แผนบริหารความเสี่ยง 2565 โรงเรียน

แผนบริหารความเสี่ยง 2565 โรงเรียน

ในการบริหารสถานศึกษา มีงานด้านบริหารการเงินและงบประมาณที่โรงเรียนต้อง มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยใช้กระบวนควบคุมภายในเพื่อ คาน ตรวจสอบ และบริหารความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ต่อโครงการในแผนปฏิบัติราชการ หรือ การบริหารงานด้านอื่น แผนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน  จึงเป็นเครื่องมือสำคัญ ที่จะทำให้สามารถ คาดการณ์ ควบคุม และดำเนินไปอย่างรอบคอบ โปร่งใส และตรวจสอบได้

ตัวอย่าง แผนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาโรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถัมภ์ สพป. สมุทราปราการ เขต 1

ความรู้เพิ่มเติม (วิดีโอ)

เอกสารกรมบัญชีกลาง

ตัวอย่าง เทศบาลนครยะลา

ตัวอย่าง โรงเรียนบ้านดงใหญ่ ด้านวิชาการ การอ่าน การเขียน

แผนบริหารความเสี่ยง 2565 โรงเรียน

ต้องขอขอบคุณครู Kroo CStat ที่เผยแพร่ในกลุ่ม

Back to top button

คำนำ การบริหารความเสย่ี งถือเป็นหน้าท่ีของทุกคนในองค์กร ตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานทุก ระดับ เพราะการบรหิ ารความเสยี่ งที่มีประสิทธภิ าพต้องเร่ิมจากการกาหนดกลยุทธ์ด้วยการ มองภาพรวมทั้งหมด ขององค์กร โดยคานงึ ถงึ เหตุการณ์หรือปัจจัยเส่ียงท่ีจะส่งผลกระทบโดยรวม แล้วกาหนด แผนการบริหารจัดการ ความเส่ยี ง เพ่ือจดั การความเส่ยี งให้อยู่ในระดับท่ีสามารถยอมรับได้ แผนบรหิ ารความเสยี่ ง จึงเป็นเครอื่ งมอื สาคญั ที่ จะช่วยให้การบริหารงานและการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น การวางแผน การกาหนดกลยุทธ์ การติดตาม ควบคุม และวัดผลการปฏบิ ัตงิ านตลอดจนการใช้ทรัพยากรตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสมมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น ลดการ สญู เสยี และโอกาสท่จี ะทาใหเ้ กิดความเสียหายแก่องคก์ ร ภายใต้การดาเนินงานทุกองคก์ รลว้ นแตม่ คี วามเสยี่ ง ซ่ึงเปน็ ความไม่แน่นอนที่อาจจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานหรือเป้าหมาย จึงจาเป็นต้องมีการจัดการความเส่ียง เหลา่ นัน้ อยา่ งเป็นระบบ โดยการระบุความเสย่ี งว่ามีปัจจยั เสยี่ ง ใดบ้างท่กี ระทบต่อการดาเนนิ งานหรือเปา้ หมายของ องค์กรวิเคราะหค์ วามเสยี่ งจากโอกาสและผลกระทบที่ เกดิ ขึ้น จดั ลาดับความสาคัญของความเส่ียง กาหนดแนวทาง ในการจดั การความเส่ียง และต้องคานงึ ถึงความ คุ้มคา่ ในการจัดการความเส่ยี งอยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ี ตามพระราชบญั ญตั วิ ินัยการเงนิ การคลังของรฐั พ.ศ. 2561 มีผลบงั คบั ใช้เม่ือ วันท่ี 20 เมษายน 2561 โดยมาตรา 79 ให้หนว่ ยงานของรฐั จดั ให้มกี ารตรวจสอบภายใน การควบคมุ ภายใน และการบริหารจัดการ ความเส่ียง โดยใหถ้ อื ปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ ทีก่ ระทรวงการคลงั กาหนด ประกอบกับกระทรวงการคลงั ไดอ้ อกหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐาน และหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับ หนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๖๒ เม่ือวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๒ ให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติ ดังน้ันเพื่อให้ผู้บริหาร และเจา้ หนา้ ทผี่ ู้ปฏิบัตงิ านมีความเขา้ ใจถึงกระบวนการบรหิ ารจัดการความเส่ียง สามารถดาเนินการบริหารจัดการ ความเส่ียงตามแผนท่ีกาหนดไว้เพ่ือลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสท่ีจะทา ให้เกิดความเสียหายหรือผลกระทบที่จะ เกิดขน้ึ ในอนาคตใหอ้ ยู่ในระดับทส่ี ามารถยอมรับได้ แผนบริหารความเสี่ยงฉบับน้ี จะบรรลุวัตถุประสงค์ตามความคาดหวังได้ก็ต่อเมื่อได้มีการนา แผนไปสู่การ ปฏิบัติอยา่ งเป็นรูปธรรมของผู้บรหิ ารและเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานทุกส่วนราชการที่จะให้ความ ร่วมมือในการนาไป ดาเนนิ การตอ่ อย่างจริงจัง และหวังเปน็ อย่างย่ิงว่าแผนการบรหิ ารจัดการความเสยี่ งฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์กับการ ปฏิบตั ิงานของบุคลากรทเ่ี ก่ียวข้องทุกระดบั รวมท้งั เปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนางาน ของโรงเรยี นบา้ นแพะต่อไป คณะกรรมการบริหารจดั การความเสี่ยง โรงเรยี นบา้ นแพะ

สารบัญ หนำ้ คานา 1 สว่ นที่ 1 บทนา 2 2 หลกั การและเหตผุ ล 3 วตั ถุประสงคใ์ นการจัดทานโยบายบรหิ ารความเสย่ี ง 5 ประโยชนข์ องการบรหิ ารความเสยี่ ง ความหมายและคาจากัดความ 6 ระดบั ความเสี่ยง สว่ นท่ี 2 กระบวนการบริหารความเส่ยี งของโรงเรยี นบ้านแพะ 7 กระบวนการบรหิ ารความเส่ียง 8 แผนผังภาพรวมของแนวนโยบายการบรหิ ารความเสี่ยง 8 ในการนานโยบายลงไปส่กู ารปฏิบตั ิ 8 การระบคุ วามเสย่ี ง 11 การวเิ คราะห์ความเส่ียง 12 การประเมนิ ความเสยี่ ง 12 การจดั การความเสีย่ ง 12 รายงานความเส่ียง และติดตามผล การประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสี่ยง 13 การทบทวนการบรหิ ารความเสี่ยง 13 สว่ นที่ 3 แผนบรหิ ารความเสยี่ งของโรงเรียนบา้ นแพะ 18 การคดั เลือก โครงการ/กิจกรรม แผนบรหิ ารความเสยี่ งของโรงเรียนบา้ นแพะ ภาคผนวก คาส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการ จัดทาแผนบรหิ ารจัดการความเส่ยี ง

1 แผนบริหารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ส่วนที่ 1 บทนา 1. หลักการและเหตผุ ล ดว้ ยพระราชบญั ญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20เมษายน 2561 โดยมาตรา 79 ใหห้ น่วยงานของรัฐจดั ใหม้ กี ารตรวจสอบภายใน การควบคมุ ภายในและการ บรหิ ารจดั การความเสยี่ ง โดย ใหถ้ ือปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลังกาหนด ประกอบ กับกระทรวงการคลังได้ออกหลักเกณฑ์ กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหาร จัดการความเสี่ ยงสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๒ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๒ ให้หนว่ ยงานของรัฐถือปฏิบตั ิ ซึ่งการบริหารความเส่ียง ถือเป็นกระบวนการที่ใช้ใน การบริหารจดั การเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดขึ้นและส่งผล กระทบต่อหน่วยงานของรัฐ และเพื่อให้ หน่วยงานของรัฐสามารถ ดาเนินการใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ รวมถึงการ เพ่มิ ศกั ยภาพและขีดความสามารถให้หน่วยงานของรฐั การบริหารความเสยี่ ง ถือเป็นส่วนหนึง่ ของกรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการอนั สอดคล้องกบั หลกั การบรหิ าร กจิ การบา้ นเมอื งทีด่ ี และยงั ถอื เป็นสว่ นหนงึ่ ของการบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ในการเพมิ่ โอกาสและชว่ ยให้ ส่วน ราชการตา่ ง ๆ สามารถเปา้ ประสงคแ์ ละพนั ธกิจทแ่ี ตล่ ะหน่วยงานได้กาหนดไว้ อันสง่ ผลต่อการพฒั นาความก้าวหน้า ใน การปฏบิ ตั ิของหน่วยงาน เป็นกระบวนการ ระบุ ประเมนิ จดั การ และควบคมุ เหตุการณห์ รอื สถานการณ์ ทไี่ ม่พงึ ประสงค์ ท่ีอาจเกิดขึ้น เพ่ือใหค้ วามเชือ่ มน่ั อย่างสมเหตสุ มผลว่าหนว่ ยงานของ รัฐสามารถบรรลเุ ปา้ หมาย จากความหมายดังกล่าวจะเหน็ ไดว้ า่ การบริหารความเสี่ยงถือเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญท่ีจะช่วย ให้องค์กร สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ หรือช่วยบรรเทาภาวะวิกฤติท่ีองค์กรเผชิญอยู่ได้ และยัง เช่ือมโยงกับ วัตถุประสงค์ขององค์กรในการกาหนดแนวทางการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ขณะเดียวกัน การบริหาร ความเสี่ยงจะเป็นการกาหนดวิธีการที่จะรับมือกับผลกระทบท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ของปัจจัยต่าง ๆ อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ เปา้ หมายที่สาคญั ของงานตรวจสอบภายในอย่างหนึง่ คอื การให้ ความเหน็ ต่อผู้บรหิ ารวา่ ระบบ การควบคมุ ภายในการกากบั ดแู ล รวมถงึ ระบบการบริหารความเสย่ี งวา่ มีความ เพยี งพอและเหมาะสมทจี่ ะทาให้ องค์กรม่นั ใจได้ว่าจะ สามารถบรรลตุ ามเปา้ หมายขององค์กรอย่างสมเหตุสมผล ขอบเขตของงานตรวจสอบภายใน ต้องกาหนดวัตถุประสงค์ การวางแผน การปฏบิ ัติตามแผน รวมถงึ การ ควบคุม และตดิ ตามเพ่อื การประเมินผลงาน ผตู้ รวจสอบภายในต้องแสดงให้ เหน็ ว่าไดป้ ฏบิ ัตงิ านตาม มาตรฐานสากลทย่ี อมรับทัว่ ไป เพือ่ สร้างความมัน่ ใจแก่องคก์ ร ว่างานทป่ี ฏิบัติอยู่น้ันจะสนับสนุน ให้องค์กร สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือผู้ตรวจสอบภายในได้กาหนดแผนงาน ตรวจสอบ (Audit Plan) แล้ว เพ่ือให้เกิดความมั่นใจว่าจะสามารถ บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ผู้ ตรวจสอบภายในต้องกาหนดแผนภายใต้วิธีการบริหารความเสี่ยงท่ีเหมาะสม ซ่ึงการประเมินความเสี่ยงต้อง ทาให้ ครอบคลุมทกุ กระบวนการของงานตรวจสอบภายใน ตง้ั แตเ่ ร่มิ ตน้ กาหนดเป้าหมาย จนถงึ การติดตามผล การตรวจสอบ ผู้ ตรวจสอบภายในตอ้ งเขา้ ใจว่างานตรวจสอบภายใน ไม่เพยี งมุ่งเน้นที่การตรวจสอบ เอกสารว่ามีการอนุมัติถูกต้อง มีการ จัดเก็บเอกสารท่ีสมบูรณ์ แต่งานตรวจสอบภายในต้องมุ่งเน้นที่การตรวจสอบไปที่การ ประเมินระบบงานว่ามีความ เหมาะสมตอ่ การบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์หรือเปา้ หมายหรอื ไม่ รวมท้ังการคน้ หาว่า อะไรเป็นอุปสรรคหรือปัญหาสาคัญต่อ การบริหารงานขององคก์ ร ซ่ึงหมายถงึ การเขา้ ถงึ ความเส่ียงที่อาจเกิดขึ้น ภายในองค์กร และการเตรียมความพร้อมเพ่ือ รับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อการบรรลุตามเป้าหมาย ขององค์กรและเพ่ือการกากับดูแลกิจการท่ีดีและ ประสิทธภิ าพตอ่ ไปเพื่อตอบสนองสง่ิ ดังกลา่ วจึงต้องทาการประเมิน ความเส่ียงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทราบว่ามีปัจจัยหรือ เหตุการณใ์ ดบ้างทีจ่ ะสง่ ผลกระทบให้งานตรวจสอบภายใน ไม่สามารถบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ จากลกั ษณะของการบรหิ าร ความเสี่ยง การตรวจสอบภายในและการควบคมุ ภายในท่ี กล่าวมาแลว้ จะเหน็ วา่ เป็นความสัมพันธแ์ ละความเก่ียวข้องท่ีไม่ อาจแยกจากกัน ได้ นอกจากการตรวจสอบภายใน ภายใต้หลกั การบรหิ ารความเส่ียงแล้วผู้ตรวจสอบภายในจะมีส่วนช่วย ในการ วิเคราะหห์ าความเสีย่ ง เพอ่ื ให้ข้อมลู กับฝ่ายบริหารในการกาหนดแนวทางแกไ้ ขหรอื ปอ้ งกันไม่ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย

2 แผนบรหิ ารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 นโยบายการบริหารความเส่ียงองค์กร (Enterprise risk Management policy) โรงเรียนบ้านแพะ ฉบับน้ี ได้ จดั ทาข้นึ เพื่อให้ขา้ ราชการ พนักงาน ลูกจา้ งประจา และพนักงานจา้ งในสังกัดโรงเรียนบ้านแพะ สามารถนาไปปรับใช้ ใน การตอบสนองและปฏิบัติงานในภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ซึ่งอาจ ส่งผลให้โรงเรียนบ้านแพะไม่สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างต่อเน่ืองใหส้ ามารถมาปฏิบัติงานใน “งานบริการหลักท่ี มีความสาคญั ” ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ อยา่ งมีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ที่ไดว้ างไว้ 2. วัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดทานโยบายการบรหิ ารความเส่ียง 1. เพ่ือให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในสังกดั โรงเรียนบา้ นแพะ ได้มคี วามร้คู วาม เข้าใจเทคนิคและวธิ ี การบริหารจัดการสมยั ใหมใ่ นเร่อื งการบรหิ ารความเสี่ยงของภารกิจหลักตามกฎหมายจัดตั้ง ส่วนราชการ และโครงการ ตามแผนการปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ ทเ่ี ปน็ โครงการตามยทุ ธศาสตร์ 2. เพ่ือใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านไดร้ ับทราบข้ันตอนและกระบวนการในการวางแผนบรหิ ารความเสีย่ งของ กจิ กรรม / โครงการทห่ี นว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ และสามารถแกไ้ ขปัญหาหรอื ผลกระทบจากปจั จัยความเส่ยี งด้าน ต่าง ๆ ใหก้ าร ดาเนนิ งานของกจิ กรรม / โครงการน้ัน เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของสถานศึกษา 3. เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานมกี ารนาระบบการบรหิ ารความเสยี่ งไปใชอ้ ยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอื่ งในการ ประเมนิ กจิ กรรม / โครงการ และการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ติ ามแผนการบรหิ ารความเส่ยี งเพอื่ นาไป พฒั นาระบบการ ทางานของหนว่ ยงานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ 4. เพ่อื ลดผลกระทบจากการหยดุ ชะงกั ในการปฏบิ ัตงิ านหรือการใหบ้ รกิ ารของโรงเรียนบา้ นแพะ 5. เพอ่ื บรรเทาความเสียหายใหอ้ ยู่ในสภาพท่ียอมรบั ได้ และลดระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบที่ เกิดข้นึ 6. เพอ่ื ใหผ้ ู้รบั บริการและผมู้ สี ว่ นได้เสียของโรงเรยี นบา้ นแพะ มีความเชอ่ื มน่ั ในศกั ยภาพของ โรงเรียนบา้ นแพะแม้ต้องเผชญิ กบั เหตุการณร์ า้ ยแรง และสง่ ผลกระทบจนทาใหก้ ารดาเนนิ งานของโรงเรยี น บ้านสบลีตอ้ งหยดุ ชะงกั 7. เพ่อื ใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านได้รับทราบ และดาเนนิ การจดั การความเสย่ี งทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 8. เพ่ือใหม้ กี ารปฏิบัตติ ามกระบวนการบรหิ ารความเส่ยี งอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอื่ ง 3. ประโยชน์ของการบริหารความเส่ียง การดาเนนิ การบรหิ ารความเสย่ี งจะชว่ ยผบู้ รหิ ารมขี ้อมลู ที่ใช้ในการตดั สินใจได้ดียิ่งข้ึน และทาให้ องคก์ ร สามารถ จดั การกบั ปญั หาอปุ สรรคและอยรู่ อดได้ในสถานการณท์ ไี่ มค่ าดคดิ หรือสถานการณท์ อี่ าจทาใหอ้ งคก์ ร เกดิ ความเสียหาย ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั จากการดาเนนิ การบรหิ ารความเสีย่ ง มดี งั นี้ 1. ชว่ ยสร้างโอกาสและเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการบริหารงาน 2. ตระหนักถงึ ภยั คุกคามท่ียงั มาไมถ่ งึ และลดการสูญเสยี ทอ่ี าจเกิดขน้ึ ได้ 3. ชว่ ยปกป้องการปฏบิ ัตงิ าน ปรบั ปรงุ ระบบงาน และการวางแผน 4. สร้างฐานขอ้ มลู ความรู้ท่ีมปี ระโยชน์ตอ่ การบรหิ าร และการปฏิบตั ิงานในองค์กร 5. ชว่ ยสะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพรวมของความเส่ียงตา่ ง ๆ ทสี่ าคญั ขององคก์ รไดท้ ัง้ หมด 6. สรา้ งคุณคา่ ให้การทางาน และสร้างภาพลักษณท์ ี่ดใี ห้องค์กร 7. เปน็ เครอื่ งมือทีส่ าคัญในการบรหิ ารงานและชว่ ยให้การพัฒนาองคก์ รเป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั 8. ช่วยให้การพฒั นาการบริหารและจัดสรรทรพั ยากรเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล 9. สนบั สนุนการตัดสินใจของผบู้ รหิ ารและมองเปา้ หมายในภาพรวม 10. ช่วยใหอ้ งคก์ รสามารถบรรลเุ ปา้ หมาย ในขณะทล่ี ดอปุ สรรคหรือสงิ่ ทไ่ี ม่คาดหวังทอี่ าจเกิดขึ้นทงั้ ใน การ ป้องกันความเสยี หายตอ่ ทรพั ยากรขององค์กร และสร้างความม่ันใจในการรายงานและการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ

3 แผนบรหิ ารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ความหมายและคาจากดั ความ นโยบาย (Policy) หมายถึง หลกั การและวธิ ีปฏบิ ัตซิ ึง่ ถือเปน็ แนวดาเนินการ ความเส่ียง (Risk) หมายถึง โอกาสท่ีจะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การร่ัวไหล ความสูญเปล่า หรือ เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งอาจเกิดข้ึนในอนาคต และมีผลกระทบ หรือทาให้การดาเนินงานไม่ประสบ ความสาเร็จตาม วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายขององค์กร ทัง้ ในด้านยุทธศาสตร์ การปฏิบัติงานการเงิน และการ บริหาร ซ่ึงอาจเป็นผลกระทบ ทางบวกดว้ ยกไ็ ด้ โดยวัดจากผลกระทบ (Impact) ทไี่ ดร้ บั และโอกาส ทจี่ ะเกิด (Likelihood) ของเหตกุ ารณ์ ประเภทของความเสย่ี งจาแนกได้เปน็ 4 ลกั ษณะ ดังนี้ ลักษณะที่ 1 Strategic Risk – ความเสี่ยงท่ีเกี่ยวข้องในระดับยุทธศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการบรรลุเป้าหมายและ พันธกิจในภาพรวม โดยความเสีย่ งท่อี าจจะเกิดข้ึนเป็นความเสี่ยงเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ ภายนอก สง่ ผลต่อกลยทุ ธท์ ่ีกาหนดไว้ไม่สอดคลอ้ งกับประเด็น ยุทธศาสตร์/วิสัยทศั น์ หรอื เกดิ จากการกาหนดกลยทุ ธ์ท่ขี าดการ มสี ว่ นรว่ มจากภาคประชาชนหรือการร่วมมือ กับองค์กรอิสระ ทาให้โครงการขาดการยอมรับและโครงการไม่ได้นาไปสู่การ แก้ไขปัญหาหรือการตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผูบ้ รหิ ารหรือผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี อย่างแท้จรงิ หรือเป็นความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้น จากการตดั สนิ ใจ ผิดพลาดหรือนาการตัดสนิ ใจน้นั มาใช้อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง ลกั ษณะท่ี 2 Operational Risk – ความเส่ียงทเ่ี กีย่ วขอ้ งในระดับปฏิบัตกิ าร/ดาเนินงาน เกยี่ วข้องกับประสิทธภิ าพ ประสิทธิผลหรือผลการปฏิบตั ิงาน โดยความเสี่ยงทอี่ าจเกิดข้นึ เปน็ ความเส่ียง เน่อื งจากระบบงานภายในขององค์กร/ กระบวนการ/เทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมท่ีใช/้ บคุ ลากร/ความเพียงพอของ ข้อมลู ส่งผลตอ่ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการ ดาเนนิ โครงการ ลกั ษณะที่ 3 Financial Risk – ความเส่ียงทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ดา้ นการเงิน เป็นความเสีย่ งเกีย่ วกบั การบรหิ ารงบประมาณและการเงิน เชน่ การบรหิ ารการเงินไม่ถูกตอ้ ง ไมเ่ หมาะสม ทาให้ ขาด ประสทิ ธิภาพ และไม่ทันตอ่ สถานการณ์หรอื เป็นความเสย่ี งที่เก่ยี วขอ้ งกบั การเงนิ ขององค์กรเช่นการ ประมาณการ งบประมาณ ไม่เพยี งพอและไมส่ อดคลอ้ งกบั ขัน้ ตอนการดาเนนิ การเป็นตน้ เนื่องจากขาดการจดั หา ข้อมลู การวเิ คราะห์ การวางแผน การ ควบคมุ และการจดั ทารายงานเพอื่ นามาใช้ในการบริหารงบประมาณและ การเงนิ ดังกลา่ ว ลักษณะท่ี 4 Compliance Risk – ความเสีย่ งทเี่ ก่ียวข้องกบั การปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นความเส่ยี งทเ่ี ก่ียวข้องกับการปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบตา่ งๆ โดยความเส่ียงทีอ่ าจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยง เนอ่ื งจากความไม่ ชดั เจน ความไมท่ ันสมยั หรอื ความไม่ครอบคลมุ ของกฏหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับตา่ งๆ รวมถงึ การทานติ ิกรรมสัญญา การ รา่ งสญั ญาท่ไี ม่ครอบคลุมการดาเนินงาน ปัจจยั เสยี่ ง (Risk Factor) หมายถึง ตน้ เหตุ หรือสาเหตทุ มี่ าของความเส่ยี ง ทจ่ี ะทาให้ไม่บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ ทก่ี าหนดไวโ้ ดยตอ้ งระบไุ ดด้ ้วยวา่ เหตกุ ารณน์ น้ั จะเกิดที่ไหน เมื่อใด และเกิดข้ึนได้อย่างไร และ ทาไม ทั้งนี้สาเหตุของ ความ เส่ียงทร่ี ะบคุ วรเป็นสาเหตทุ ่ีแท้จรงิ เพอื่ จะไดว้ เิ คราะหแ์ ละกาหนดมาตรการลดความเสี่ยงในภายหลงั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการระบุความเส่ียง การวิเคราะห์ ความเส่ยี ง และจดั ลาดบั ความเส่ียง โดยการประเมินจากโอกาสทจี่ ะเกดิ (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) โอกาสท่ีจะเกดิ (Likelihood) หมายถึง ความถ่หี รอื โอกาสทจ่ี ะเกดิ เหตกุ ารณค์ วามเสีย่ งผลกระทบ (Impact) หมายถึง ขนาดความรนุ แรง ของความเสยี หายทจี่ ะเกดิ ข้ึนหากเกดิ เหตกุ ารณ์ความเสยี่ งระดบั ของ ความเสยี่ ง (Degree of Risk) หมายถงึ สถานะของ ความเสีย่ งทไี่ ด้จากประเมินโอกาสและผลกระทบของแตล่ ะ ปัจจัยเส่ยี ง แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ สูง ปานกลาง และตา่ การบรหิ ารความเส่ียง (Risk Management) หมายถงึ กระบวนการท่ีใชใ้ นการบรหิ ารจัดการใหโ้ อกาสทจ่ี ะเกิด เหตุการณ์ความเส่ียงลดลง หรือผลกระทบของความเสยี หายจากเหตกุ ารณค์ วามเสีย่ งลดลงอยู่ ในระดบั ทีอ่ งค์กรยอมรับได้ ซงึ่ การจดั การความเส่ยี งมหี ลายวธิ ี ดังน้ี - การยอมรบั ความเสีย่ ง (Risk Acceptance) เปน็ การยอมรบั ความเส่ยี งทเี่ กดิ ขึ้นเนอื่ งจาก ไมค่ ุม้ ค่า

4 แผนบริหารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ในการจดั การควบคุมหรอื ป้องกันความเส่ียง - การลด/การควบคุมความเส่ียง (Risk Reduction) เปน็ การปรบั ปรุงระบบการทางาน หรอื การออกแบบ วิธกี ารทางานใหม่ เพ่ือลดโอกาสทจ่ี ะเกิด หรือลดผลกระทบ ใหอ้ ยู่ในระดบั ท่ีองคก์ รยอมรับได้ - การกระจายความเส่ยี ง หรือการโอนความเสย่ี ง (Risk Sharing) เปน็ การกระจายหรือถ่ายโอนความเสย่ี ง ใหผ้ ู้อ่ืนชว่ ยแบง่ ความรบั ผดิ ชอบไป - การหลีกเล่ยี งความเส่ยี ง (Risk Avoidance) เป็นการจัดการกบั ความเสี่ยงทอ่ี ยู่ใน ระดับสูง และหน่วยงานไมอ่ าจยอมรบั ได้ จงึ ต้องตัดสนิ ใจยกเลกิ โครงการ/ กจิ กรรม นนั้ ไป การบริหารความเส่ียงท่ัวทงั้ องค์กร (Enterprise Risk Management) หมายถงึ การบริหาร ปจั จัย และควบคมุ กจิ กรรม รวมท้งั กระบวนการดาเนินงานตา่ งๆ เพอ่ื ลดมลู เหตขุ องแต่ละโอกาสที่องคก์ รจะเกดิ ความเสียหาย ให้ระดบั ของความ เส่ียงและผลกระทบท่จี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคตอยู่ในระดบั ทีอ่ งคก์ รยอมรับได้ ประเมนิ ได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อยา่ งมีระบบ โดยคานงึ ถงึ การบรรลเุ ป้าหมาย ท้งั ในดา้ นกลยุทธ์การ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ การเงนิ และความไมแ่ น่นอนจากปจั จัยภายนอก โดยได้รบั การสนบั สนุนและการมสี ่วน ร่วมในการบรหิ ารความเสย่ี งจากหนว่ ยงานทกุ ระดบั ทัว่ ทง้ั องคก์ ร ความไมแ่ น่นอน หมายถงึ ความเปลี่ยนแปลง ไมค่ งท่ดี งั เดมิ ตลอดกาล หรอื หมายถงึ ผลเหตกุ ารณ์ และส่งิ ต่าง ๆ ทม่ี ี โอกาสเกิดขึน้ ได้ทั้งทเ่ี ปน็ ไปตามความคาดหมาย หรือนอกเหนอื ความคาดหมาย เชน่ ภมู อิ ากาศ อบุ ัตภิ ยั ต่าง ๆ ปญั หา หมายถึง สิ่งทเี่ กิดข้ึนและมักจะสง่ ผลในทางลบ เป็นอุปสรรคตอ่ เป้าหมายการดาเนินการ จาเปน็ ตอ้ งมีการ แกไ้ ข เพราะมิเช่นนนั้ ปญั หาดังกล่าวอาจกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายตามมาปญั หาอาจมไิ ด้เกิดจาก สาเหตุของความเสี่ยงเสมอไป หรืออกี นัยหนงึ่ ก็คอื ผลใดๆก็ตามทเ่ี กิดจากความเส่ยี งอาจไมไ่ ด้กลายเป็นปญั หา เสมอไป เพราะอาจมีทัง้ เชงิ บวกและเชงิ ลบ หรอื ถ้าเปน็ เชงิ ลบ กอ็ าจมีความเสยี หายมาก – นอ้ ย แตกตา่ งกัน การควบคมุ (Control) หมายถงึ นโยบาย แนวทาง หรอื ขนั้ ตอนปฏบิ ตั ิตา่ งๆ ซงึ่ กระทาเพ่อื ลด ความเสี่ยง และทาให้ การดาเนินการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ แบง่ ได้ 4 ประเภท คือ - การควบคุมเพอ่ื การป้องกนั (Preventive Control) เปน็ วธิ กี ารควบคมุ ที่กาหนดขน้ึ เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสีย่ ง และขอ้ ผดิ พลาดต้งั แตแ่ รก - การควบคมุ เพื่อให้ตรวจพบ (Detective Control) เปน็ วธิ ีการควบคมุ ท่ีกาหนดขึน้ เพอ่ื คน้ พบ ขอ้ ผิดพลาดทเี่ กิดขน้ึ แลว้ - การควบคมุ โดยการช้ีแนะ (Directive Control) เป็นวิธกี ารควบคุมทสี่ ง่ เสรมิ หรอื กระตุ้นให้ เกดิ ความสาเรจ็ ตาม วตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี อ้ งการ - การควบคมุ เพ่อื การแก้ไข (Corrective Control) เป็นวธิ ีการควบคุมที่กาหนดข้นึ เพอื่ แก้ไข ขอ้ ผิดพลาด ท่ีเกิดข้นึ ให้ ถกู ตอ้ ง หรอื เพื่อหาวธิ ีการแก้ไขไม่ใหเ้ กดิ ขอ้ ผดิ พลาดซา้ อีกในอนาคต การตดิ ตามประเมินผลระดับกิจกรรม หมายถึง ลกั ษณะ ขอบเขตและความถ่ใี นการตดิ ตาม ประเมนิ ผล การควบคมุ ภายในในระดบั กจิ กรรมซงึ่ รวมทั้งวธิ ีการตดิ ตามการควบคุมระหว่างการปฏิบัตงิ าน (Ongoing Monitoring) และการ ประเมินผลการควบคุมเป็นรายครงั้ จะแตกตา่ งกันไปของแตล่ ะกจิ กรรม ไมม่ ี วิธใี ดวิธหี นงึ่ ท่ีจะใช้ไดก้ ับทกุ กจิ กรรม เนือ่ งจากแต่ ละกจิ กรรมจะแตกตา่ งกนั ในลักษณะการปฏบิ ตั งิ าน ความ แตกตา่ งของกฎหมายระเบยี บ ขอ้ บังคบั ที่เกี่ยวข้อง วิธีการ ปฏิบตั งิ านและความสาคญั ของแตล่ ะกจิ กรรมตอ่ การ สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงคข์ องหน่วยงานโดยรวม 4. ระดับความเสี่ยง ใหร้ ะบรุ ะดบั ความเส่ยี งของแตล่ ะโครงการควบคกู่ บั กลยุทธ์ในการจดั การความเสีย่ ง โดยพจิ ารณาจาก “โอกาสที่จะเกิดข้ึน” แล “ผลกระทบ” ของแตล่ ะความเสีย่ ง แล้วกาหนดระดบั ความเส่ยี งตามตาราง ต่อไปน้ี

5 แผนบรหิ ารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ตาราง Risk Aassessment Matrix Risk Assessment Matrix ยากจะเกิด ไมน่ ่าเกิด โอกาสทจี่ ะเกิดขนึ้ ค่อนขา้ งแน่นอน เป็นไปไดท้ ี่จะเกิด น่าจะเกิด 5 วกิ ฤต 5 1 2 มนี ัยสาคัญ 4 ปานกลาง สูง 34 สูงมาก ปานกลาง 3 สงู สงู มาก สูงมาก 2 ปานกลาง ปานกลาง สงู สงู มาก นอ้ ย 1 สงู สูง สงู ผลกระทบ น้อยมาก ต่า ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง ตา่ ปานกลาง ปานกลาง ตา่ ปานกลาง ตา่ ตา่ 5. นโยบายการบรหิ ารความเสยี่ ง 5.1 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ คนของโรงเรยี นบ้านแพะจัดเปน็ เจา้ ของความเส่ียง ซ่งึ มหี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบในการระบุ และประเมินความเสย่ี งของหนว่ ยงานท่ตี นเองรับผิดชอบรวมทง้ั กาหนดมาตรการ ท่ีเหมาะสม เพื่อจัดการความ เสี่ยง 5.2 ให้มีการบรหิ ารความเสยี่ งทวั่ ทัง้ องค์กรแบบบรู ณาการ โดยมกี ารจดั การอย่างมรี ะบบและต่อเนอื่ ง 5.3 ใหม้ กี ารกาหนดกระบวนการบรหิ ารความเสีย่ งทเี่ ปน็ ระบบมาตรฐานเดียวกันท่วั ทง้ั องคก์ ร 5.4 ให้มีการติดตามประเมนิ ผลการบริหารความเส่ยี งทม่ี กี ารทบทวนและปรบั ปรุงอย่างสมา่ เสมอ 5.5 ให้มีการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้เพอื่ การจัดการทด่ี ี 5.6 ให้การบรหิ ารความเสย่ี งเป็นส่วนหนงึ่ ของการดาเนินงานตามปกติ

6 แผนบรหิ ารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 สว่ นที่ 2 กระบวนการบริหารความเสยี่ งของโรงเรยี นบ้านแพะ 1.กระบวนการบรหิ ารความเส่ยี ง แนวทางการบรหิ ารความเสยี่ ง เปน็ กระบวนการทใ่ี ช้ในการระบุ วเิ คราะห์ ประเมนิ และจัดระดับความเสย่ี ง ทม่ี ี ผลกระทบต่อการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของกระบวนการทางานของหน่วยงานหรือขององคก์ ร รวมทงั้ การ บรหิ าร / จัดการความ เสยี่ ง โดยกาหนดแนวทางการควบคุมเพ่อื ปอ้ งกันหรอื ลดความเสี่ยงให้อยูใ่ นระดับท่ี ยอมรบั ได้ ซงึ่ กระบวนการดังกล่าวน้จี ะ สาเรจ็ ได้ต้องมกี ารสอ่ื สารให้คนในองค์กรมีความรู้ความเขา้ ใจในเรอ่ื งการบรหิ ารความเส่ียง ในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนควรมี การจดั ทาระบบสารสนเทศ เพ่อื ใชใ้ นการวเิ คราะห์ ประเมนิ ความเส่ยี ง กระบวนการ และขั้นตอนการบริหารความเส่ยี ง ประกอบดว้ ย 7 ขัน้ ตอนโดยปรากฏสรปุ ดงั แผนภาพ Flowchart ดังน้ี 1. การระบุความเสีย่ ง (Risk Identification) 2. การวเิ คราะห์ความเสี่ยง 3. การประเมนิ ความเส่ียง (Risk Assessment) 4. การจดั การความเส่ียง 5. รายงานความเสยี่ ง และติดตามผล 6. การประเมินผลการบริหารความเสย่ี ง 7. การทบทวนการบรหิ ารความเสยี่ ง

แผนบรหิ ารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 7 ไม่มี แผนผังภาพรวมของแนวนโยบายการบรหิ ารความเส่ยี ง ในการนานโยบายลงไปสกู่ ารปฏิบตั ิ โรงเรียนบา้ นแพะ เริม่ กระบวนการ 1. การระบุความเสยี่ ง (Risk Identification) 2. การวเิ คราะห์ความเสย่ี ง มี 3. การประเมินความเสย่ี ง (Risk Assessment) 4. การจดั การความเส่ยี ง 5. รายงานความเสย่ี ง และติดตามผล 6. การประเมินผลการบรหิ ารความเสย่ี ง 7. การทบทวนการบรหิ ารความเสยี่ ง จบกระบวนการ

8 แผนบรหิ ารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 2. การระบุความเสยี่ ง (Risk Identification) 2.1 ความเสยี่ งด้านกลยุทธ์ 2.2 ความเสยี่ งดา้ นการปฏบิ ัตงิ าน 2.3 ความเสีย่ งดา้ นการเงนิ 2.4 ความเส่ยี งดา้ นการปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ 3. การวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดทาแผนบรหิ ารความเส่ียงตามหลกั มาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) กระบวนการบริหารความเสี่ยง กระบวนการบริหารความ เสย่ี ง (Risk Management Process) ตามหลกั มาตรฐานของ COSO (The Committee Of Sponsoring Organization Of the Treadway Commission) มี ข้ันตอน การดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ การกาหนดวตั ถุประสงค์ของการบรหิ ารจดั การความเสีย่ ง โดยพจิ ารณาจากเปา้ หมาย ของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีของโรงเรยี นบา้ นแพะ โดยให้ สอดคลอ้ งกับวิสัยทศั น์ พันธกจิ และทิศทางของแต่ละหน่วยงานในสงั กดั โรงเรียนบ้านแพะ และให้ครอบคลมุ สอดคล้องตง้ั แต่ระดบั องคก์ ารจนถงึ ระดบั บคุ คล เพื่อใหส้ ามารถบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ในระดับภาพรวมและ สอดคล้องกบั ขอบเขตการดาเนนิ งานในแตล่ ะระดบั โดยใช้หลกั การ SMART 1.1) Specific : มีการกกาหนดเป้าหมายท่ีชดั เจนและกาหนดผลตอบแทนหรือผลลพั ธท์ ่ตี อ้ งการท่ที กุ คนสามารถ เขา้ ใจได้อยา่ งชดั เจน 1.2) Measureable : สามารถวัดผลหรอื ประเมินผลได้ 1.3) Achievable : มคี วามเป็นไปได้ท่ีจะบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ภายใตเ้ งอื่ นไขท่ีมีการใช้ทรัพยากรทม่ี ีอยู่ในปจั จบุ ัน 1.4) Reasonable : สมเหตุสมผลมีความเปน็ ไปได้ 1.5) Time Constrained : มีกรอบเวลาทชี่ ดั เจนและเหมาะสม 2. การค้นหาและระบุความเสยี่ ง 2.1) การคน้ หาและระบคุ วามเสย่ี งโดยพจิ ารณาจากกจิ กรรมงานโครงการทีจ่ ะดาเนนิ การแล้วมาจัดลาดบั ความสาคัญ 2.2) พิจารณาปจั จยั โดยพิจารณาปจั จยั 2 ด้าน คอื ปจั จัยเส่ยี งภายในและปัจจัยเสีย่ งภายนอก 1) ปัจจัยเสยี่ งภายใน คือ ความเสีย่ งทเี่ กดิ จากสภาพแวดลอ้ มภายในองค์การความเสี่ยงทอี่ งค์การ พยายามลด ใหน้ อ้ ยลงหรือหมดไป เช่น ความเสีย่ งดา้ นกระบวนการปฏบิ ัตงิ าน ความเส่ยี งดา้ นความรู้ ความสามารถและทกั ษะบคุ ลากร 2) ปจั จยั เส่ยี งภายนอก คอื ความเสย่ี งท่ีเกิดจากสภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์การเป็นสิ่งที่อยเู่ หนือ ความ รับผดิ ชอบขององคก์ าร เชน่ ความเสีย่ งดา้ นการเมอื งการปกครอง ความเสี่ยงดา้ นสภาวะ เศรษฐกจิ 5.การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment) การประเมนิ ความเสี่ยงเป็นเครือ่ งมือในการพิจารณาความเสีย่ งในภาพรวมว่าความเสย่ี งต่าง ๆ ทร่ี ะบุ ไว้ ขา้ งตน้ มโี อกาสท่ีจะเกิดเหตกุ ารณ์น้นั และมผี ลกระทบอยา่ งไร โดยการประเมนิ ระดับความรุนแรงและ ความเสย่ี ง มีองคป์ ระกอบหลักในการพจิ ารณา 2 ประการ คือ โอกาส (Likelihood) ท่จี ะเกดิ หมายถงึ ความเปน็ ไปได้ ที่จะเกดิ เหตกุ ารณ์น้นั ๆ ในชว่ งเวลาหนงึ่ และผลกระทบ (Impact) ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ หมายถงึ ความ เสียหายทเี่ กิดข้นึ ซงึ่ มผี ลกระทบตอ่ องค์การท้งั ดา้ นการเงินและดา้ นทไี่ มใ่ ช่การเงนิ หากเกิดเหตกุ ารณ์ความ เสย่ี งโดยจะต้อง มีการกาหนดระดบั ของโอกาสทจี่ ะเกดิ และระดับของผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขึ้นเพ่อื ให้สามารถ กาหนดหรือจัดลาดบั ความสาคญั ของความเส่ียงได้

9 แผนบรหิ ารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 5.1 พจิ ารณาโอกาสในการเกิดความเส่ยี งจากสถติ ิ การเกดิ เหตกุ ารณ์ในอดตี ปจั จบุ นั หรอื การคาดการณ์ ลว่ งหนา้ ของโอกาสทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคต โดยจัดระดบั ของการเกดิ ความเสีย่ งเปน็ 5 ระดบั คือ สูง มาก สงู ปานกลาง ตา่ และตา่ มาก (5,4,3,2,1) 1) ระดบั โอกาสในการเกิดเหตุการณ์ตา่ ง ๆ (Likelihood) กาหนดเกณฑ์ไว้ 5 ระดับ ดังนี้ ระดบั โอกาสในการเกดิ เหตุการณต์ า่ ง ๆ (Likelihood) เชงิ คณุ ภาพ ระดบั โอกาสทเี่ กดิ คาอธิบาย 5 สูงมาก มโี อกาสในการเกิดเกือบทกุ ครง้ั 4 สงู มีโอกาสในการเกิดค่อนขา้ งสูงหรอื บอ่ ยๆ 3 ปานกลาง มีโอกาสเกดิ บางครงั้ 2 นอ้ ย 2 นอ้ ย อาจมีโอกาสเกดิ แตน่ าน ๆ ครัง้ 1 น้อยมาก มโี อกาสเกิดในกรณยี กเว้น ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ตา่ ง ๆ (Likelihood) เชงิ ปริมาณ ระดับ โอกาสที่เกิด คาอธบิ าย 5 สงู มาก 1 เดือนต่อครัง้ หรอื มากกว่า 4 สงู 1 – 6 เดือนต่อครั้ง แต่ไม่เกิน 5 ครง้ั 3 ปานกลาง 1 ปตี อ่ ครงั้ 2 นอ้ ย 2 ปีตอ่ คร้งั 1 นอ้ ยมาก 3 ปีตอ่ คร้งั

10 แผนบริหารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 2) ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบของความเส่ียง (Impact) กาหนดเกณฑไ์ ว้ 5 ระดับ ดงั นี้ ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบของความเส่ยี ง (Impact) ระดับ โอกาสที่เกดิ คาอธบิ าย 5 สูงมาก เกิดความเสยี หายสูง 4 สงู เกดิ ความเสยี หายค่อนข้างสงู 3 ปานกลาง เกดิ ความเสียหายบ้าง 2 น้อย เกิดความเสียหายน้อย 1 นอ้ ยมาก เกดิ ความเสียหายนอ้ ยมาก ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบของความเสี่ยง (Impact) ระดบั โอกาสทีเ่ กดิ คาอธบิ าย 5 สูงมาก มผี ลกระทบตอ่ เป้าหมายความสาเร็จมากกวา่ 85% 4 สูง มีผลกระทบตอ่ เปา้ หมายความสาเร็จ 70% 3 ปานกลาง มผี ลกระทบตอ่ เปา้ หมายความสาเร็จ 50% 2 น้อย น้อย มีผลกระทบตอ่ เปา้ หมายความสาเรจ็ 30% 1 น้อยมาก มีผลกระทบตอ่ เป้าหมายความสาเร็จ ต่ากวา่ 10% ตารางระดบั ของความเสย่ี ง (Degree of Risk) 5 สูงมาก 4 สงู 3 ผลกระทบของความเส่ียง 2 ปานกลาง 1 ตา่ 12345

11 แผนบริหารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ในการวิเคราะห์ความเสยี่ งน้นั จะพจิ ารณาปจั จัยเสี่ยงจากดา้ นตา่ งๆโดยนาแนวคิดเรื่องธรรมาภบิ าลทีเ่ กย่ี วข้อง ในแตล่ ะด้านมาเปน็ ปจั จัยในการวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งด้วย ทง้ั นคี้ วามเส่ยี งเรื่องธรรมาภิบาลทอี่ าจ เกิดข้ึนจากการ ดาเนินแผนงาน/โครงการ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล (Good Governance) ได้แก่ หลักประสทิ ธิผล (Effetiveness) : ผลการปฏบิ ตั ริ าชการที่บรรลวุ ตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของ แผนปฏบิ ตั ิราชการตามทไ่ี ด้รับงบประมาณมาดาเนนิ การ รวมถึงความสามารถเทยี บเคียงกบั ส่วนราชการ หรือ หนว่ ยงานที่มภี ารกิจคลา้ ยคลงึ กันและมีผลการปฏิบตั ิงานในระดบั ช้นั นาของประเทศเพือ่ ให้เกิดประโยชนส์ ขุ ตอ่ ประชาชน โดยการปฏิบัติ ราชการจะตอ้ งมที ิศทาง ยุทธศาสตร์ และเปา้ ประสงคท์ ่ชี ัดเจน มีกระบวนการปฏบิ ตั งิ านและระบบงาน ทเี่ ปน็ มาตรฐาน รวมถึง มีการตดิ ตาม ประเมนิ ผล และพฒั นา ปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เน่อื ง และเป็นระบบ หลักประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) : การบรหิ ารราชการ ตามแนวทางการกากับดูแลทีด่ ที ม่ี กี ารออกแบบ กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน โดยการใชเ้ ทคนิคและเคร่อื งมือการบรหิ ารจัดการที่เหมาะสม ให้องค์กร สามารถใช้ทรพั ยากร ทง้ั ดา้ นต้นทุน แรงงาน และระยะเวลาใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดตอ่ การพฒั นาขีด ความสามารถในการปฏบิ ัตริ าชการ ตามภารกิจ เพอื่ ตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มสี ว่ นได้ สว่ นเสยี ทุกกลมุ่ หลกั การมสี ่วนร่วม (Participation) : กระบวนการทข่ี า้ ราชการ ประชาชนและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ทกุ กลมุ่ มีโอกาสไดเ้ ข้ารว่ มในการรบั รู้ เรยี นรู้ ทาความเข้าใจ รว่ มแสดงทศั นะ รว่ มเสนอปญั หา/ประเดน็ ทส่ี าคัญ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง รว่ มการแกไ้ ขปญั หา ร่วมในกระบวนการตดั สินใจและรว่ มกระบวนการพฒั นาใน ฐานะหุ้นส่วนการพฒั นา หลักความโปร่งใส (Transparency) : กระบวนการเปดิ เผยอย่างตรงไปตรงมา ช้ีแจงได้เมอ่ื มีข้อ สงสยั และ สามารถเขา้ ถึงขอ้ มลู ขา่ วสารอันไมต่ อ้ งห้ามตามกฎหมายได้อยา่ งเสรี โดยประชาชนสามารถรู้ ทกุ ขน้ั ตอนในการดาเนนิ กจิ กรรมหรือกระบวนการตา่ งๆ และสามารถตรวจสอบได้ หลักการตอบสนอง (Responsiveness) : การใหบ้ รกิ ารทสี่ ามารถดาเนนิ การไดภ้ ายในระยะเวลาท่ี กาหนด และ สร้างความเชอ่ื มนั่ ความไว้วางใจ รวมถงึ ตอบสนองความคาดหวงั /ความตอ้ งการของ ประชาชนผู้ รบั บรกิ าร และ ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ทม่ี ีความหลากหลายและมีความแตกตา่ ง หลกั ภาระรบั ผิดชอบ (Accountability) : การแสดงความ รบั ผิดชอบในการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละผลงานต่อเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ โดยความรับผิดชอบ น้ันควรอยู่ในระดบั ทสี่ นองตอ่ ความ คาดหวงั ของสาธารณะ รวมท้งั การแสดงถงึ ความสานึกในการรับผดิ ชอบ ต่อปญั หาสาธารณะ หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) : การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบยี บ ข้อบังคับ ในการบรหิ าร ราชการดว้ ย ความเป็นธรรม ไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ และคานงึ ถงึ สิทธเิ สรภี าพ ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย หลักการกระจายอานาจ (DecentraliZation) : การถา่ ยโอนอานาจการตัดสนิ ใจ ทรพั ยากร และ ภารกจิ จากส่วนราชการส่วนกลาง ใหแ้ กห่ นว่ ยการปกครองอน่ื (ราชการบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิน่ ) และภาค ประชาชน ดาเนนิ การ แทน โดยมอี สิ ระตามสมควร รวมถงึ การมอบอานาจและความรับผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจ และการดาเนนิ การใหแ้ กบ่ ุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในการใหบ้ ริการตอ่ ผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลติ ภาพ เพื่อผลการดาเนินงานท่ีดขี องสว่ นราชการ ทง้ั นีก้ าร กระจายอานาจการตัดสนิ ใจที่ดี บุคลากร ตอ้ งมคี วามร้คู วามสามารถและขอ้ มูลสนับสนุนเพ่ือใหเ้ กิดการตัดสนิ ใจทีเ่ หมาะสม หลกั ความเสมอภาค (Equity) : การได้รบั การปฏิบตั แิ ละได้รับบรกิ ารอย่างเท่าเทียมกัน โดยไมม่ กี ารแบง่ แยก ด้าน ชาย/หญงิ ถ่ินกาเนิด เชอื้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายและสขุ ภาพ สถานะ ของบคุ คล ฐานะทาง เศรษฐกจิ และสงั คม ความเชื่อทางศาสนา การศกึ ษา การฝึกอบรม และอื่นๆ 6. การจดั การความเสยี่ ง เมอ่ื ได้ค่าระดบั ความเสีย่ งแล้ว นามาจดั ลาดับความรุนแรงของความเสย่ี งทีม่ ผี ลกระทบตอ่ โรงเรยี น บา้ นสบล/ี แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพอ่ื พจิ ารณากาหนดกิจกรรมการควบคมุ ภายในแตล่ ะสาเหตขุ องความเสย่ี ง ที่สาคญั ใหเ้ หมาะสม โดยพจิ ารณาจากระดบั ของความเส่ียงทีเ่ กดิ จาก ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโอกาสทจ่ี ะเกดิ ความเส่ยี ง

12 แผนบริหารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 (Likelihood) และผลกระทบของความเส่ยี ง (Impact) ท่ี ประเมนิ ได้ โดยจดั เรยี งลาดบั จาก ระดับสงู มาก สูง ปานกลาง ต่า มา จัดทาแผนบรหิ ารความเสีย่ ง ในการประเมินความเสย่ี งจะต้องมีกาหนด แผนภูมิความเส่ยี ง ทไ่ี ดจ้ ากการพจิ ารณาจัด ระดับ ความสาคญั ของ ความเสีย่ งจากโอกาสทจ่ี ะเกดิ ความเส่ียง และผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ และขอบเขตของระดบั ความ เส่ียงทสี่ ามารถยอมรบั ได้ ระดบั ความเสีย่ ง = โอกาสในการเกิดเหตกุ ารณ์ x ความรนุ แรงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ซง่ึ ใช้เกณฑ์ในการจัดแบง่ ดังนี้ ระดับคะแนนความเสยี่ ง ระดบั ความเสยี่ ง กลยทุ ธ์ในการจัดการความเสย่ี ง 1-8 ตา่ ยอมรบั ความเสย่ี ง 9-15 16-24 ปานกลาง ยอมรบั ความเสีย่ ง (มีมาตรการ) สงู ควบคุมความเสย่ี ง 25 สงู มาก ถา่ ยโอนความเส่ยี ง 1) สงู มาก เป็นระดบั ที่ไม่สามารถยอมรบั ไดจ้ าเป็นตอ้ งเรง่ จดั การแกไ้ ขทันที 2) สูง เป็นระดบั ทไี่ มส่ ามารถยอมรบั ได้ ต้องจดั การความเสยี่ งเพ่อื ให้อยใู่ นระดบั ทีย่ อมรบั ได้ต่อไป 3) ปานกลาง เปน็ ระดับที่พอยอมรบั ได้แตต่ อ้ งมีการควบคมุ เพ่ือป้องกันไมใ่ ห้ความเสยี่ งเคลอื่ นยา้ ยไป ยังระดับท่ี ยอมรบั ไมไ่ ด้ 4) ต่า เป็นระดบั ทีย่ อมรับได้ โดยไมต่ ้องควบคุมความเส่ยี ง ไมต่ อ้ งมกี ารจดั การเพมิ่ เตมิ 7. รายงานความเสี่ยง และติดตามผล เป็นการติดตามว่าแผนภมู ิของความเสีย่ งมกี ารเปล่ียนแปลงหรือไม่ เพ่อื ใหม้ ั่นใจวา่ การบรหิ าร ความเส่ยี งได้ผลจรงิ หากพบปัญหาจะสามารถกาหนดมาตรการจัดการความเส่ยี งไดท้ นั ที 8. การประเมินผลการบริหารความเสย่ี ง สามารถดาเนินการประเมินความเส่ียงไดด้ งั นี้ - รายไตรมาส ดาเนนิ การตอ่ เน่อื งจากการรายงานและการตดิ ตามผล - รายปี นาขอ้ มลู จากรายงานสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนบรหิ ารความเสี่ยงฯ (ประจาไตรมาส) มารวบรวม ประเมินผลการบรหิ ารความเสย่ี ง และจัดทาเป็นรายงานสรปุ ความก้าวหนา้ ผลการดาเนินงานตามแผนบริหารความเสยี่ ง ประจาปี พร้อมกบั จดั ทารายงานการบรหิ ารความเสยี่ งของโรงเรยี นบ้านแพะเพอ่ื นาเสนอ ใหแ้ กค่ ณะกรรมการสถานศึกษา ทราบ 9. การทบทวนการบริหารความเสี่ยง นาขอ้ มลู สรุปจากรายงานสรุปผลการจัดการความเสย่ี งและความเห็นตอ่ ผลการดาเนินงานตาม นโยบายการบรหิ าร ความเสี่ยง ปจั จยั ภายนอกภายใน ขอ้ พจิ ารณาที่เกย่ี วขอ้ งมาดาเนนิ การทบทวนและ ประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสีย่ งใหม่เพอ่ื จดั ทานโยบายการบรหิ ารความเสี่ยงต่อไป

13 แผนบริหารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 สว่ นที่ 3 แผนบริหารความเสี่ยงของโรงเรยี นบ้านแพะ 1. การคัดเลือก โครงการ/กิจกรรม ในการวเิ คราะห์เพ่ือจดั ทาแผนบริหารความเสี่ยง กาหนดใหม้ กี ารพจิ ารณาโครงการและแผนการบริหารความเส่ียงของหน่วยงาน ดังนี้ 1. เปน็ โครงการในแผนปฏบิ ัติการประจาปที ่สี อดคลองกบั ยทุ ธศาสตรส์ านกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน (สพฐ.) 2. เป็นโครงการท่ีได้รบั งบประมาณจากอุดหนุนรายหัว เงนิ รายได้สถานศกึ ษา หรืองบอดุ หนุนจาก หน่วยงานภายนอก 3. เปน็ งานประจาตามหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบของหน่วยงานภายใน/ฝา่ ย เช่น งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบรหิ ารท่ัวไป งานบคุ ลากร 2. แผนบริหารความเสีย่ งของโรงเรียนบ้านแพะ แผนบรหิ ารความเส่ียงของโรงเรียนบา้ นแพะ ประกอบด้วย โครงการ/กจิ กรรมทม่ี ีความเสีย่ ง เกิดขน้ึ ปจั จัย เสี่ยงของโครงการ/กจิ กรรม ระดบั ความเสยี่ ง กลยทุ ธท์ ีใ่ ช้จดั การกับความเสย่ี ง และวิธีจัดการความเสีย่ ง โดยแบง่ เป็น ฝา่ ย ดังนี้

แผนบรหิ ารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 แผนบริหารความเส่ยี งโรงเรียนบ หน่วยงานผรู้ ับผดิ ชอบ ฝา่ ยวชิ าการ ลาดับ โครงการ/กิจกรรม ปจั จัยเส่ยี ง ระดบั ความเส 1 - พฒั นาผลการทดสอบ นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิต่า สงู ระดบั ชาติ ) NT, O-NET) กวา่ ร้อยละ 50 - กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา - วัตถุประสงค์ : นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 มีผลประเมินระดบั ชาติ (NT) เกนิ รอ้ ยละ 50 นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มผี ลทดสอบระดบั ชาติ (โอเนต็ ) เกินร้อยละ 50 2. - ยกผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิตา่ สงู - กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา - วตั ถปุ ระสงค์ นักเรียนมี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสูงขน้ึ ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

14 บา้ นแพะ ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 ส่ยี ง กลยทุ ธ์ท่ใี ช้จดั การกับความเสีย่ ง วิธกี ารบริหารจัดการความเสี่ยง ยอมรบั ความเส่ียง การนิเทศตดิ ตามการจดั การเรยี นการ (มมี าตรการติดตาม) สอน ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ัดการเรยี นการสอน แบบ Active Learning ยอมรบั ความเสี่ยง การนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรยี นการ (มีมาตรการตดิ ตาม) สอน ส่งเสริมใหค้ รจู ดั การเรียนการสอน แบบ Active Learning

แผนบรหิ ารความเส่ียงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 แผนบรหิ ารความเสี่ยง โรงเรียนบ หนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ บรหิ ารงานบุคคล ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม ปจั จยั เส่ยี ง ระดบั 1 - จา้ งครชู ่วยสอน ครูสายงานการสอนไม่เพยี งพอ - กลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นาครแู ละ ขาดครูวชิ าเอกหลกั เช่น บคุ ลากรทางการศึกษาให้ ปฐมวยั วิทยาศาสตร์ ปฏิบัตงิ านได้อย่างมีคณุ ภาพ คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เป้า - วัตถปุ ระสงค์ : มคี รสู อนครบช้นั และครบวชิ าเอก 2. - พฒั นาบุคลากร นักเรยี นมีผลสมั ฤทธต์ิ า่ - กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษาให้ ปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างมีคุณภาพ - วตั ถปุ ระสงค์ : ครปู ฏบิ ตั งิ านได้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ส่งผลให้ นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธส์ิ งู ผู้ปกครองและชมุ ชนมคี วาม เชื่อมัน่

15 บ้านแพะ ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 บความเส่ยี ง กลยุทธ์ท่ีใชจ้ ัดการกบั ความเสย่ี ง วิธกี ารบริหารจดั การความเสย่ี ง สงู ยอมรบั ความเสี่ยง ประชาสมั พันธ์ใหผ้ ูป้ กครอง (มีมาตรการติดตาม) นักเรียน ศิษยเ์ ก่า และชมุ ชน ทราบ เพ่อื ระดมงบประมาณใน การจ้างครูช่วยสอน สงู ยอมรบั ความเส่ียง ส่งเสริมใหค้ รูจดั ทาแผนพฒั นา (มมี าตรการติดตาม) ตนเอง และส่งเสรมิ ให้ครเู ข้ารับ การอบรมพัฒนา

แผนบริหารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 แผนบริหารความเสยี่ ง โรงเรียนบ หน่วยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ ฝ่ายงบประมาณ ลาดบั โครงการ/กจิ กรรม ปัจจยั เสีย่ ง ระดับ 1 - พัฒนางานระบบงานธุรการ เกดิ ความผดิ พลาดในการ ปฏบิ ตั ิงาน ทาใหง้ านเกิดความ - กลยทุ ธท์ ่ี 4 พัฒนา ลา่ ช้า ผดิ ระเบยี บ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เนน้ การมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาค ส่วน - วัตถปุ ระสงค์ : โรงเรียน ปฏิบัติงานไดถ้ กู ต้องตามระเบยี บ มปี ระสิทธภิ าพ มีความโปรง่ ใส 2. - ซ่อมแซมครภุ ณั ฑ์ มผี ลกระทบตอ่ การจดั การเรียน - กลยุทธท์ ่ี 4 พฒั นา การสอน ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัด การศกึ ษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เนน้ การมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาค ส่วน วัตถปุ ระสงค์ : โรงเรียนมผี ลการ ปฏบิ ตั งิ านทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ เกิด ความพงึ พอใจท้งั ผ้ใู หบ้ ริการ และ ผรู้ บั บรกิ าร

16 บ้านแพะ ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 บความเสี่ยง กลยุทธ์ทใี่ ชจ้ ดั การกับความเสย่ี ง วิธีการบริหารจัดการความเส่ยี ง สูง ยอมรบั ความเสยี่ ง จัดระบบสารสนเทศใหบ้ คุ ลากร (มมี าตรการติดตาม) ได้รบั รเู้ กี่ยวกบั ระเบียบการ ปฏิบตั งิ านสารบรรณ สูง ยอมรบั ความเส่ยี ง แตง่ ต้งั ใหค้ รมู หี นา้ ทด่ี ูแล (มมี าตรการติดตาม) รบั ผิดชอบครภุ ณั ฑ์ บารุงรกั ษา อยา่ งสม่าเสมอ

แผนบรหิ ารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 แผนบริหารความเสยี่ ง โรงเรียนบ หน่วยงานผรู้ ับผดิ ชอบ ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป ลาดับ โครงการ/กิจกรรม ปัจจัยเสยี่ ง ระดับ 1 - สถานศึกษาปลอดภัย เกิดความเสยี หายตอ่ ชวี ิต และ - กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนา ทรัพยส์ ินของทางราชการ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัด การศึกษาโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน เนน้ การมสี ่วนร่วมจากทกุ ภาค ส่วน - วัตถุประสงค์ : สถานศึกษามี ความปลอดภยั มีระบบการ ตรวจสอบ ปอ้ งกัน การเกดิ อบุ ัตเิ หตุ และอันตรายทุกชนิด 2. - อนามยั โรงเรียน เกดิ ผลกระทบต่อสุขภาพของ ป - กลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพ นักเรียน และมาตรฐานการศึกษา - วัตถปุ ระสงค์ ผู้เรยี นมสี ุขภาพ กายและจิตใจสมบรู ณ์ แขง็ แรง มี ความสุขในการเรยี นรู้ เลน่ และ พักผ่อนหยอ่ นใจ

17 บา้ นแพะ ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 บความเสยี่ ง กลยุทธท์ ่ใี ช้จดั การกบั ความเส่ยี ง วธิ กี ารบริหารจัดการความเสีย่ ง สงู ยอมรบั ความเสี่ยง กาชับใหค้ รเู วรตรวจสอบอาคาร (มีมาตรการติดตาม) สถานที่ อาหาร น้าดืม่ ระบบ ไฟฟ้า สนามเด็กเลน่ อปุ กรณ์ ไฟฟ้า คดั กรองบคุ คลที่มาตดิ ต่อ ราชการ ติดตั้งกล้องวงจรปดิ ปานกลาง ยอมรบั ความเส่ยี ง กาชบั ให้ครปู ระจาช้นั คดั กรอง (มีมาตรการติดตาม) นักเรียน เยีย่ มบ้านนกั เรยี น จัดระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานที่ เก่ยี วข้องเพ่ือช่วยเหลอื นกั เรยี น เชน่ สาธารสุข สถานีตารวจ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล กลุ่ม เครอื ขา่ ยโรงเรียน

18 แผนบริหารความเสี่ยงโรงเรียนบ้านแพะ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ภาคผนวก

คาสั่งโรงเรียนบ้านแพะ ที่ 26/2565 เร่ือง แต่งตง้ั คณะกรรมการจดั ทาแผนบริหารจดั การความเสย่ี ง ของโรงเรยี นบ้านแพะ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 ************************************************ เพ่อื ใหก้ ารดาเนินงานจัดทาแผนบรหิ ารจดั การความเสย่ี งของโรงเรยี นบา้ นแพะ ประจาปงี บประมาณพ.ศ. 2565 เป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับ หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล จงึ แต่งตั้งคณะกรรมการทาแผนบรหิ ารจัดการ ความเสี่ยงของโรงเรยี นบา้ นแพะ ดังนี้ คณะทางาน ประกอบด้วย 1. นายโชคอนนั ต์ อนันตสทิ ธโิ ชติ นยีอาเ นโยโอำ อ้ยน ประธานกรรมการ กรรมการ 2. นางแววดาว ขดั ธะสมี า ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ 3. นางปทมุ พร ไพรพนาพฤกษ์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ 4. นางสาววลัยพร พรมจินา ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ 5. นางสาวจนิ ดา เครอื อินตา ครู ค.ศ.1 กรรมการ กรรมการ 6. นางสาวรักษิณา สวุ าท ครูผู้ชว่ ย กรรมการ 7. นางสาวแวววรรณ ถอื สตั ย์ ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ กรรมการและเลขานกุ าร 8. นางสาววารณุ ี ธรรมขันท์ ครอู ัตราจา้ ง 9. นางสางชรนิ ดา วังมลู ครูอัตราจา้ ง 10. นายทวิ ตั ถ์ แสนปัญญา ครูอตั ราจ้าง 11. นางสาวมทั นา กาละ เจา้ หน้าท่ีธรุ การ ใหค้ ณะทางานมหี นา้ ทีด่ ังน้ี 1. จัดทาแผนบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง 2. ตดิ ตามประเมินผลการบริหารจัดการความเส่ยี ง 3. จัดทารายงานผลตามแผนการบรหิ ารความเสี่ยง 4. พิจารณาทบทวนแผนการบรหิ ารจัดการความเสี่ยง ใหผ้ ไู้ ดร้ บั แตง่ ต้ังดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลงั ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัตกิ าร บรหิ ารความเสีย่ งสาหรบั หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 ทัง้ น้ี ตงั้ แต่บดั นี้ เป็นตน้ ไป ส่ัง ณ วันที่ 8 เดอื นมิถุนายน พ.ศ. 2565 (นายโชคอนนั ต์ อนนั ตสิทธิโชต)ิ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบา้ นแพะ