั นาต่อไป
7. หลักสูตร (โครงการพิเศษ MSE , S-IEP , กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น)

ห ลั ก สู ต ร โ ร ง เ รี ย น หั ว หิ น วิ ท ย า ลั ย จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า โ ด ย ป ฏิ บั ติ ต า ม
พระราชบัญญัติการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 โดยจดั การเรียนรู้ ดังน้ี

7.1.หลักสูตรปฐมวยั (ระดับกอ่ นประถมศึกษา)
จัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กตั้งแต่อายุ 3 – 5 ปี ให้มีการพัฒนาการพร้อมทั้ง 4

ด้าน ได้แก่ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคมและสติปญั ญาโดยการจดั การเรียนการสอนแบบ
บูรณาการ ผ่านกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมบนพื้นฐานการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงเพื่อ
พฒั นาสคู่ วามเป็นมนุษย์ทีม่ คี วามสุขและเป็นคนดีของสงั คม

โครงสรา้ งหลักสูตร

21

ประสบการณ์ สาระ กิจกรรมประจาวัน จานวนช่ัวโมง/วัน
สาคัญ การเรียนรู้
แกนกลาง 1.กิจกรรมเคลือ่ นไหว 1-4 ปี 4-5 ปี 5-6 ปี
1.ด้านร่างการ 1.เรื่องราวเกี่ยว และจังหวะ
2.ด้านอารมณ์ ตัวเดก็ 2.กิจกรรมเสริม 20 นาที 20 นาที 20
และจติ ใจ 2.เรื่องราว ประสบการณ์ นาที
3.ด้าน เกี่ยวกบั บคุ คล 3.กิจกรรมสร้างสรรค์
สติปญั ญา และสถานที่ 4.กิจกรรมเสรี/ 40 นาที 40 นาที
สิ่งแวดล้อม เล่นตามมุม 40
3.เรือ่ งราว 5.กิจกรรมกลางแจ้ง
เกีย่ วกับ 6.กิจกรรมเกม 40 นาที 40 นาที นาที
สิ่งต่าง ๆ การศกึ ษา 40 นาที 40 นาที
รอบตวั เด็ก
40
40 นาที 40 นาที นาที
40 นาที 40 นาที 40

นาที

40
นาที
40
นาที

การจดั เวลาเรียน
ระยะเวลาเรียน โรงเรียนหัวหินวิทยาลัยใช้เวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กอายุ

3 – 6 ปี โดยแบ่งการจดั ประสบการณ์ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน
ภาคเรียนที่ 1 16 พฤษภาคม – 30 กันยายน
ภาคเรียนที่ 2 24 ตลุ าคม – 28 กุมภาพันธ์

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น
โรงเรียน หัวหินวิทยาลัยได้จัดกิจกรรมเสิรมพิเศษ เพื่อให้ผู้เรียนมุ่งเตรียมความพร้อม

และส่งเสริมพัฒนาการแก่ผู้เรียนโดยได้ จัดกิจกรรมพิเศษ อาทิ ว่ายน้า คอมพิวเตอร์ ดนตรี
คีย์บอร์ด บัลเลย์ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเสริมจงั หวะดนตรีและการเคลื่อนไหว(ดาเนินการสอน
โดยครตู า่ งประเทศ)

7.2. หลกั สตู รระดบั ประถมศึกษา

22

จัดการเรียนรู้โดยการสนองตอบต่อความสนใจของผู้เรียน ให้จัดการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่ม
สาระ ในลักษณะบูรณาการที่มีภาษาไทยและคณิตศาสตร์เป็นหลัก เน้นการเรียนรู้ตามสภาพ
จริง มีความสนุกสนาน ได้ปฏิบัติจริงเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ ทักษะพื้นฐาน การติดต่อ
สือ่ สาร ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาจีน การคิดคานวณ จนิ ตคณิต การคิดวิเคราะห์ การปฏิบัติ
ด้านดนตรไี ทย/สากล รวมท้ังพฒั นาคณุ ลกั ษณะและความมสี นุ ทรียภาพของผเู้ รียน

โครงสรา้ งหลักสูตร
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนหัวหินวิทยาลัย 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) ระดับประถมศึกษา

เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ปี)

กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับประถมศึกษา

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200 200 200 200
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

 สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

 สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 40 40 40 80 80 80

 สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและ
อวกาศ

สาระที่ 4 เทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธ รร ม
จรยิ ธรรม

 ส า ร ที่ 2 ห น้ า ที่ พ ล เ มื อ ง 80 80 80 80 80 80
วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตใน

สงั คม

 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

 สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40
 สารที่ 4 ประวตั ิศาสตร์

23

เวลาเรียน (ชัว่ โมง/ปี)

กลุม่ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 40 40 40 80 80 80
สขุ ศึกษาและพลศึกษา 80
40
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 40
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 840

ภาษาต่างประเทศ 120 120 120 40 40 200
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 840 840 840 840 840 -
80
 รายวิชา (เพิม่ เติม) 120 120 120 200 200 40
ภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร 40 - - - - 40
ภาษาไทยคิดวิเคราะห์ 80 80 80 80 80 40
ภาษาจนี 40 40 40 40 40 40
จติ คณิต -
440
วิทยาศาสตร์ทดลอง 40 80 80 40 40
40
Computer Genius Program 40 40 40 40 40
ดนตรี 40 40 40 40 40 30
40
กีฬา 40 40 40 - - 10
รวมเวลาเรียน (เพิม่ เติม) 440 440 440 440 440
120
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น

กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40

กิจกรรมนักเรียน 30 30 30 30 30
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี 40 40 40 40 40
- ชุมนุม

กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ 10 10 10 10 10
สาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 120 120 120 120 120

รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1,400 ชวั่ โมง/ปี

วิชาหน้าที่พลเมือง บูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศกึ ษา ฯ (วัดผลรวมอยู่ในรายวิชานั่น ๆ )

24

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น
เพื่อสนองตอบต่อการค้นคว้า การตั้งคานวณ หรือทัศนคติต่อสิ่งต่าง ๆ รอบด้าน โรงเรียน

หัวหินวิทยาลัยจึงได้จัดกิจกรรมด้วยหลักสูตรที่ให้นักเรียนได้ค้นหาว่า “อะไรคือสิ่งที่ชอบและ
อะไรคือสง่ิ ทีใ่ ช”่ จงึ ได้จดั กิจกรรมเสริมหลักสตู ร ดังน้ี

1. หลักสูตรทางด้านภาษา เช่นหลักสูตร ENGLISH PROGRAM (EP) และโครงการ
ภาษาองั กฤษแบบเข้มขน้ (S-IEP) การเรียนภาษาจนี เปน็ ต้น

2.หลักสูตรสุนทรียภาพทางดนตรีในวิชาเรียน เช่น ดนตรีไทย นาฏศิลป์ อังกะลุง โปงลาง
ไวโอลิน คีย์บอร์ด เปน็ ต้น

3.หลักสตู รจินตคณิตและคณิตคิดเร็วเพื่อการคิดวิเคราะห์

โครงการพเิ ศษ Salesian Intensive English Program (S-IEP)
เป็นโครงการการเรียนสาหรับนักเรียนในหลักสูตรปกติระดับประถมศึกษา ที่ต้องการ

เสริมทางด้านภาษาอังกฤษเป็นพิเศษ โดยโครงการ S-IEP หรือโครงการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
เข้มข้นนี้ ทางโรงเรียนได้กาหนดใหนักเรียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษ จานวนประมาณ 5-6 คาบ/
สัปดาห์ สอนโดยครูชาวต่างประเทศ ซึ่งเน้นทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารเป็น
จานวน 4 คาบ/สัปดาห์ และเรียนพื้นฐานภาษาอังกฤษ หรือหลักไวยากรณ์กับครูชาวไทย
จานวน 1-2 คาบ/สัปดาห์ โดยรบั นกั เรียนประมาณ 40-45 คน ต่อห้องเรียน

7.3.หลกั สตู รระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
จดั การเรียนรู้ที่เน้นหลักการทฤษฎี โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิด ความเข้าใจ และ

รู้จักตนเอในด้านความสามารถ ความถนัด เพื่อเตรียมตัวในการศึกษาต่อหรือเตรียมตัวเข้าสู่
อาชีพ โดยโรงเรียนดาเนินการจัดการเรียนรู้เพิ่มเติมที่เหมาะสมกับผู้เรียนด้วยการเพิ่ม
ทางเลือกที่หลากหลายยิ่งขึ้น พัฒนาคุณลักษณะ และส่งเสริมสุนทรียภาพทางดนตรี โดยมุ่งสู่
ดลุ ยภาพแหง่ ชีวติ

โครงสรา้ งหลกั สตู ร
โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนหัวหินวิทยาลัย 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้

25

กลุม่ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรียน
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ม.1 ม.2 ม.3
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
วิทยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.)
- วิทยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
- เทคโนโลยี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.)
- ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)
- ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
- เศรษฐศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
- ภูมศิ าสตร์

สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)
80 (2 นก.)
ศลิ ปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.)
120 (3 นก.)
การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 880 (22 นก.)
400 (10 นก.)
ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
40
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.)
40
 รายวิชาเพิ่มเติมที่สถานศึกษาจัด 400 (10 นก.) 400 (10 นก.) 30
ตามความพรอ้ มและจุดเน้น 10

 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 120

กิจกรรมแนะแนว 40 40

กิจกรรมนกั เรียน 40 40
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี 30 30
- ชมุ นมุ

กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ 10 10

สาธารณประโยชน์

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 120 120

รวมเวลาเรียนท้ังหมด 1,400 ช่วั โมง/ปี

26

กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย ได้เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาความสามารถที่ตรงกับ

สมรรถภาพภายในของแต่ละคนโดยแท้จริงโดยได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย
1. โครงการพฒั นาอัจฉริยภาพทางดา้ นคอมพิวเตอร์ ภาษา ดนตรี ศิลปะ
2. วิชาเลือกเสรีภาษาต่างประเทศ อาทิเช่น ภาษาจนี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ
3. โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพทางด้านดนตรี ท้ังในวิชาเรียนและนอกห้องเรียน อาทิ
นาฏศลิ ป์ โขน ดนตรีไทย คีย์บอร์ด กีตาร์ ไวโอลิน วงโยธวาทิต วงสตริงคอมโบ

7.4. หลักสตู รระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
จัดการเรียนรู้โดยเน้นเข้าสู่เฉพาะทางเพื่อการศึกษาต่อในระดับที่สูงมากขึ้น มุ่งเน้น

ความสามารถ ความคิดระดับสูง ความถนัด และความต้องการของผู้เรียน โดยในช่วงชั้นนี้
โรงเรียนได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยเชิญวิทยากรมาสอนเสริมในกลุ่มสาระต่าง ๆ เป็น
พิเศษ ท้ังนี้ เพื่อเตรียมความพรอ้ มให้กับนกั เรียนในการศกึ ษาต่อระดับอุดมศกึ ษา

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น
โรงเรียนหวั หินวิทยาลัยได้จัดกิจกรรม เพื่อมุ่งเตรียมความพร้อมด้านสติปญั ญา ทักษะ

ชีวิต ทักษะสังคม เพื่อให้นักเรียนก้าวไปสู่สังคมได้อย่างมั่นใจ และเตรียมความพร้อมสู่
ระดบั อุดมศกึ ษา โดยการจดั กิจกรรมเสริม อาทิเช่น

1. วิชาเรียนเทควันโด กอล์ฟ ในหลกั สูตร
2. ส่งเสริมความถนดั ทางดา้ นดนตรี ศลิ ปะ
3. ส่งเสริมความถนัดทางดา้ นเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ หนุ่ ยนต์ เป็นต้น
4. ส่งเสริมความถนดั ทางดา้ นภาษาต่างประเทศ อาทิ อังกฤษ จีน ญีป่ ุ่น
5. การจดั ตวิ เตอร์โดยวิทยากรภายนอก
6. การแนะแนวการศึกษา

27

บทที่ 3

วิธีการประเมิน

โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย หลักสูตรการศึกษา
มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ดาเนินโครงการ ดงั น้ี

1. ประชากร
2. วิธีดาเนนิ การประเมนิ โครงการ
3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

4. สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล

1. ประชากร
ประชากร คือ ผู้เข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษา

มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จานวน 33 คน

2. วิธีดาเนินการประเมินโครงการ
2.1 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
ในการประเมินความพึงพอใจโครงการศึกษาดงู านนอกสถานที่ หลกั สูตรการศึกษา

มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษาใช้แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (Check lists)

จานวน 4 ข้อ
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษา

มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นคาถามลักษณะแบบให้เลือกตอบ แบบมาตรา
ส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ประกอบด้วย มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย และนอ้ ย
ทีส่ ุด จานวน 3 ด้าน (20 ข้อคาถาม) โดยมีเนือ้ หา ดงั น้ี

1. ด้านบริบทของโรงเรียน
2. ด้านการดาเนินการศึกษาดูงานนอกสถานที่
3. ด้านประโยชน์
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ

28

2.2 เกณฑ์การให้คะแนนในแบบสอบถาม
เกณฑ์การให้คะแนนในแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เป็นข้อคาถามชนิดประเมินค่า

(Rating scale) ประเมินค่า 5 ระดับ เกณฑ์การตอบมี 5 ระดับ ตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert
Scale) อ้างถึงใน บุญชม ศรสี ะอาด. 2553, หน้า 122 - 143) ดงั น้ี

5 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด
4 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก
3 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
2 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อย
1 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อยทีส่ ุด
เกณฑก์ ารแปรผลข้อมูลระดบั ความพึงพอใจ (แปลผล) โดยนาค่าเฉลี่ยไปพิจารณา
กับเกณฑ์คะแนน 5 ระดับ ตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert Scale) อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด.
2554, หน้า 122 - 143) ดังน้ี
คาเฉลี่ย 4.50-5.00 แปลความหมายวา มคี วามพึงพอใจอยูในระดับ มากทีส่ ดุ
คาเฉลีย่ 3.50-4.49 แปลความหมายวา มคี วามพึงพอใจอยูในระดับ มาก
คาเฉลีย่ 2.50-3.49 แปลความหมายวา มีความพึงพอใจอยูในระดับ ปานกลาง
คาเฉลีย่ 1.50-2.49 แปลความหมายวา มีความพึงพอใจอยูในระดบั นอย
คาเฉลี่ย 1.00-1.49 แปลความหมายวา มีความพึงพอใจอยูในระดับ นอยทีส่ ุด

2.3 ขั้นตอนในการสรา้ งแบบสอบถาม
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การประเมินโครงการ เอกสาร และ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างขอบเขต และประเด็นในการ
ประเมิน

2. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดาเนินการสร้างแบบสอบถาม ที่เกี่ยวข้องกับ
โครงการ ศกึ ษาดงู านนอกสถานที่

3. สร้างเป็นข้อคาถามให้ครอบคลุมเนื้อหาด้านการดาเนินโครงการ และผลผลิต
ข อ ง โ ค ร ง ก า ร โ ด ย แ บ บ ส อ บ ถ า ม ที่ ส ร้ า ง ขึ้ น เ ป็ น แ บ บ ค า ถ า ม ช นิ ด ป ร ะ เ มิ น ค่ า
(Rating scale) ประเมินค่า 5 ระดบั คือ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

4. จัดพิมพแ์ บบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เพือ่ เกบ็ รวบรวมข้อมูลต่อไป

3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

29

การเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนตุลาคม 2563 มีผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา จานวน 33 คน

4. สถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ผู้ประเมินได้นาข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (x) ค่าส่วน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดย
1) คา่ เฉลีย่ (Mean) หรอื เรียกว่าค่ากลางเลขคณิต ค่าเฉลี่ย ค่ามัชฌิมเลขคณิต เป็นต้น
(บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2553: 55 - 57) ดงั นี้
ค่าเฉลีย่ (Mean) ใชส้ ูตร
μ = ∑ fx

N

เมื่อ μ แทน ค่าเฉลีย่
∑ แทน ผลรวมท้ังหมด
f แทน ความถีข่ องคะแนนแต่ละคะแนน
x แทน ระดบั คะแนน
N แทน จานวนท้ังหมดของประชากร

2) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวดั การกระจายทีน่ ยิ มใช้กัน
มากเขียนแทนด้วย S.D. หรอื S (บุญชม ศรีสะอาด. 2553: 85 – 86) ดงั นี้

สูตร σ= √N ∑ fx2−(∑ fx)2

N(N−1)

เมือ่ σ แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (กรณีประชากร)
X แทน คะแนนแตล่ ะตวั
∑fx2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนในแต่ละคน
(∑fx)2 แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนแตล่ ะคนยกกาลังสอง
N แทน จานวนคะแนนในกลุ่มนนั้

30

แบบสอบถามความพึงพอใจโครงการศึกษาดงู านนอกสถานท่ี
หลกั สูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
...............................................................................................................................................
คาชี้แจง
1. แบบสอบถามฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเสริมสร้างและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์อันจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ต่อการเรียนและการประยุกต์ใช้ในการบริหาร
การศึกษา 2) เพือ่ เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของนิสิต เป็นการเปิดโลกทัศน์ในสังคมและ
วัฒนธรรม และภาษาที่แตกต่างกัน 3) เพื่อนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษา
แหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษา และการเรียนการสอนใน
หนว่ ยงานของนิสติ ให้เกิดผลประโยชน์สงู สดุ
2. ผลการประเมินและข้อเสนอแนะที่ได้จากแบบสอบถามน้ีจะถูกนาไปประมวลผลใน
ภาพรวม และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยไม่มีผล
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ และสถานภาพทางราชการของผตู้ อบแบบสอบถามแตอ่ ย่างใด
3. แบบสอบถามฉบับนี้ใช้สอบถามข้อมูลกับนิสิต สาขาการบริหารการศึกษา
วิทยาลยั การศกึ ษา แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 สอบถามเกีย่ วกบั ข้อมลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษา
มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
จงึ ขอความรว่ มมอื จากทกุ ท่าน ให้ความอนุเคราะหใ์ นการตอบแบบสอบถามดังกล่าว
นจี้ ะขอบคณุ ยิ่ง

นิสติ ปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา
หลกั สูตรการศกึ ษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั พะเยา

31

ตอนท่ี 1 สถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย √ ลงในชอ่ ง  หนา้ ข้อความ หรอื เติมคาในช่องว่างทีต่ รงกบั

ความเป็นจริง

1. เพศ  ชาย  หญิง

2. ตาแหนง่  ผบู้ ริหาร  ครู  นกั วิชาการ  อืน่ ๆ___________

3. สงั กดั  สพฐ.  อปท.  สช.  อืน่ ๆ___________

4. ระหว่างวันท่ี.............................7-11 ตลุ าคม

2563...................................................................................................

สถานท่ีศึกษาดูงาน..............โรงเรียนหวั หนิ วิทยาลัย

............................................................................................

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจโครงการศึกษาดูงานนอกสถานท่ี หลกั สูตรการศึกษา

มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย √ ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดบั ความพึงพอใจของท่าน

5 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ

4 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก

3 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ปานกลาง

2 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อย

1 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อยที่สุด

ข้อ ความพึงพอใจโครงการศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ ระดับความคดิ เห็น
หลักสูตรการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา 54 3 2 1

1) ด้านบริบทของโรงเรียน

1 ความเหมาะสมด้านสภาพแวดล้อมของโรงเรียน

2 การตอ้ นรับจากโรงเรยี น

3 การนาเสนอรูปแบบการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียน

4 การศกึ ษาตามสภาพจริงเชิงประจกั ษ์

2) ดา้ นการดาเนินการศึกษาดูงานนอกสถานที่

1 การตดิ ต่อประสานงานกับทางโรงเรียนมีความสะดวกรวดเรว็

2 กอ่ นการศึกษาดูงาน : ความรู้ ความเข้าใจในเนือ้ หาของ

การศกึ ษาดงู านในครั้งน้ี

3 หลงั การศึกษาดงู าน : ประสบการณ์ และความรทู้ ีไ่ ด้รบั

เพิม่ ขึน้ จากการศกึ ษาดูงาน

32

ขอ้ ความพึงพอใจโครงการศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ ระดับความคดิ เหน็
หลกั สตู รการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา 54 3 2 1

4 ความเหมาะสมของสถานที่ศกึ ษาดงู าน

5 ความเหมาะสมของสถานที่พักและอาหาร

6 ความเหมาะสมโดยท่วั ไปในการเดินทาง

7 ความเหมาะสมของระยะเวลาการศกึ ษาดงู าน

8 ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมของวิทยากร

9 สื่อ และอุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการนาเสนอมีความทันสมัย

10 การมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ตงั้ คาถาม หรือการ

แลกเปลีย่ นเรียนรู้กับโรงเรียนที่เข้าศกึ ษาดงู าน

11 โรงเรียนมีระบบการดาเนนิ งาน และการจัดการที่ดี

3) ด้านประโยชน์

1 มีความเข้าใจถึงวัตถปุ ระสงค์ของโครงการศกึ ษาดงู าน

2 มีการนาความรู้และข้อมลู ที่ได้รับจากการศกึ ษาดูงานในครั้งนี้

มาประยุกต์ใชใ้ นงานที่เกีย่ วข้อง

3 การได้รบั ความรู้ใหม่ ๆ จากการศกึ ษาดูงาน

4 มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผเู้ ข้าร่วมศกึ ษาดูงาน

5 ความพึงพอใจโดยรวมตอ่ การเข้าร่วมโครงการ

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
1. ท่านมคี วามประทับใจจากโครงการศึกษาดูงานนี้อย่างไร
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

2. ท่านคิดว่าควรมีการปรบั ปรุงในด้านใด หรอื ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

***ขอขอบคุณที่ท่านให้ความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถามอยา่ งดยี ิ่ง***

33

บทที่ 4

การวิเคราะหข์ ้อมูล

การศึกษาดูงานโรงเรียนหัวหินวิทยาลัย อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี
วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์อันจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่
ต่อการเรียนและการประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
ของนิสิต เป็นการเปิดโลกทัศน์ในสังคมและวัฒนธรรม และเพื่อนาความรู้และประสบการณ์ที่
ได้จากการศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษาและการเรียน
การสอนในหน่วยงานของนิสิตให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ทาการสารวจโดยใช้
แบบสอบถามเป็นเครื่องมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยแบ่งผลการวิเคราะห์ข้อมลู ออกเปน็ 2
ตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งจะ
จาแนกตาม เพศ ตาแหน่ง สงั กัด โดยจะวเิ คราะหข์ ้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ และร้อยละ

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจต่อโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานะภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตาราง 4.1 แสดงจานวนและร้อยละของขอ้ มูลทั่วไปของผปู้ กครอง

ข้อมลู ท่ัวไป จานวน ร้อยละ

1. เพศ 39.39
60.61
ชาย 13 100

หญิง 20 6.06
75.76
รวม 33 15.15
3.03
2. ตาแหน่ง 100

ผบู้ ริหาร 2

ครู 25

นกั วิชาการ 5

อัตราจา้ ง 1

รวม 33

34

3. สังกัด 23 69.70
สพฐ. 7 21.21
อปท. 3 9.09
สช. 33 100
รวม

จากตาราง 4.1 เม่ือจาแนกตามเพศของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการ
ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 60.61 เม่ือจาแนกตามตาแหน่งของ
ผู้เข้าร่วมโครงการพบว่าส่วนใหญ่มีตาแหน่งครู มีจานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 75.76 เม่ือ
จาแนกตามสังกัด พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ สังกัดสพฐ. จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ
69.70

ตอนท่ี 2 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อโครงการศึกษาดู
งานนอกสถานท่ี

ตาราง 4.2 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อโครงการ
ศึกษาดูงานนอกสถานท่ีด้านบริบทของโรงเรยี น

ด้านบริบทของโรงเรยี น x̅ S.D. ระดบั

1. การติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนมี 4.61 0.61 มากที่สุด

ความสะดวก รวดเรว็

2. การตอ้ นรบั จากโรงเรียน 4.81 0.40 มากทีส่ ุด

3. การนาเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการ 4.58 0.56 มากทีส่ ุด

สอนของโรงเรียน

4. การศกึ ษาตามสภาพจริง 4.58 0.50 มากที่สุด

รวม 4.59 0.51 มากที่สุด

เม่ือพิจารณาตาราง 4.2 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อ
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ด้านบริบทของโรงเรียน พบว่า การติดต่อประสานงานกบั ทาง
โรงเรียนมีความสะดวก รวดเร็ว การต้อนรับจากโรงเรียน การนาเสนอรูปแบบการจัดการเรียน
การสอนของโรงเรยี น และการศกึ ษาตามสภาพจริง ทกุ ด้านอยู่ในระดับมากทีส่ ุด

35

ตาราง 4.3 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อโครงการ

ศึกษาดูงานนอกสถานท่ีด้านการดาเนินการศึกษาดูงานนอกสถานที่

ดา้ นการดาเนินการศึกษาดูงานนอก x̅ S.D. ระดบั
สถานท่ี

1. การติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนมี 4.64 0.55 มากทีส่ ุด

ความสะดวก รวดเรว็

2. ก่อนการศึกษาดูงาน : ความรู้ ความ 4.06 0.67 มาก

เข้าใจในเนือ้ หาของการศึกษาดงู านในครั้งน้ี

3. หลังการศกึ ษาดงู าน : ประสบการณ์ และ 4.48 0.51 มาก

ความรทู้ ี่ได้รบั เพิ่มข้ึนจาการศกึ ษาดูงาน

4. ความเหมาะสมของสถานทีศ่ กึ ษาดงู าน 4.74 0.44 มากที่สดุ

5. ความเหมาะสมของสถานที่พักและ 4.54 0.67 มากทีส่ ุด
อาหาร

6. ความเหมาะสมโดยทัว่ ไปในการเดินทาง 4.42 0.72 มาก

7. ความเหมาะสมของระยะเวลาการศึกษา 4.32 0.65 มาก

ดูงาน

8. ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมของ 4.64 0.48 มากทีส่ ุด

วิทยากร

9. สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในการนาเสนอมี 4.51 0.56 มากที่สุด

ความทันสมยั

10. การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 4.42 0.62 มาก

ตั้งคาถาม หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ

โรงเรียนที่เข้าศกึ ษาดงู าน

11.โรงเรียนมีระบบการดาเนินงาน และการ 4.61 0.56 มากที่สดุ

จัดการทีด่ ี

รวม 4.48 0.58 มาก

จากตาราง 4.4 เม่ือพิจารณาด้านการดาเนินการศึกษาดูงานนอกสถานที่ จะเห็นได้ว่า
การติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนมีความสะดวก รวดเร็ว ความเหมาะสมของสถานที่พัก
และอาหาร ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมของวิทยากร สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในการนาเสนอ
มีความทันสมัย และโรงเรียนมีระบบการดาเนินงาน และการจัดการที่ดี อยู่ในระดับมากที่สุด
ก่อนการศึกษาดูงาน : ความรู้ หลังการศกึ ษาดูงาน : ประสบการณ์ และความรู้ทีไ่ ด้รับเพิม่ ขึ้น

36

จากการศึกษาดูงาน ความเข้าใจในเนื้อหาของการศึกษาดูงานในคร้ังนี้ ความเหมาะสม
โดยท่ัวไปในการเดินทาง ความเหมาะสมของระยะเวลาการศึกษาดูงาน และการมีส่วนร่วมใน
การแสดงความคิดเห็น ต้ังคาถาม หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโรงเรียนที่เข้าศึกษาดูงาน อยู่
ระดบั มาก

ตาราง 4.4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อโครงการ
ศึกษาดูงานนอกสถานท่ีดา้ นประโยชน์

ดา้ นประโยชน์ x̅ S.D. ระดับ

1. มีคว ามเ ข้าใจ ถึงวั ตถุป ร ะสง ค์ขอ ง 4.55 0.57 มากทีส่ ดุ

โครงการศกึ ษาดงู าน

2. มีการนาความรู้และข้อมูลที่ได้รับจาก 4.55 0.57 มากที่สุด

การศึกษาดูงานในคร้ังนี้มาประยุกต์ใช้ใน

งานที่เกี่ยวข้อง

3. การได้รับความรู้ใหม่ ๆ จากการศึกษาดู 4.55 0.51 มากที่สดุ

งานในคร้ังน้ี

4.มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผเู้ ข้าร่วม 4.55 0.62 มากทีส่ ุด

ศกึ ษาดูงาน

5.ความพึงพอใจโดยรวมต่อการเข้าร่วม 4.55 0.57 มากทีส่ ดุ

โครงการ

รวม 4.55 0.57 มากที่สุด

จากตาราง 4.4 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อโครงการ
ศึกษาดูงานนอกสถานที่ด้านประโยชน์ พบว่า มีความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการศึกษา
ดูงาน การนาความรู้และข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาดูงานในครั้งนี้มาประยุกต์ใช้ในงานที่
เกี่ยวข้อง การได้รับความรู้ใหม่ ๆ จากการศึกษาดูงานในคร้ังนี้ มีการสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างผู้เข้าร่วมศกึ ษาดงู าน และความพึงพอใจโดยรวมต่อการเข้าร่วมโครงการ ทกุ ด้านอยู่ใน
ระดับมากที่สุด

37

บทที่ 5

สรปุ ผลการศึกษาดงู าน

การศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เสริมสร้างและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์อันจะก่อให้เกิดองค์ความรู้
ใหม่ต่อการเรียนและการประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษา 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และ
ประสบการณ์ของนิสิตในการเปิดโลกทัศน์ในสังคมและวัฒนธรรม และ 3. เพื่อนาความรู้และ
ประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร
การศึกษาและการเรียนการสอนในหน่วยงานของนิสิตให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด โดยคณะ
ผู้จัดทาได้ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมศึกษาดูงานของนิสิต จานวน 33 คน โดยใช้
แบบสอบถาม ซึง่ มีการเก็บขอ้ มลู ท้ังหมด 3 ตอน ได้แก่ 1. ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 2.
ความพึงพอใจโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ของนิสิตผู้เข้าร่วมโครงการ และ 3.
ข้อเสนอแนะ ซึ่งในการประเมินความพึงพอใจในการศึกษาดูงานได้ใช้เกณฑ์ในการประเมิน 5
ระดับ ตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert Scale) ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบีย่ งเบนมาตรฐาน เปน็ สถิติในกาวิเคราะหข์ ้อมูล ซึง่ ได้สรปุ ผล อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ ดงั นี้

สรุปผล
จากการสอบถามความพึงพอใจในการศกึ ษาดูงาน ณ โรงเรียนหวั หนิ วิทยาลยั อาเภอ

หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ของนิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา สรปุ ได้ดังนี้

1. ดา้ นบริบทของโรงเรียน โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ ซึ่งการต้อนรับ
จากโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือการติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนมีความ
สะดวก รวดเร็ว ส่วนการนาเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนและการศึกษา
ตามสภาพจริง เป็นข้อทีม่ คี ่าเฉลีย่ ตา่ ทีส่ ุด

2. ด้านการดาเนินการศึกษาดูงานนอกสถานที่ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มาก ซึ่งความเหมาะสมของสถานที่ศึกษาดูงาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงที่สุด รองลงมา ได้แก่
ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมของวิทยากร การติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนมีความ
สะดวก รวดเร็ว ความเหมาะสมของสถานที่พักและอาหาร สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในการนาเสนอ
มีความทันสมัย หลังการศึกษาดูงาน : ประสบการณ์ และความรู้ที่ได้รับเพิ่มขึ้นจาการศึกษาดู
งาน การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ต้ังคาถาม หรือการแลกเปลีย่ นเรียนรู้กับโรงเรียน

38

ที่เข้าศึกษาดูงาน ความเหมาะสมโดยทั่วไปในการเดินทาง ความเหมาะสมของระยะเวลา
การศึกษาดูงาน และก่อนการศกึ ษาดงู าน : ความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาของการศกึ ษาดูงานใน
ครั้งนี้ มีคา่ เฉลีย่ อยู่ในระดับตา่ ทีส่ ุด

3. ด้านประโยชน์ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งทุกข้อที่ค่าเฉลี่ย
เท่ากัน เม่ือพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การได้รับความรู้ใหม่ ๆ จากการศึกษาดูงานใน
ครั้งนี้ เป็นข้อที่มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานน้อยที่สุด จึงสรุปได้ว่านิสิตมีความพึงใจเกี่ยวกับการ
ได้รับได้รับความรู้ใหม่ ๆ จากการศึกษาดูงานในครั้งนี้มากที่สุด รองลงมา ได้แก่ มีความเข้าใจ
ถึงวัตถปุ ระสงค์ของโครงการศึกษาดูงาน มีการนาความรู้และข้อมลู ทีไ่ ด้รบั จากการศกึ ษาดูงาน
ในคร้ังนี้มาประยุกต์ใช้ในงานที่เกี่ยวข้อง ความพึงพอใจโดยรวมต่อการเข้าร่วมโครงการ และมี
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้าร่วมศึกษาดูงาน เป็นข้อที่มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมาก
ที่สุด ดังนั้นจึงสรปุ ว่านิสติ มีการสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างผเู้ ข้าร่วมศึกษาดูงานตา่ ทีส่ ดุ

อภิปรายผล
จากการสอบถามความพึงพอใจในการศกึ ษาดงู าน ณ โรงเรียนหวั หนิ วิทยาลยั อาเภอ

หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ของนิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา อภปิ รายผลได้ดังนี้

นิสิตหลักสูตรการศึกการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยพะเยา มีความพึงใจในการการศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย อาเภอหัว
หนิ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สดุ เม่อื พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ด้านบริบทของโรงเรียน นิสิตมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะการต้อนรับจาก
โรงเรียนหัวหินวิทยาลัยเป็นอย่างดี ทางโรงเรียนเปิดโอกาสให้นิสิตได้เข้าศึกษาดูงานจากการ
จดั การเรียนรู้จริงในช้ันเรียน ทาให้ได้เห็นถึงแนวทางการพฒั นาผู้เรียนอย่างเตม็ ศักยภาพและมี
การพัฒนาผู้เรียนที่ไม่หยุดอยู่กับที่ มีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย เพื่อตอบสนอง
ความสามารถของผู้เรียนที่แตกต่างกัน อีกท้ังยังจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
นอกจากนี้โรงเรียนยังได้แสดงให้เห็นถึงแนวทางการบริหารที่แตกต่างไปจากโรงเรียนอื่นคือมี
การบริหารงานและจัดการศึกษาโดยการใช้หลักของความรักร่วมกับหลักศาสนา เพื่อการ
เป็นศาสนิกชนที่ดีของศาสนาของตนเอง ส่วนในด้านของการดาเนินการศึกษาดงู านนอกสถานที่
เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าที่สุด ท้ังนี้เน่ืองมาจากนิสิตมีความเข้าในเนื้อหาของการศึกษาดูงานใน
คร้ังนีใ้ นระดับที่ต่า ซึ่งระยะเวลาในการศึกษาดูงานมีระยะเวลาที่ส้ันเกินไป จึงมีส่วนร่วมในการ
ตั้งคาถามหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโรงเรียนมีน้อย ทาให้ประสบการณ์และความรู้ที่เกิดขึ้น
หลงั จากการศกึ ษาดงู านไม่เป็นไปตามที่นิสติ คาดหวงั

39

ขอ้ เสนอแนะ
จากการสอบถามความพึงพอใจในการศกึ ษาดูงาน ณ โรงเรียนหัวหนิ วิทยาลยั อาเภอ

หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ของนิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา มีขอ้ เสนอแนะดังน้ี

1. ควรเพิ่มระยะเวลาในการศึกษาดูงานในโรงเรียน เน่ืองจากเป็นโรงเรียนที่มีขนาด
ใหญ่ และมีการจดั การเรยี นการสอนที่หลากหลาย

2. การเดินทางไปศึกษาดูงานควรเดินทางไปด้วยกันเป็นหมู่คณะมีความเป็นหนึ่ง
เดียวกนั

3. ควรเพิ่มหน่วยงานในการศึกษาดูงานที่หลากหลาย เช่น สถานศึกษาในสังกัด
อาชีวะ หรอื สถานศกึ ษาในสงั กดั องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น

4. กิจกรรมภาพค่าควรมีระยะเวลาทีเ่ พิ่มมากขึ้นและควรมีการวางแผนกิจกรรม
5. ควรเพิม่ กิจกรรมการศกึ ษาดูงานให้มคี วามหลากหลาย
6. ทกุ ฝา่ ยควรให้ความร่วมมอื กันใหม้ ากกว่านี้

40

เอกสารอ้างอิง

บุญชม ศรสี ะอาด.(2553).การวจิ ัยเบือ้ งตน้ .(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : สรุ ีวทิ ยาสาสน์ .
โรงเรียนหวั หนิ วิทยาลยั . (2563). หลกั สูตรโรงเรยี นหัวหนิ วิทยาลัย พทุ ธศักราช 2563

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง
2560). สานกั งานศกึ ษาธิการประจวบคีรขี นั ธ์.
โรงเรียนหวั หนิ วิทยาลัย. (2563).แผนปฏิบตั ิการประจาปี โรงเรียนหัวหนิ วิทยาลยั
ปีการศึกษา 2563.
.

41

รายชือ่ คณะผู้จดั ทา

1. นายกิตตศิ กั ดิ์ แสนอุบล รหัสนสิ ติ 62206275
2. นางสาวณัฏฐณ์ ิชา ชัยนนถี รหัสนสิ ติ 62206321
3. นางสาวประกายแก้ว แก้วอินตะ๊ รหัสนสิ ติ 62206398
4. นางสาววรัชญข์ วัญ ปัญวิยะ รหัสนสิ ติ 62206523
5. นางสาวอรดี ทพิ ย์พิทยานุวัฒน์ รหสั นสิ ติ 62206602
6. นางสาวอัสนี โปราณานนท์ รหัสนสิ ติ 62206613
7. นางสาวพัชราภรณ์ นะภิใจ รหัสนสิ ติ 62206400
8. นางสาวจติ ตพ์ ิชชา จริยา รหัสนสิ ติ 62206286
9. นางสาวนันท์ดณุชยา ณภคั พงศ์ชยั รหสั นสิ ติ 62206365
10. นางสาวมัทนี คดิ วอ่ ง รหสั นสิ ติ 62206466
11. นางสาววีณา ทมิ คล้าย รหัสนสิ ติ 6220654
12. นางสาวกฤษณา บัวเนยี ม รหสั นสิ ติ 62206264
13. นางสาวฐติ วิ รดา จนั ทร์แมน รหัสนสิ ติ 62206309
14. นางสาวมยุรี รินศรี รหสั นสิ ติ 62206455
15. นางสาวศศิภรณ์ สุวรรณรัตน์ รหัสนสิ ติ 62206567
16. นางสาวพชิ ยา พานธงรกั ษ์ รหสั นสิ ติ 62206411
17. นางสาวนัยนา สุนะเสน รหสั นสิ ติ 62206376

ภาคผนวก

1. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการจดั กิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานท่ี
2. หนังสือขอความอนุเคราะหเ์ ขา้ ศึกษาดูงานโรงเรียนหวั หินวิทยาลัย
3. แบบประเมินความพึงพอใจ
4. รูปภาพ

ที่ อว 7328/1243 วทิ ยาลัยการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยพะเยา
ตําบลแมก า อาํ เภอเมืองฯ
จงั หวดั พะเยา 56000

14 กนั ยายน 2563

เรื่อง ขอความอนเุ คราะหนาํ คณะนสิ ติ ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา เขา ศึกษาดงู าน
เรียน ผอู ํานวยการโรงเรียนหัวหนิ

สงิ่ ทส่ี ง มาดวย กําหนดการการศกึ ษาดงู านจํานวน 1 ฉบับ

ตามที่ มหาวิทยาลัยพะเยา ไดเปดสอนนิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา ประจําปการศึกษา 2563 นิสิตตองไดรับความรูจากการศึกษาดูงาน เพ่ือประโยชนในการเรียนการสอน
และเปนการเสริมสรางประสบการณที่จะสงผลตอการประยุกตใชกับการทํางานตอไป ตลอดจนเปนการเสริมสราง
วิสัยทัศนของตนเองโดยการเรียนรูจากประสบการณจริง มหาวิทยาลัยฯ จึงไดจัดโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่
ของนิสิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษาข้นึ ในระหวา งวันท่ี 7-11 ตลุ าคม 2563

ในการน้ี มหาวิทยาลัยพะเยา ไดพิจารณาแลวเห็นวา โรงเรียนของทานเปนองคกรท่ีมีความพรอม
และมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในการถายทอดความรูเทคนิควิธีตาง ๆ เพ่ือเปนวิทยาทานใหกับนิสิตไดเปนอยางดี
มหาวทิ ยาลัยพะเยา จึงใครขอความอนุเคราะหนําคณะนสิ ิตปรญิ ญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เขาศกึ ษาดูงาน
ในวันที่ 8 ตุลาคม 2563 เวลา 13.30 – 15.00 น. ในเรื่องการบริหารการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
ซง่ึ คณะศกึ ษาดูงานคร้ังนี้ มจี ํานวนทง้ั หมด 34 คน โดยมี ดร.ธารารัตน มาลัยเถาว เปนอาจารยผูรับผิดชอบรายวชิ า
ทัง้ นห้ี ากตอ งการขอ มลู เพม่ิ เติม สอบถามไดท ีน่ ายอนพุ นธ คาํ หลา เบอรโทรศพั ท 08-6217-8687

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดพิจารณาใหความอนเุ คราะหเ ขาศกึ ษาดูงานดังกลาวฯ จะขอบคุณย่งิ

ขอแสดงความนบั ถอื

(ผชู วยศาสตราจารย ดร.สนุ ทร คลา ยอํ่า)
รองคณบดฝี า ยคณุ ภาพนสิ ติ รกั ษาการแทน

คณบดวี ิทยาลยั การศกึ ษา

ฝายวชิ าการ
โทร. 0-5446-6666 ตอ 1375
โทรสาร 0-5446-6691

คำสัง่ กำรศึกษำมหำบณั ฑิต (กำรบริหำรกำรศกึ ษำ)

เรือ่ ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การจัดกิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่
หลักสตู รการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา
ณ หัวหิน จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ประจาปีการศึกษา 2563

*************************************************

ด้วยนิสิตปริญญาโท ช้ันปีที่ 2 หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชากาบริหารการศึกษา

กาหนดใหม้ ีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ ณ หัวหิน จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ ประจาปีการศึกษา 2563 ใน

ระหว่างวันที่ 7 – 9 ตุลาคม พ.ศ.2563 ณ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

เสริมสร้างและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์อันจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ต่อการเรียนและการ

ประยุกต์ใช้ในการบริหารการศกึ ษา เพื่อเพิ่มพนู ความรู้และประสบการณ์ของนิสิต เปน็ การเปิดโลกทศั น์

ในสังคมและวัฒนธรรม และภาษาทีแ่ ตกต่างกันและเพื่อนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษา

แหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษาและการเรียนการสอนในหน่วยงานของ

นิสติ ให้เกิดผลประโยชน์สูงสดุ

เพื่อให้การดาเนินการการจัดศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ตามความมุ่งหมาย ขอแต่งต้ังบุคคล

ดังตอ่ ไปนเี้ ป็นคณะกรรมการดาเนนิ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาดูงาน ดงั น้ี

1. คณะกรรมกำรอำนวยกำร

1.1 นายอนพุ นธ์ คาหล้า ประธานกรรมการ

1.2 นางธิดาพร สร้อยสังวาลย์ รองประธานกรรมการ

1.3 นายดนยั ใจเย็น รองประธานกรรมการ

1.4 นายบัญชา แสงอรณุ กรรมการ

1.5 นายวิศรฬุ ห์ เทพสรุ ินทร์ กรรมการ

1.6 วา่ ทร่ี .ต.หญิงเจนจิรา ตัวลอื กรรมการ

1.7 นางสาวมทั นี คิดว่อง กรรมการ

1.8 นายสรัลรัชล์ ดอนมลู กรรมการ

1.9 นางสาวกฤษณา บวั เนียม กรรมการและเลขานกุ าร

1.10 นางสาวจิตพิชชา จรยิ า กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มีหนำ้ ท่ี

ดาเนินการจัดการศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ

บริหารการศกึ ษา ใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ คอยประสานงาน ช่วยเหลือ ร่วมมือ

แก้ไขปญั หาต่างๆใหเ้ รียบร้อย

2.คณะกรรมกำรฝำ่ ยวิชำกำร

2.1 นายดนยั ใจเย็น ประธานกรรมการ

2.2 ว่าที่ร.ต.หญิงเจนจริ า ตวั ลือ รองประธานกรรมการ

2.3 นางสาวอรดี ทิพย์พิทยานุวัฒน์ รองประธานกรรมการ

2.4 นายกิตตศิ กั ดิ์ แสนอุบล กรรมการ

2.5 นายณรงค์ อินดี กรรมการ

2.6 นางสาวณัฏฐ์ณิชา ชยั นนที กรรมการ

2.7 สิบเอกนพดล สมทรัพย์ กรรมการ

2.8 นางสาวนันท์ดณชุ ยา ณภคั พงศ์ชยั กรรมการ

2.9 นางสาวประกายแก้ว แก้วอินตะ๊ กรรมการ

2.10 นางสาวพัชราภรณ์ นะภใิ จ กรรมการ

2.11 พระมหาภัทรดนยั กาจดั กรรมการ

2.12 นางสาววรัชญ์ขวญั ปญั วิยะ กรรมการ

2.13 นางสาวอัสนี โปราณานนท์ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้ำท่ี

แบ่งเป็น 2 กลุ่ม เพื่อเก็บข้อมูล เอกสาร งานต่างๆ การจัดการเรียนรู้ของแต่ละโรงเรียนเพื่อ

เตรียมความพรอ้ มในการนาข้อมลู กลับมาจดั การนาเสนอ

3. คณะกรรมกำรฝ่ำยกิจกรรม

3.1 นายวิศรุฬห์ เทพสรุ ินทร์ ประธาน

3.2 นายบญั ชา แสงอรณุ รองประธาน

3.3 นายภาคิน เกษณา กรรมการ

3.4 นายรณชยั ปินใจ กรรมการ

3.5 นายฤทธิชัย สขุ แก้ว กรรมการ

3.6 นายศราวฒุ ิ จนิ ดา กรรมการ

3.7 นางสาวฐิติวรดา จันทร์แมน กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้ำท่ี

เตรียมความพร้อม ประสานงาน ส่งเสริมกิจกรรมบันเทิงและการแสดง ดาเนินกิจกรรมพิเศษ

ต่างๆที่ส่งเสริมความสามัคคีของหมู่คณะและการเตรียมของขวัญ ในการจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์

ให้เรียบร้อย สมบูรณ์

4. คณะกรรมกำรผ่ำยปฏิคม

4.1 นางสาวมัทนี คิดว่อง ประธาน

4.2 นางสาววีณา ทิมคลา้ ย กรรมการ

4.3 นางสาวมยุรี รินศรี กรรมการ

4.4 นางสาววรรณนิช ขดั จา กรรมการ

4.5 นางยพุ ิณ อังกูรพร กรรมการและเลขานุการ

มีหน้ำท่ี

เตรียมความพร้อม จัดหาและบริการในการเตรียมสถานที่ ดูแลอาจารย์และอานวยความ

สะดวกในการจัดศึกษาดูงานนอกสถานที่ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร

การศกึ ษา