โครงงาน น้ำยาเช็ดกระจก จากส้ม

รายงานผลการประเมินโครงการฉบับสมบูรณ์

โครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
ประจำปีการศึกษา 2564

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี

รายงานผลการประเมินโครงการฉบบั สมบรู ณ์

โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู
ประจำปีการศกึ ษา 2564

ของ
สถาพร พจนวเิ ศษ
กนั ติศา องั ศุภานชิ
อรยา รัตนมณี

สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี

คำนำ

โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู จัดทำขนึ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาผลการทำ
น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจก เพื่อส่งเสริมการนำพืชที่มีอยู่ใน
ท้องถ่ินมาใช้ประโยชน์และเพ่ือสร้างเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ
นับต้ังแต่การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การกำหนดจุดพัฒนา การวางแผน การ
ปฏิบัติงานตามแผน การนิเทศติดตามผล และประเมินโครงการ เพื่อนำผลการประเมินโครงการไปใชใ้ นการ
พัฒนางานอย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ ผลการดำเนินงานช่วยให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองมีกรอบการพัฒนา
ตนเองชดั เจน มกี ารวิเคราะห์เปา้ หมายกับส่ิงท่ีตนเองเปน็ อยู่ และคำตอบคือการพัฒนาเพ่ิม ส่งผลให้นักศึกษา
มคี ณุ ภาพตามจดุ หมายของหลกั สตู ร

ขอขอบคุณอาจารย์ อยับ ซาดัดคาน (ท่ีให้คำปรึกษา แนะนำ) ท่ีให้ความร่วมมือในการดำเนิน
โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด และประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชัน
และมะกรูด ทำให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกำหนด ซ่ึงประโยชน์ท่ีได้รับคือ หมักชีวภาพจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไปได้ซึ่งยังช่วย
ลดสารพิษตกคา้ ง และผู้เกี่ยวข้อง สำหรับใชใ้ นการพัฒนางาน ให้มคี วามกา้ วหน้าตอ่ ไป

กนั ติศา องั ศภุ านชิ
(นางสาว กนั ติศา อังศุภานิช)

หัวหน้าโครงการ

สารบัญ

หนา้
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………………………........ก
สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………………………………........ข-ค
สารบัญภาพ……………………………………………………………………………………………………………………………….........ง
สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………………………………………………...........จ
บทคัดยอ่ ……………………………………………………………………………………………………………………………….…...........ฉ
บทที่ 1บทนำ……………………………………………………………………………………………………………………………........1

ความเป็นมาของโครงการ……………………………………………………………………………………………….......1
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ……………………………………………………………………………………………….......1
ขอบเขตดำเนินงานของโครงการ…………………………………………………………………………………..........1
เป้าหมายของโครงการ…………………………………………………………………………………………………….......2
งบประมาณของโครงการ………………………………………………………………………………………………........2
ปจั จยั ในการดำเนนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………........3
กจิ กรรมในการดำเนินโครงการ…………………………………………………………………………………….......3-4
นิยามศพั ท…์ …………………………………………………………………………………………………………………..........4
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ……………………………………………………………………………………………......4-5
กระบวนการดำเนนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………......5-7

บทที่ 2เอกสารและแนวคิด ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง……………………………………………………………….........8

แนวคิด ทฤษฎที ี่เกี่ยวกับการดำเนนิ โครงการ……………………………………………………………….....8-13
หลกั การแนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี ก่ียวกับการประเมนิ ผลโครงการ…………………………………………....13-20
กรอบแนวคิดการประเมินผลโครงการ………………………………………………………………………..…......20

บทที่ 3 วธิ ีการประเมินโครงการ………………………………………………………………………………………….......21

รูปแบบการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………...21-22
วธิ กี ารการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………….....22
ประชากรกลุ่มตัวอยา่ ง…………………………………………………………………………………….……………........22
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมินโครงการ……………………………………………………………………………...22-23
การเก็บรวบรวมข้อมูล………………………………………………………………………………………………….........23
การวเิ คราะหผ์ ลการประเมินโครงการ……………………………………………………………………………......23
การวเิ คราะห์ข้อมลู เชิงคณุ ภาพ………………………………………………………………………………………..23-24

บทท่ี 4ผลการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………........25

ผลการประเมนิ ดา้ นสภาวะแวดล้อม……………………………………………………………………………......25-27
ผลการประเมนิ ด้านปัจจยั ………………………………………………………………………………………………...28-30
ผลการประเมนิ ดา้ นกระบวนการ……………………………………………………………………………………...31-33
ผลการประเมนิ ดา้ นผลผลติ ……………………………………………………………………………………………....34-36

บทที่ 5สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ………………………………………………………………......37

รปู แบบการประเมนิ ………………………………………………………………………………………………................37

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………........38
ขอ้ เสนอแนะสำหรับนำผลการประเมินไปใช้…………………………………………………………………........38
ข้อเสนอแนะสำหรบั หวั ขอ้ การประเมินต่อไป………………………………………………………………….......38

บรรณนกุ รม………………………………………………………………………………………………….……………………………........39
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………….…………………………………......40

ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ของโครงการ………………………………………………………………………….......41
ภาคผนวก ข ภาพกระบวนการผลติ ในการจัดทำโครงการ…………………………………………….....42-50

สารบญั ภาพ

หน้า

ภาพที่ 1 หลกั การ PDCA……………………………………………………………………………………………………………….....17
ภาพท่ี 2 หลักการประเมนิ ผลรปู แบบ CIPP MODEL…………………………………………………………………......20
ภาพท่ี 3 กรอบแนวคิดการประเมินผลโครงการ………………………………………………………............................20
ภาพที่ 4 รูปแบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL……………………………………………………………..21-22

สารบญั ตาราง

หน้า

ตารางท่ี 1 แสดงการใชง้ บประมาณโครงการ……………………………………………………………………………...........2
ตารางที่ 2 ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการ………………………………………………………………………….........4-5
ตารางท่ี 3 ข้ันตอน/วิธกี ารดำเนินงาน (ตามกระบวนการ PDCA) …………………………………………..........6-7

ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการ
ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นสภาวะแวดล้อม……………………………………..………………….......25-27
ตารางที่ 2 ผลการประเมินโครงการด้านปจั จัย…………………………………………………………………………......28-30
ตารางที่ 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ………………………………………………………………......31-33
ตารางที่ 4 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต…………………………………….…………………………………......34-36

บทคดั ยอ่

ชอื่ เรื่องการประเมินโครงการ น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู
ผู้รับผิดชอบ นาย สถาพร พจนวิเศษ

นางสาว กนั ตศิ า องั ศุภานชิ
นางสาว อรยา รตั นมณี

ระยะเวลาการประเมนิ โครงการ
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการและทำการประเมินโครงการ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2564 ถึง

วนั ที่ 15 ตลุ าคม พ.ศ. 2564

วัตถปุ ระสงค์โครงการ
1. เพอื่ ศกึ ษาผลการทำนำ้ หมักชีวภาพจากดอกอญั ชันและมะกรูดไปใชข้ จัดคราบสกปรกบนกระจก
2. เพอ่ื ส่งเสรมิ การนำพืชที่มีอยใู่ นท้องถิน่ มาใชป้ ระโยชน์
3. เพอ่ื สร้างเสริมการอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม

วิธดี ำเนนิ โครงการ
การประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ดำเนินในระหว่าง วันท่ี 15

กันยายน 2564 - วันที่ 15 ตุลาคม 2564 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ประชากรในชุมชนขุนทะเล
อำเภอสรุ าษฎรธ์ านี จงั หวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 10 คน

เคร่ืองมือทใ่ี ชป้ ระเมนิ โครงการคือ
การประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPP

Model

บทที่ 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ

ในปัจจุบันมีการใช้สารเคมีใบชีวิตประจำวันกันอย่างแพร่หลาย และมีสารเคมีท่ีมีพิษรวมอยู่ด้วย
จำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและแก้ไขปัญหามลพษิ อย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการแก้ไข
สารพิษตกค้าง ท้ังในน้ำ ในอากาศ ในดิน รวมท้ังในอาหาร ล้วนมีสารตกค้างทั้งสิ้น (ไกรฤกษ์ เปสะโล,
2561)

น้ำยาเช็ดกระจกท่ีใช้กันทั่วไปมีส่วนผสมของ บิวทิล เซลโลโซล และแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ซึ่ง
เป็นวตั ถุอนั ตรายชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 ซึ่งสารเคมีนี้มีอนั ตรายต่อมนุษย์ และส่ิงมีชวี ิตอื่นดอกอญั ชันสีม่วง ที่
ข้ึนอยู่ทั่วไปบริเวณใกล้บ้านในสวนริมถนน คนในชุมชนของเราโดยเฉพาะผู้สูงอายุมักนำดอกอัญชันมาใช้
ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ทาผม ทาคิ้ว เพ่ือให้ดกดำ ใช้แทนสีผสมอาหาร ช่ึงเป็นน้ำชาลดอาการเบาหวาน
เป็นต้นนอกจากนี้มะกรูดและดอกอญั ชันยังช่วยลดคราบสกปรกและยังไม่มีสารเคมีเพราะน้ำยา เช็ดกระจกท่ี
ชือ้ มาอาจจะมีสารเคมแี ละยังอาจทำอันตรายร่างกายเราด้วย (ไกรฤกษ์ เปสะโล, 2561)

นอกจากนมี้ ะกรูดและดอกอญั ชันยงั ชว่ ยลดคราบสกปรกและยังไม่มีสารเคมเี พราะนำ้ ยา เช็ดกระจกท่ี
ซอ้ื มาอาจจะมีสารเคมีและยงั อาจทำอันตรายร่างกายเราดว้ ย (ไกรฤกษ์ เปสะโล, 2561)

วัตถุประสงค์ของการประเมนิ โครงการ

1. เพ่ือประเมินผลการทำน้ำหมักชวี ภาพจากดอกอญั ชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจก
2. เพื่อประเมินการส่งเสรมิ การนำพืชท่มี ีอยใู่ นท้องถ่ินมาใชป้ ระโยชน์
3. เพอ่ื ประเมินการสร้างเสริมการอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดล้อม

ขอบเขตของโครงการ

ขอบเขตดา้ นเน้ือหาในการประเมนิ
1. นำ้ หมักชวี ภาพจากอญั ชันและมะกรูด จะใช้อัญชนั สมี ่วงพนั ธ์กลีบชนั้ เดยี ว และพันธ์กลีบซ้อน
2. กระจกทใ่ี ช้ทำการทดลอง ใชก้ ระจกเงาและกระจกใสทคี่ วามสกปรกตามปกติ

ขอบเขตด้านพนื้ ที่
ดำเนนิ การในพนื้ ท่ี หมทู่ ี่ 7 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอสุราษฎร์ธานี จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษา คือ ประชาชนในหมูท่ ี่ 7 ตำบลขุนทะเล อำเภอสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั

สรุ าษฎรธ์ านี จำนวน 10 คน

2

เปา้ หมายของโครงการ

ดา้ นปรมิ าณ
• เพอ่ื จดั ทำนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ท่ีเป็นพืชที่มอี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ จำนวน 10
ขวด ภายใน 1 เดอื น
• สมาขกิ ในกลมุ่ จะมคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการผลติ นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูด
ร้อยละ 80%

ด้านคณุ ภาพ
• น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถช่วยลดคราบสกปรกบนกระจกได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
• เพื่อจดั ทำนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด ให้กบั ประชาชนจำนวน 10 คน ในผู้ที่
สนใจนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู แบบไรส้ ารเคมี

งบประมาณของโครงการ

งบประมาณในการดำเนินโครงการมาจากสมาชิกในกลุ่มรวมกันเป็นเงินจำนวน 200 บาท ใน การ
ปฏิบัติโครงการ โดยวัสดุอปุ กรณ์ในการดำเนินโครงการบางส่วนมีไว้อยู่แล้ว ซึ่งสามารถจัดทำเป็น ตารางแจก
แจงการใชง้ บประมาณในการดำเนนิ โครงการได้ดงั น้ี

ตารางที่ 1 แสดงการใช้งบประมาณโครงการ “นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด”

รายการ จำนวน รายจ่าย เป็นเงิน
หนว่ ยละ (บาท)
วัสดุอปุ กรณ์
1.ดอกอญั ชนั สีม่วง 400 กรัม 1- -
2. มะกรูดสด 1 กิโลกรมั 1 40 40
3.นำ้ ตาลทราย 1 กโิ ลกรมั 1 25 25
4.ตะแกรงเหลก็ 1 35 35
5.มดี 1- -
6.หม้อ 1- -
7.น้ำเปลา่ สะอาด 2,000 มิลลลิ ติ ร 1- -
8.โหลสำหรับหมกั ผัก 1 40 40
9.ขวดสำหรบั ใสบ่ รรจุภัณฑ์ 1 60 60

รวม 200

3

ปัจจยั ในการดำเนินโครงการ 2. มะกรูดสด
4. ตะแกรงเหลก็
วัสดุอปุ กรณ์ 6. หม้อ
1. ดอกอญั ชันสีมว่ ง 8. โหลสำหรบั หมกั ผกั
3. น้ำตาลทราย
5. มดี
7. นำ้ เปลา่ สะอาด
9. ขวดสำหรบั ใสบ่ รรจุภัณฑ์

บุคคลทรี่ ่วมดำเนนิ โครงการ
สมาชิกในกลุ่มประกอบด้วย สถาพร พจนวิเศษ, กันติศา อังศุภานิช, อรยา รัตนมณี และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านในชุมชน และมารดาของสมาชกิ ในกลุ่ม

เอกสาร แหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ
สมาชิกในกลุ่มได้ทำการศึกษาจากอินเตอร์เน็ตในการใช้ประกอบข้อมูล และศึกษาความรู้ในการทำน้ำยาเช็ด
กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูด จากแหลง่ เรยี นรู้คอื มารดาของสมาชกิ ในกลุ่ม

อาคารสถานท่ี
ทพ่ี ักอาศยั ของสมาชกิ ในกลมุ่ ตั้งอย่ทู ่ี 393 หมู่ท่ี 7 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอสุราษฎรธ์ านี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

กิจกรรมในการดำเนนิ งานโครงการ

กจิ กรรมประเมนิ ผลการทำน้ำหมกั ชวี ภาพจากดอกอญั ชันและมะกรูดไปใชข้ จัดคราบสกปรกบนกระจก
รายละเอยี ดกจิ กรรมการดำเนนิ โครงการ

1. กิจกรรมประเมินผลการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบน
กระจก
1.1 วตั ถปุ ระสงค์
1.1.1 เพ่ือประเมินผลน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดว่านำไปใช้ขจัดคราบ
สกปรกบนกระจกไดจ้ รงิ
1.1.2 เพ่อื แก้ปัญหาการใชส้ ารเคมใี นน้ำยาเช็ดกระจก

1.2 การดำเนนิ โครงการ
1.2.1 เริ่มจากหาวัตถดุ บิ ที่มอี ยู่ในท้องถิ่น คือ ดอกอัญชันและมะกรดู
1.2.2 นำดอกอญั ชนั และผวิ มะกรดู มาตม้ ลงในนำ้ เปลา่ สะอาด และใสน่ ้ำตาลตามลงไป
นำมาหมักไวเ้ ป็นเวลา 15 วนั
1.2.3 กรองกากและนำใส่ขวดและตดิ ฉลากบนผลติ ภณั ฑน์ ้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั
และมะกรูด
1.2.4 นำผลิตภณั ฑ์น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดที่ได้ไปเชด็ กระจกใส

1.3 เครื่องมอื ในการประเมินผล
1.3.1 ใช้รปู แบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL

4

1.4 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ
1.4.1 แก้ปัญหาการใช้สารเคมีในนำ้ ยาเชด็ กระจกหนั มาใช้แบบธรรมชาติ
1.4.2 สามารถนำนำ้ ยาเชด็ กระจกไปใชข้ จัดคราบสกปรกบนกระจกแทนนำ้ ยาเช็ดกระจก
ทว่ั ไปได้
1.4.3 กระจกมคี วามสะอาดขึ้นโดยใชน้ ้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู

นิยามศพั ท์

มะกรูด คือ พืชในตระกูลส้ม (Citrus) มีถิ่นกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ใน
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเปน็ ส่วนหน่ึงของเคร่ืองปรงุ อาหารหลายชนดิ

อัญชัน คือ พืชมีดอกชนิดใบเลี้ยงคู่ เป็นพืชเถาเล้ือย ตระกูลเดียวกับถ่ัว มีอายุประมาณ 1 ปีจึง
จัดเป็นพืชอายุสั้น ลำต้นเล้ือย และพันรอบหลัก อาจยาวได้ถึง 6-7 เมตร มีดอกที่สวยงาม โดยปกติมีสีน้ำ
เงนิ มถี ิ่นกำเนิดในแอฟรกิ า

นำ้ ยาเช็ดกระจก คือ ผลิตภัณฑ์ที่ชว่ ยให้กระจกมีความแวววาวสดใส สะอาดปราศจากสิ่งสกปรก ลด
ความแห้งประหยัดแรง เชด็ ออกงา่ ย และลดการเกาะตัวของฝนุ่ ละออง

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั

• น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทน
น้ำยาเช็ดกระจกทัว่ ไปได้ และช่วยลดสารพิษตกค้าง

• สมาชิกในกลุ่มจะได้รับความรู้จากการศึกษาและปฏบิ ัตกิ ารทำน้ำยาเชด็ กระจก และยงั สามารถ
นำความรจู้ ากการปฏิบตั นิ ั้นไปตอ่ ยอดหรือพัฒนาเป็นอาชพี หลักไดใ้ นอนาคต

ตารางที่ 2 ระยะเวลาดำเนนิ งานตามโครงการ
วนั ท่ี 15 กนั ยายน พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 15 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 โดยมปี ฏิทินปฏบิ ัติงานตามโครงการดังน้ี

ระยะเวลา กิจกรรม ผู้รับผดิ ชอบ
15-18 กนั ยายน 2564 สมาชกิ ในกลมุ่
- ศึกษาถึงสรรพคุณของอัญชันและมะกรูดโดยศึกษา
การนำอัญชันมะกรูดมาพัฒนามาพัฒนาเป็นน้ำยาเช็ด
กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ซ่ึงสอบถามและ
เรี ย น รู้ จ า ก ผู้ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใน ก า ร ผ ลิ ต น้ ำ ย า เช็ ด
กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู

19-20 กันยายน 2564 - จัดเตรยี ม จัดหาวัสดุอปุ กรณ์ สถานทใี่ นการทำนำ้ ยา สมาชิกในกลมุ่
เช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู

21 กนั ยายน - 5 ตลุ าคม - ดำเนินการทำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและ สมาชกิ ในกลมุ่
2564 มะกรูด โดยการหมักทิ้งไว้เป็นเวลา 15วัน เมื่อครบ
กำหนดพร้อมทัง้ บรรจุภณั ฑ์ลงในขวดใส

5 ตลุ าคม 2564 - ทำการแจกจา่ ยแชมพูมะกรูดให้ประชาชนในชมุ ชน สมาชิกในกลมุ่

5

ระยะเวลา กจิ กรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ
6-9 ตลุ าคม 2564 สมาชิกในกล่มุ
- จัดทำแบบประเมินผลโครงการในเชิงคุณภาพด้าน
ต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
เป้าหมายและผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับจากโครงการ เพื่อใช้
สำหรับการประเมินผลโครงการและวัดผลการดำเนิน
โครงการ

10-15 ตลุ าคม 2564 - ทำการติดตามผลการดำเนินโครงการ การแก้ไข สมาชกิ ในกลมุ่
ปญั หาในระหว่างการดำเนนิ โครงการ

กระบวนการการดำเนนิ โครงการ

รายงานผลการจัดทำโครงการ “น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด” ได้มีการนำหลักการ
คณุ ภาพของ เดมม่งิ “PDCA” มาใชใ้ นการดำเนินการ 4 ขั้นตอนดงั น้ี

1. ขัน้ ตอนการรว่ มกนั วางแผน (Plan)
2. ขัน้ ตอนการรว่ มกนั ปฏิบตั ิ (Do)
3. ข้ันตอนการรว่ มกนั ประเมนิ (Check)
4. ขั้นตอนการรว่ มปรับปรงุ (Act)

1.ข้ันตอนการร่วมกนั วางแผน (Plan)
ข้นั ตอนนี้เป็นการวางแผนในการดำเนนิ โครงการ โดยมขี นั้ ตอนดงั น้ี
1.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมกันประชุมปรึกษากันในการเสนอชื่อโครงการ พร้อมท้ังร่วมกันศึกษาข้อมูลที่

เกี่ยวขอ้ งกบั ชื่อโครงการ และศึกษาถึงปจั จัยต่างๆ
1.2 สมาชิกในกลุ่มได้จัดทำโครงน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด พร้อมท้ังวางแผนและ

แนวทาง ขั้นตอนในการดำเนนิ โครงการ พรอ้ มทั้งจัดเตรียมงบประมาณในการดำเนินโครงการ
1.3 สมาชิกในกลุ่มไดม้ กี ารประสานงานไปยังสถานทีใ่ นการจดั ทำโครงการ
1.4 สมาชกิ ในกลุ่มจัดเตรยี มจดั หาวสั ดุอุปกรณ์ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใชต้ ่างๆ ในการดำเนนิ โครงการ

2.ขั้นตอนการร่วมกนั ปฏบิ ัติ (Do)
ขั้นตอนนี้เปน็ การลงมอื ปฏบิ ัตดิ ำเนินโครงการ โดยมีข้นั ตอนดงั นี้
2.1 สมาชกิ ในกลุ่มไดท้ ำการเสนอโครงการต่ออาจารย์ทป่ี รึกษา เพอื่ ขออนุมัตใิ นการดำเนินโครงการ
2.2 ดำเนินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ในช่วงเวลาตามปฏิทินที่ทาง

โครงการไดก้ ำหนดไว้ โดยสมาชกิ ในกล่มุ ได้ลงมอื ปฏบิ ัติโครงการ โดยมีการปฏิบัติดงั นี้
• ศึกษาข้อมูลและสรรพคุณดอกอัญชันและมะกรูด รวมถึงการนำดอกอัญชันและมะกรูดมา
ผลิตเป็นนำ้ ยาเชด็ กระจก
• สมาชิกในกลุ่มร่วมลงมือปฏิบัติการทำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดและหมัก
ท้งิ ไว้เป็นเวลา 15 วัน
• ทำการนำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดผ่านการผลิตเสร็จแล้ว นำมาบรรจุ
ภัณฑล์ งในขวด

6

• สมาชิกในกลุ่มได้นำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ทำการแจกจ่ายให้แก่

ประชาชนในพืน้ ท่ีหรือผทู้ ี่สนใจ

3.ขัน้ ตอนการร่วมกันประเมิน (Check)
โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดได้จัดทำแบบประเมินในด้านต่างๆ ซ่ึงเป็นแบบ

ประเมินเชิงคุณภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพ่ือ
ประเมินโครงการและวดั ผลของการดำเนนิ โครงการ

4.ข้นั ตอนการร่วมกันปรับปรุง (Act)
สมาชกิ ในกลุม่ ได้ทำการตดิ ตาม ประเมินผลโครงการ แลว้ รวบรวมข้อมูลตา่ งๆ ที่จัดทำโครงการ รวม

ไปจนถึงความสำเร็จ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะตา่ งๆ ในการดำเนนิ โครงการคร้งั นี้ มาสรปุ ผลเพ่ือนำไป
ปรบั ปรุงและพฒั นาในการดำเนนิ โครงการในคร้ังถดั ไป

จากท่ไี ด้นำหลกั การคุณภาพของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง “PDCA” มาใชใ้ นการดำเนนิ โครงการ สามารถ
แจกแจงเปน็ ตารางไดด้ งั น้ี

ตารางท่ี 3 ขนั้ ตอน/วธิ กี ารดำเนินงาน (ตามกระบวนการ PDCA)

ข้นั ตอน รายละเอยี ดกจิ กรรม

P = Plan ระยะที่ 1 (ตน้ ทาง) (15 ก.ย. 2564 – 20 ก.ย. 2564)
การวางแผน - สมาชกิ ในกลุ่มคิดโครงการ ประชุมวางแผนขั้นตอนการดำเนินโครงการ
- สมาชิกในกลุ่มศึกษาถึงปัจจยั สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ และขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั โครงการ
- สมาชิกในกลุ่มไดเ้ สนอโครงการตอ่ อาจารย์ที่ปรึกษา เพ่อื ขออนุมัตโิ ครงการและเพือ่ ดำเนนิ โครงการใน
ขั้นตอนตอ่ ไป

D = Do ระยะที่ 2 (กลางทาง) ( 21 ก.ย. 2564 – 5 ต.ค. 2564)
การปฏิบัติ - ทำการลงพ้ืนท่ีสำรวจสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของพ้ืนที่ท่ีจะดำเนินโครงการ เพ่ือมา
จัดทำแผนปฏิบัติ
- นำแผนมาปฏิบัติโดยการศึกษาข้อมูลในการนำดอกอัญชันและมะกรูดมาผลิตเป็นน้ำยาเช็ดกระจก
เพ่ือใช้การลงปฏิบัติผลิตน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด วัสดุอุปกรณ์สถานท่ีสำหรับผลิต
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด
- ลงมือปฏบิ ตั ผิ ลติ น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู และหมักทงิ้ ไว้ 15 วัน
- นำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดท่ีผ่านการผลิตเสร็จแลว้ นำมาบรรจภุ ณั ฑ์ใส่ในขวด
- นำนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดทีเ่ สร็จส้นิ ทุกกระบวนการ ทำการแจกจ่ายแก่ประชาชน
ในพนื้ ท่ชี มุ ชนหรอื ผู้ที่สนใจ

C = Check ระยะท่ี 3 (กลางทาง) (6 ต.ค. 2564 – 9 ต.ค. 2564)
การตรวจสอบ - จัดทำแบบประเมินผลโครงการในเชิงคุณภาพด้านต่างๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ เป้าหมายและผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพ่ือใช้สำหรับการประเมินผลโครงการและ
วัดผลการดำเนินโครงการ

ข้ันตอน 7

A = Action รายละเอียดกจิ กรรม
การปรับปรุง
ระยะท่ี 4 (ปลายทาง) (10 ต.ค. 2564 – 15 ต.ค. 2564)
พัฒนา - ทำการตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ การแกไ้ ขปญั หาในระหว่างการดำเนนิ โครงการ
- รวบรวมข้อมูลความสำเร็จของโครงการในด้านตา่ งๆ รวมถึงปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะอื่นๆ ใน
ระหวา่ งการดำเนนิ โครงการมาสรปุ ผล
- พัฒนาต่อยอดเพื่อสร้างความเข้มแข็งของโครงการและสร้างความสำเร็จของโครงการ และเพื่อ
ยกระดับในการดำเนนิ การโครงการในครัง้ ตอ่ ไป

บทท่ี 2

เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้อง

1. แนวคดิ ทฤษฎที ่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การดำเนินโครงการ
2. หลักการแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกบั การประเมนิ ผลโครงการ

1. แนวคิดทฤษฎีทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดำเนนิ โครงการ

นิวัติ เรืองพานิช (2517) ได้อธิบายไว้ว่า ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) หมายถึง ส่ิงท่ี
เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติมีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้หรือ มนุษย์สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ ทงั้ นร้ี วมถึงพลังงานของมนุษยด์ ้วย

เกษม จนั ทร์แก้ว (2544) ใหค้ วามหมายของคําว่าทรัพยากรธรรมชาติไว้วา่ หมายถึง สิ่งตา่ งๆ ซึง่ มีอยู่
ตามธรรมชาติและใหป้ ระโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ทางใดก็ทางหน่งึ

เสรี พงศพศิ และคณะ (2536) ไดส้ รปุ เร่ือง ภูมปิ ัญญาหรอื ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น หรือภูมิปญั ญาทองถ่ิน
(local wisdom) หมายถึง พื้นฐานของความรูของชาวบ้าน ที่เรียนรูและมีประสบการณทั้งทางตรงและทาง
ออม หรอื ความรูท่ีสะสมสืบต่อกันมา นาํ มาใชแกปญหาเปน็ สตปิ ญั ญา เปน็ องคความรขู องชาวบา้ น

สุดาวรรณ มีเจริญ (2553) การศึกษาเรื่องมะกรูดมีฤทธ์ิในการยับยั้งและฆ่าเช้ือ สแตปฟิโลคอคไค
ผลการศึกษาพบว่าผลบวกต่อการทดสอบโคแอคกุเลส จากการทดสอบในหลอดทดลอง (โคแอคกุเลส เป็น
น้ำย่อยที่เชื้อกลุ่ม สแตปฟิโลคอคไคสร้างข้ึน ทำให้พลาสมาของคนหรือสัตว์เกิดการตกตะกอนซึ่งเป็น
คุณสมบัติท่ีใช้กำหนดว่าเช้ือสเตรนใดที่ที่เป็นตัวก่อโรค) ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะนำไปพิจารณาเป็นส่วนผสม
ของผลติ ภณั ฑท์ างการคา้ ทใ่ี ชส้ ำหรับสัตวต์ อ่ ไปเพื่อลดการตดิ เช้อื ทางผวิ หนงั อย่างไรกต็ ามควรมกี ารทดลองใน
การใชก้ บั ซบั โดยตรงก่อนเพอื่ ศึกษาผลข้างเคียงอ่ืนๆทีม่ ีผลกระทบต่อการยบั ยง้ั เชื้อและผลตอ่ สตั ว์

อรุษา เชาวนลิขิต และคณะ (2552) ศึกษางานวิจัยเรื่องผลกระทบ ph และความคงตัวของสาร
สกัดจากอญั ชัน ผลการวจิ ัยพบวา่ การนำสารสกดั ดอกอญั ชันมาใชป้ ระโยชน์น้ันจะต้องคำนงึ ถึงปรมิ าณของสาร
แอนโทไชยานินท่ีมีอยู่ในตวั อย่างดอกอัญชัน ดว้ ยเพราะปริมาณสารแอนโทไชยานนิ จะมีปริมาณที่แตกต่างกนั
ออกไปขึ้นอยู่กับระยะเวลาและลักษณะในการเก็บรักษาดอกอัญชัน โดยท่ีความคงตัวของสารแอนโทไชยานิน
ในดอกอัญชัน จะลดลงเม่ือระยะเวลาในการเก็บรักษาเพ่ิมข้ึนอันเป็นผลมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น โครงสร้าง
อุณหภูมิและความเป็นกรดด่างซึ่งความคงตัวของสารแอนโทไชยานินในดอกอัญชันน้ีจะส่งผลโดยตรงต่อ
ประสิทธภิ าพในการเปลย่ี นแปลงของเฉดสีและความเข้มของสีของสารสกัดดอกอญั ชัน

พนิดา กล่ำคลองตัน (2559) ศึกษาเร่ืองน้ำหมักชีวภาพจากใบเตยและมะกรูดผลการศึกษาพบวา่ น้ำ
หมักชีวภาพจากใบเตยและมะกรูดมีแก๊สเล็กน้อยมีกลิ่นออกเปร้ียวออกหวานเล็กน้อยมีใบเตยลอยอยู่ด้านบน
และมีฝ้าสีขาวลอยอยู่บนผิวด้านบนการท่ีนำหมักชีวภาพมีกินเปรี้ยวเล็กน้อยและฝ้าสีขาวลอยอยู่บนผิว
ดา้ นบนแสดงว่ามีจุลินทรีย์เกิดขึ้นสามารถนำน้ำหมักชวี ภาพไปใช้งานได้ถ้าไม่มีฝ้าสีขาวลอยอยู่ ด้านบนและมี
กล่ินเห็นแสดงวา่ น้ำหมักชีวภาพเสียใชไ้ ม่ได้ถ้ามีกลิ่นเหมือนจะบูดให้เตมิ น้ำตาลทรายแดงลงไปเพม่ิ ในระหว่าง
การหมักห้ามปิดฟา้ ภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทำให้ระเบดิ ไดเ้ น่ืองจากระหวา่ งการมักจะเกิดก๊าซต่างๆข้ึน
เชน่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก๊าซมเี ทน เป็นต้น

9

แนวคิดทฤษฎีแรงจงู ใจ
แรงจูงใจ คือ พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังมีการกำหนดทิศทางและเป้าหมาย ทิศทางของ

พฤติกรรมนั้นอีกด้วย คนท่ีมีแรงจูงใจสูง จะมีการใช้ความพยายามในการกระทำไปสู่ เป้าหมายโดยไม่ลดละ
แต่คนท่ีมีแรงจูงใจต่ำจะไม่มีการแสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิกการกระทำ ก่อนบรรลุเป้าหมาย โดยมีผู้ให้
นยิ ามของทฤษฎแี รงจงู ใจไว้ดงั น้ี

ชาญศิลปว์ าสบญุ มา (2546, หนา้ 26) กลา่ วว่า แรงจงู ใจในการทำงาน หมายถึง พลงั ทงั้ จากภายใน
และภายนอก ซึ่งช่วยกระต้นุ พฤตกิ รรมให้บุคคลทำในส่ิงต่างๆ ให้สำเร็จและบรรลุตามเป้าหมายด้วยความเตม็
ใจ และเป็นไปตามกระบวนการจงู ใจของแต่ละบคุ คล

ธดิ า สุขใจ (2548, หน้า 8) กล่าววา่ แรงจูงใจในการทำงาน หมายถึง สิ่งใดๆที่เป็นแรงผลักดนั หรือ
กระตุ้น ใหบ้ ุคคลปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมดว้ ยความเต็มใจ เพ่อื ท่จี ะนำมาซึ่งการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึง
มีมูลเหตุจูงใจท่ีสำคัญคือ ความต้องการ ความพึงพอใจในการทำงาน จะนำมาซึ่งการปฏิบัติที่ดีของบุคลากร
ทำให้บุคลากรมีความและจงรักภักดีต่อองค์กร ซ่ึงเป็นเง่ือนไขสำคัญต่อตวามสำเร็จขององค์กรในระยะยาว
การจูงใจมีความสำคัญต่อการทำงานของบุคคล เพราะแรงจูงใจกระตุ้นให้การทำงานของแต่ละคนจะผลักดัน
ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการได้ โดยท่ัวไปมนุษย์มิไดท้ ำงานเต็มความสามารถที่มีอยู่ของตนเอง ซ่ึงการจูง
ใจด้วยแรงกระตุ้นจากภายใน และส่ิงจูงใจจากภายนอกตวั บุคคล เชน่ รางวัล หรือคำชมเชยตา่ งๆ เป็นต้น จะ
ทำใหม้ นุษยต์ อบสนองตอ่ สงิ่ กระตุ้นเหลา่ น้ัน

ธร สุนทรา ยุทธ (2551, หน้า 295) กล่าวว่าแรงจงู ใจเปน็ พลังผลักดนั ใหม้ นษุ ย์มีการเคล่ือนไหวไปสู่
เป้าหมายที่แต่ละคนต้องการ หากขาดแรงจูงใจมนุษย์อาจเปรียบได้กับหุ่นยนต์ตัวหนึ่งที่เคลื่อนไหวได้ ตาม
คำส่ังหรือความต้องการของคนอ่ืน และพฤติกรรมหลายๆ อย่างของมนุษย์จะไม่เกิดขึ้นถ้าปราศจากแรงจูงใจ
ซ่ึงแรงจูงใจมีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ 1) แรงจูงใจส่งเสริมให้ทำงานสำเร็จ เป็นแรงผลักดันให้แสดง
พฤติกรรม แรงผลักดนั น้ันๆ อาจเกิดจากภายในหรือภายนอกก็ได้ 2) แรงจูงใจกำหนดแนวทางของพฤตกิ รรม
ช้ีว่าควรเป็นไปในรูปแบบใดนำพฤติกรรมให้ตรงทิศทาง เพื่อท่ีจะบรรลุเป้าประสงค์คือความสำเร็จของ
หน่วยงานหรือองคก์ าร

(ภารดี อนันต์นาวี, 2555, หน้า 113; จอมพงศ์ มงคลวนิช, 2555, หน้า 217) การสร้างแรงจงู ใจ
ใหเ้ กิดกบั สมาชิกในองค์การ เปน็ ทักษะสำคญั ประการหน่ึงของผู้บรหิ ารต้องเรียนรู้และฝกึ ฝน และนำไปปฏิบัติ
ใหเ้ กิดประสิทธผิ ลแกอ่ งคก์ าร (จันทรานี สงวนนาม, 2553, หนา้ 252)

ประเภทของแรงจงู ใจ นักจิตวทิ ยาแบง่ การจงู ใจออกเปน็ 2 ประเภทคือ
(จันทรานี สงวนนาม, 2553, หน้า 253-254) 15 1) การจูงใจภายใน หมายถึง สภาวะของบุคคลท่ี
มคี วามต้องการจะกระทำบางสิ่งบางอย่าง ด้วย จิตใจของตนเอง โดยไม่ตอ้ งใชส้ ิ่งล่อใดๆ มากระตุ้น ซ่ึงถือว่ามี
คุณค่าต่อการปฏิบตั ิงานต่างๆ เป็นอย่างย่ิง การจูงใจประเภทน้ีไดแ้ ก่ ความต้องการ (Needs) ความปรารถนา
(Desire) ความทะเยอทะยาน (Ambition) ความสนใจพิเศษ (Special Interest) และทัศนคติหรือเจตคติ
(Attitude) 2) การจูงใจภายนอก หมายถึง สภาวะของบุคคลที่ได้รับการกระตุ้นจากภายนอก เพ่ือนำไปสู่การ
แสดงพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายของผู้กระตุ้น การจูงใจภายนอกได้แก่ เป้าหมาย ความคาดหวัง
ความก้าวหน้า ส่ิงล่อใจต่างๆ เช่นการชมเชย การติเตียน การให้รางวัล การประกวด การลงโทษ การแข่งขัน
เป็นต้น สรุปได้ว่า แรงจูงใจเป็นสภาวะของบุคคลที่มีหรือไม่มีความต้องการจะกระทำบางสิ่งบางอย่าง ท่ีต้อง
อาศัยแรงจูงใจภายใน คือความปรารถนาความต้องการจากภายในตนเอง และแรงจูงใจภายนอก คือ
จุดมุ่งหมายความคาดหวัง หรอื สงิ่ ลอ่ ใจตา่ งๆ จะเห็นได้ว่าแรงจงู ใจคอื สิ่งกระต้นุ หรือสิง่ เรา้ ทท่ี ำใหค้ นมพี ลังใน
การใช้ความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ละแสวงหาความรู้ใหม่ในการทำงานด้วยความเต็มใจ และมีความสุขกับการ
ทำงานเพ่ือจะบรรลเุ ปา้ หมายหรอื วัตถปุ ระสงคข์ ององคก์ าร

10

องค์ประกอบของแรงจงู ใจ
องคป์ ระกอบแรงจูงใจมี 2 ประการ (สัมมา รธนิธย์, 2553, หน้า 135-136)
1) องคป์ ระกอบภายนอก ไดแ้ ก่ สิ่งแวดล้อมภายนอกท่อี าจทำให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
2) องคป์ ระกอบภายใน ไดแ้ ก่

2.1 ความต้องการ (Needs) ในการจะทำสง่ิ หนง่ึ สงิ่ ใดใหส้ ำเรจ็
2.2 เจตคติ (Attitudes) เป็นความเชื่อ ความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะชอบหรือไม่ ชอบพอใจ
หรอื ไม่พอใจ หากมีเจตคตทิ ่ีดีต่องานหรือเพื่อนร่วมงานก็เปน็ แรงผลักดันให้บุคคล ปฏิบัตงิ านได้ตามเป้าหมาย
แตห่ ากมเี จตคตไิ มด่ ีกย็ อ่ มทำงานประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมายไดย้ าก
2.3 ค่านิยม (Values) เป็นการพิจารณาถึงคุณค่าของตนพึงพอใจที่จะปฏิบัติ พยายามเลือกที่จะทำ
ตามค่านิยมทีต่ นเองมี เช่นการใช้ของทีม่ รี าคาแพง เปน็ ต้น
2.4 ความวิตกกังวล (Anxiety) ความวิตกกังวลในการทำงาน อาจก่อให้เกิดอุปสรรคและ เกิด
แรงผลักดันให้สามารถดำเนินการอย่างละเอียดรอบคอบได้ ในการทีบ่ ุคคลนนั้ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธสิ์ ูงที่อาจจะ
สามารถประสบผลสำเรจ็ ในการปฏบิ ัตงิ าน
สรุปได้ว่า แรงจูงใจมีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ องค์ประกอบภายนอก ได้แก่ ส่ิงแวดล้อมภายนอก
และองค์ประกอบภายใน ได้แก่ ความต้องการ เจตคติความเช่ือ ค่านิยม ความวิตกกังวล ซ่ึงประกอบกันเป็น
แรงจงู ใจให้บคุ คลน้นั สามารถประสบผลสำเรจ็ ในการปฏบิ ตั งิ าน

แนวคดิ ทฤษฎกี ารเรียนรู้
การเรียนรู้คือ กระบวนการที่ทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางความคิด มนุษย์เราสามารถ

เรียนรู้ได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การเห็น รวมถึงผ่านการใช้สื่ออุปกรณ์ เคร่ืองมือเป็นส่วนส่งผ่าน
โดยมผี ใู้ ห้นิยามของการเรียนรู้ ดงั นี้

(Klein 1991:2) กลา่ วว่า การเรียนรู้ (Learning) คอื กระบวนการของประสบการณ์ท่ที ำให้เกดิ การ
เปล่ียนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร ซ่ึงการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมน้ีไม่ได้มาจากภาวะช่ัวคราว วุฒิ
ภาวะ หรือสญั ชาตญาณ

(สุรางค์โค้วตระกูล :2539) กล่าวว่า การเรียนรู้(Learning) คือ การเปล่ียนแปลง พฤติกรรมซึ่ง
เน่ืองมาจากประสบการณ์ท่ีคนเรามีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด เป็นการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมซ่ึงเน่ืองมาจากประสบการณ์หรือการฝึกหัด และพฤติกรรมน้ันอาจจะคงอยู่ระยะหนึ่ง หรือตลอดไป
กไ็ ด้

แนวคดิ ทฤษฎกี ารพฒั นาตนเอง
ความต้องการในการพฒั นาตนเอง เพ่ือให้เพิ่มพนู ความรู้ ทำให้มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมต่างๆ ไป

ตามวตั ถุประสงค์ของแต่ละบุคคล รวมท้ังสามารถดำรงอยู่ในสังคมหรือประสบความสำเร็จในชีวิต หน้าที่การ
งาน ควรมีแนวคิดเกย่ี วกบั ความตอ้ งการในการพัฒนาตนเอง โดยมีผใู้ ห้นิยามของทฤษฎีการพัฒนาตนเอง ดงั นี้

กรกนก วงศ์พันธุเศรษฐ์ (อ้างถึงในเกศรินทร์ วิริยะอาภรณ์, 2545) ได้กล่าวว่า การพัฒนาตนเอง
หมายถึง การขยายขอบเขตความสามารถในการใช้ความรู้ความสามารถของบุคคลได้อย่างเต็มที่และ
ประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาเพื่อแก้ปัญหาหรือหาข้อยุติปัญหาในสถานการณ์ใหม่ๆ ท่ี
แตกต่างออกไป

ศศลักษณ์ ทองปานดี (2551) การพัฒนาตนเอง หมายถึง การดำเนนิ การเกยี่ วกับการส่งเสริมบคุ คล
ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะการทำงานดีขึ้น ตลอดจนมีทัศนคติท่ีดีในการทำงานอันจะเป็นผลให้การ

11

ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น และการพัฒนาบุคคลควรส่งเสริม และพัฒนาท้ังร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสตปิ ัญญาอยา่ งทว่ั ถงึ สม่ำเสมอและต่อเนอื่ ง

ความสำคัญของการพัฒนาตนเอง
ในปัจจุบันการศึกษาเรื่องการพัฒนาตนเองเป็นสิ่งสำคัญอย่างย่ิงเน่ืองจากสภาพของโลกและ
เหตุการณ์ในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อย่างเข้าสู่ยุคของข่าวสารข้อมูล
(Information Era) หรือท่ีเรียกว่าเป็นยุคของโลกคล่ืนที่สาม (Third Wave) ให้เกิดการรวมตัวของทรัพยากร
ข้ึน เมื่อโลกอยู่ในสภาวะท่ีไร้พรมแดนการแขง่ ขันเพื่อชว่ งชิงทรัพยากรจึงมีมากข้ึนเป็นทวคี ูณ ซึ่งอาจเปรียบได้
ว่าเป็นสงครามข่าวสารในด้านข้อมูลความรู้จะเห็นได้ว่าการเปล่ียนแปลงเช่นน้ี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ดำเนินไปโดยไมพ่ ยายามก้าวใหท้ ันจะกลายเป็นผู้ลา้ หลังและเสียประโยชน์ในเวลาอนั รวดเร็ว ดงั นั้นการพฒั นา
ตนเองเพ่ือให้เรียนรู้ได้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อความอยู่รอดของชีวิตจึงเป็นส่ิงที่
จำเป็น (ศศินา ปาละสงิ ห์, 2547)
องคป์ ระกอบในการพัฒนาตนเอง
องค์ประกอบในการพัฒนาตนเองดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี
1. บุคลิกท่าทาง นับเป็นส่ิงสำคัญอย่างหน่ึง เพราะกิริยาท่าทางคือการส่ือสารท่ีสำคัญซึ่งจะ ทำให้
ผู้อื่นรู้ถึงจิตใจตลอดจนความนึกคิดของบุคคลผู้นั้น ดังนั้น กริยาท่าทางหรือบุคลิกภาพที่สามารถสร้างความ
เชอื่ มนั่ ใหส้ มาชกิ กลุ่ม จงึ ทำใหผ้ อู้ ่นื ยกยอ่ งและเช่ือถอื ไวว้ างใจ
2. การพูด นับเปน็ การสอื่ สารที่จะทำให้ผอู้ ่ืนปฏเิ สธหรือยอมรับในตวั ผ้พู ูดได้เช่นกัน ซึ่งการพูดในที่น้ี
รวมทั้งการพูดคุยแบบธรรมดาและการพูดแบบเป็นทางการ การพูดท่ีจะประสบความสำเร็จน้ันมีหลักการ
เบอ้ื งแรกทสี่ ำคญั คือการระมดั ระวังมิให้คำพดู ออกไปเป็นการประทษุ รา้ ยจติ ใจผู้ฟงั
3. พัฒนาคุณสมบัติทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้อ่ืนเป็นทางท่ีจะทำให้ผู้อื่น ยอมรับ
และยกย่อง บคุ คลทีม่ ีความสัมพันธท์ ีด่ ีตอ่ คนอนื่ ย่อมจะทำให้ไดร้ ับความสนับสนุนและรว่ มมือ
4. พัฒนาคุณสมบัติเฉพาะตัว ทำให้ได้รับการยอมรับจากสมาชิกส่วนใหญ่ ดังน้ันนอกจากความรู้
ความสามารถแล้ว คุณสมบัติเฉพาะตัวบางประการก็เป็นสิ่งสำคัญท่ีจะผลักดันให้บุคคลได้รับการยอมรับจาก
ทุกฝ่าย เป็นผู้มีคุณธรรม ได้แก่ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตและประพฤติตนอยู่ภายใต้คุณธรรม ความดีตาม
บรรทดั ฐานของสงั คมนน้ั ๆ
กระบวนการในการพฒั นาตนเอง
การพัฒนาตนเองให้ประสบความสำเร็จ ควรจะมีกระบวนการตามข้ันตอนซึ่ง (สุวรีเที่ยว ทัศน์,
2542) ไดก้ ลา่ วถึงกระบวนการในการพฒั นาตนเอง สรปุ ดังนี้
1. สำรวจตัวเอง การท่ีคนเราจะประสบความสมหวังหรือไม่สาเหตุที่สำคัญ คือ จะต้องมีการสำรวจ
ตนเองเพราะตนเองเป็นผู้กระทำตนเอง คนบางคนไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตเนอื่ งจากบคุ คล มีจุดอ่อนหรือ
คุณสมบัติที่ไม่ดีการท่ีจะทราบว่าตนมีคุณสมบัติอย่างไร ควรจะได้รับการสำรวจตนเอง ท้ังนี้เพื่อท่ีจะได้
ปรบั ปรุงแก้ไข หรือพัฒนาตนเองให้ดีข้ึน เพอื่ จะไดม้ ีชวี ิตท่ีสมหวังต่อไป
2. การปลูกคุณสมบตั ิที่ดงี าม โดยคุณสมบัติของบคุ คลสำคญั ของโลกเป็นแบบอย่าง ซ่ึงคุณสมบตั ิของ
บคุ คลไม่ใชส่ ่งิ ท่ตี ดิ ตวั มาแต่เกดิ แตส่ ามารถเกดิ ข้ึนได้
3. การปลูกใจตนเอง เป็นสิ่งสำคัญเพราะบุคคลที่มีกำลังใจดีย่อมมุ่งม่ันดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
ของชีวติ ทกี่ ำหนดไว้
4. การส่งเสริมตนเอง คือการสร้างกำลังกายท่ีดีสร้างกำลังใจให้เข้มแข็ง และสร้างกำลังความคิดของ
ตนใหเ้ ปน็ เลิศ
5. การดำเนินการพัฒนาตนเอง เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างตนเองให้บรรลุวัตถุประสงค์ตาม
ที่ตง้ั ไว้

12

6. การประเมินผล เพ่ือจะได้ทราบว่าการดำเนินการพัฒนาตนเองตามท่ีบุคคลได้ตั้งเป้าหมาย ไว้
ดำเนินการไปได้ผลมากน้อยเพียงไร จึงจำเป็นต้องอาศัยการวัดผลและการประเมินผล สามารถสรุปได้ว่าการ
พฒั นาตนเอง คือการท่ีเพ่ือให้เพ่มิ พูนความรู้ ทำให้มกี ารเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตา่ งๆ ไปตามวัตถุประสงค์ของ
แตล่ ะบุคคล รวมทั้งสามารถดำรงอย่ใู นสังคมหรอื ประสบความสำเร็จในชวี ติ

แนวคิดทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพยี ง
"เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีพระราชทาน มา นาน

กว่า ๓๐ ปีซึ่งเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวฒั นธรรมไทย เป็นแนวทางการพฒั นาขั้นพื้นฐานท่ีต้งั อยู่บน
ทางสายกลางและความไม่ประมาทซงึ่ คำนึงถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุมผี ล การสรา้ งภมู ิคุ้มกันในตวั เอง
ตลอดจนการใช้ความรู้และคุณธรรมเพื่อเป็นพ้ืนฐานในการดำเนินชีวิตซึ่ง ต้องมี"สติปัญญา และความเพียร"
เป็นที่ตงั้ ซึ่งจะนำไปสู่ความสุขในชีวติ ท่ีแท้จริง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติ
ตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหาร
ประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพยี ง หมายถงึ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจำเปน็ ท่จี ะตอ้ งมีระบบภมู คิ ้มุ กนั ในตวั
ที่ดพี อสมควรต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายในภายนอก ทงั้ นี้จะต้องอาศัยความรอบรู้
ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ
ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นัก
ทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม
ดำเนนิ ชวี ิตด้วยความอดทน ความเพยี ร มีสตปิ ัญญา และความรอบคอบ เพอ่ื ใหส้ มดุลและพร้อมต่อการรองรับ
การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุสังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก
ไดเ้ ป็นอยา่ งดี มลู นิธชิ ยั พฒั นา (2017).

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซึ่งมุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเองได้รวมถึงการ พัฒนาให้ดี
ยิ่งข้ึน จนเกิดความย่ังยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยต้ังอยู่บนหลักสำคัญสาม
ประการ คือ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมีภมู คิ มุ้ กนั ที่ดี

ความพอประมาณ
คือ การดำรงชีวิตให้เหมาะสม ซึ่งเราควรจะมีความพอประมาณทั้งการหารายได้และ พอประมาณใน

การใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้คือ ทำงานหารายได้ด้วยช่องทางสุจริต ทำงานให้เต็ม
ความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อนื่ ส่วนความพอประมาณในการใชจ้ ่าย หมายถึง การใช้จ่ายให้เหมาะกับฐานะ
ความเป็นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกันก็ใช้จ่ายในการดูแลตนเอง และ
ครอบครวั อยา่ งเหมาะสม ไม่อยอู่ ย่างลำบาก และฝืดเคอื งจนเกนิ ไป

ความมีเหตุผล
ไม่วา่ จะเปน็ การทำธุรกิจ หรือการดำรงชวี ิตประจำวนั เราจำเปน็ ตอ้ งมีการตดั สนิ ใจตลอดเวลา ซ่ึงการ

ตัดสินใจที่ดีควรตั้งอยู่บนการไตร่ตรองถึงเหตุรวมท้ังคำนึงถึงผลที่อาจตามมาจากการตัดสินใจอย่างรอบคอบ
ไมใ่ ชต่ ดั สนิ ใจตามอารมณ์หรอื จากสิ่งทค่ี นอนื่ บอกมาโดยปราศจากการวเิ คราะห์

การมีภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี
คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลง ในโลกท่ีไม่มีอะไรแน่นอน ท้ังสภาพลม ฟ้า

อากาศที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการทำเกษตร การเปล่ียนแปลงในบริษัทคู่ค้า การเลิกจ้างพนักงานใน บริษัทใหญ่

13

หรือแม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทั้งในและต่างประเทศที่มีผลต่อการลงทุน เราจึงจำเปน็ ตอ้ งเรียนรู้
ท่ีจะดำรงอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง และตั้งอยู่ในความไม่ประมาทอยู่เสมอ เช่น เตรียมแผนสำรองสำหรับแต่
ละสถานการณ์การมีรายได้หลายทางเพื่อลดความเส่ียงในวันท่ีถูกเลิกจ้าง หรือการกระจายความเส่ียงในการ
ลงทุน

โดยการดำรงชีวิตตามหลักการทั้งสามข้อนั้น จำเป็นต้องมีความรู้และคุณธรรมประกอบด้วย ความรู้
ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันท่ีเหมาะสม เช่น ความรู้ในการประกอบวิชาชีพช่วยให้ธุรกิจและการงานเจริญก้าวหน้า
หรอื ความรู้ในการลงทุนชว่ ยสร้างภูมิคุ้มกันให้นกั ลงทุน ทั้งนี้ความรู้และประสบการณ์จะช่วยทำให้เราตัดสินใจ
ได้อย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล ถึงแมว้ ่าพน้ื ฐานความคิดและประสบการณ์ที่แตกตา่ งกนั อาจทำใหเ้ หตุผลของแตล่ ะคน
นัน้ แตกต่างกนั แตห่ ากทกุ คนยึดมน่ั อยู่ในหลักคุณธรรมกจ็ ะทำให้การอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมเป็นไปอย่างสงบสขุ

อยา่ งท่ีกล่าวมาข้างตน้ การพึ่งพาตวั เองได้เปน็ เพียงส่วนเร่ิมต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง โดย
เม่ือทุกคนสามารถดูแลตวั เอง และครอบครัวไดแ้ ลว้ ขัน้ ต่อไปอาจทำการพัฒนาธุรกิจ โดยมีการรวมกลุ่มกันใน
วิชาชีพเดียวกัน เพื่อแลกเปล่ียนความรู้และให้ความช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ในการรวมกลุ่มกันน้ัน ไม่จำกัด
เฉพาะการรวมกลุ่มของชาวบ้าน เกษตรกร ในรปู ของสหกรณก์ ารทำงานในเมอื งก็สามารถมกี ารรวมกลมุ่ กันได้
เช่น การแบ่งปันความรู้ประสบการณ์ในการทำธุรกิจ ของกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน การแลกเปล่ียนแนวคิด
การลงทุนเพ่ือเป็นการต่อยอดความรู้รวมไป จนถึงการแบ่งปันความช่วยเหลือส่งกลับคืนสู่สังคมไปสู่กลุ่มที่ยัง
ตอ้ งการความช่วยเหลอื อยู่ เช่น กิจกรรมจติ อาสาเพือ่ สร้างสังคมทเี่ ข้มแข็งและอยู่ร่วมกันอย่างสงบสขุ

จะเห็นได้ว่า แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนความไม่ประมาทด้วยการใช้ความรู้
และคุณธรรม เพ่ือให้เกิดการพ่ึงพาตัวเองได้และเผื่อแผ่ไปถึงสังคม ซึ่งเราสามารถนำหลักการปฏิบัติไปปรับ
ใชไ้ ดท้ ัง้ ในชีวติ การทำงาน และการดำรงชีวติ

2. หลักการแนวคดิ ทฤษฎีที่เก่ียวกบั การประเมนิ ผลโครงการ
แนวคิด ความหมาย และความสำคัญของประเมนิ โครงการ

พสิ ณุ ฟองศรี ไดก้ ล่าวว่าการประเมิน หมายถึง กระบวนการตัดสนิ คณุ คา่ ของส่งิ หน่ึงสง่ิ ใด โดยการนำ
สารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกำหนด (พิสณุ ฟองศรี, 2550 : น. 4 อ้างถึงใน
เชาว์ อนิ ใย, 2553 : น. 3)

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ได้กล่าวว่า การประเมินค่าหรือการประเมินผลหมายถึง การตัดสิน คุณค่าของ
ส่ิงใดสิ่งหน่ึง ซึ่งถือเป็นนิยามพื้นฐานในทางการจัดการนิยมนิยามการประเมินค่าหรือการ ประเมินผลว่าเป็น
กระบวนการท่ีก่อให้เกิดสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ การตัดสินใจเลือกทางเลือก โดยอาศัยสารสนเทศที่
ถูกต้องเหมาะสม เมื่อผ่านการสังเคราะห์ให้เป็นองค์ความรู้จะทำให้เกิดปัญญาได้ (สมหวัง พิธิยานุวัฒน์,
2549 : น. 6 อา้ งถึงใน เชาว์ อนิ ใย, 2553 : น. 3)

เชาว์ อนิ ใย ได้ให้ความหมายของการประเมนิ หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณค่า ของส่ิงใด
ส่ิงหนึ่งว่า มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยนำสารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่
กำหนดเพ่ือช่วยในการตดั สินใจ ตคี ่าผลการดำเนินการน้ันๆ ว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ใช้เป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการจัดการ ส่วนคำว่าโครงการหมายถึง ส่วนย่อย ส่วนหน่ึงของแผนงาน ซึ่งประกอบด้วยชุดของ
กิจกรรมที่จัดข้ึนอย่างมีระบบ มีการกำหนดทรัพยากร ในการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินงานไว้อย่างชัดเจน
โดยออกแบบมาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามต้องการ ดังน้ันจึงสรุปได้ว่าการประเมินโครงการ หมายถึง
กระบวนการพจิ ารณาตัดสินคณุ ค่าโดย การคน้ คว้า เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ จากชุดของกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่าง
มีระบบมาประกอบการตัดสินใจตีค่าผลการดำเนินการนั้นว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ใช้เป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการ จดั การ (เชาว์ อินใย, 2553 : น. 4)

14

ความสำคญั ของการประเมินโครงการ
เชาว์ อินใย ไดอ้ ธิบายความสำคัญของการประเมินโครงการไว้ว่า การประเมินโครงการเป็น ส่วนหนึ่ง
ของการวิจัย เป็นกระบวนการท่ีมีระบบเพ่ือค้นหาข้อเท็จจริงหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ ท้ังยังเป็นกระบวนการที่มี
ระบบเพื่อตัดสินความสำเร็จของโครงการอีกด้วย การประเมินโครงการเป็นการดำเนินงานท่ีไม่ใช้ความ
พยายามในการสร้างทฤษฎีหรือพัฒนาองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์การ ประเมินโครงการที่นำมาใช้ในทาง
สังคมศาสตร์น้ัน เป็นการเตรียมสารสนเทศเพื่อใช้ในการปรับปรุงโครงการทางสังคม เหตุผลประการสำคัญที่
จำเป็นต้องประเมินโครงการก็คือ มีทางเลือกในการดำเนินโครงการได้มากมายท่ีจะทำให้การดำเนินงาน
โครงการมีประสิทธิภาพ ดังน้ันจึงจำเป็นต้องประเมินโครงการว่า ประสบความสำเร็จหรือไม่ (เชาว์ อินใย,
2553 : น. 12)

แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ยี วกบั การประเมนิ ผลโครงการ
แนวคดิ หลกั การและโมเดลการประเมินของไทเลอร (Tyler’s Rationale and Model of Evaluation)

แนวคิดทางการประเมินของไทเลอร จัดเป็นแนวคิดของการประเมินในระดับช้ันเรียน โดยไทเลอรมี
ความเห็นว่าการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จะมีส่วนช่วยอย่างมากในการพัฒนา
กระบวนการเรยี นการสอน

Ralph W.Tyler : 1943 (90-93) ไทเลอรได้เร่มิ ต้นการนาํ เสนอแนวความคิดทางการ ประเมินโดยยึด
กระบวนการเรียนการสอนเป็นหลักกล่าว คือ ไทเลอรได้นิยามว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็น
กระบวนการท่ีมุ่งจัดข้ึนเพ่ือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาในตัวของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้
จุดเนน้ ของการเรียนการสอน จงึ ขึ้นอยูก่ บั การทผ่ี เู้ รียนจะตอ้ งมกี ารเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมหลงั การสอน ดังน้ัน
เพ่ือให้การสอนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในตัวผู้เรียนตามที่มุ่งหวังกระบวนการ ดังกล่าวจึงมีขั้นตอนใน
การดำเนนิ การ ดังน้ี

ขั้นท่ี 1 ตอ้ งมีการระบุหรือกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนลงไปว่าเม่ือสิ้นสุดการจัดการเรียน การสอน
แลวผู้เรียนควรเกดิ พฤติกรรมใด หรือสามารถกระทำสิง่ ใดได้บา้ งหรอื ที่เรยี กว่า วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ข้ันที่ 2 ต้องระบุต่อไปว่าจากวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ดังกล่าวน้ันมีเน้ือหาใดบ้างที่ผู้เรียน จะต้อง
เรยี นรหู้ รอื มีสาระใดบ้างทีเ่ มื่อผู้เรยี นเกดิ การเรียนรูแลวจะกอ่ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ขนั้ ท่ี 3 หารูปแบบและวิธกี ารจัดการเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ งกบั เนื้อหาและจุดประสงค์ท่ีกำหนดไว้
ข้นั ที่ 4 ประเมนิ ผลโครงการโดยการตดั สินดว้ ยการวดั ผลทางการศกึ ษา หรือการทดสอบผลสัมฤทธ์ใิ น
การเรยี น

แนวคดิ หลกั การและโมเดลการประเมินของ ครอนบาค (Cronbach’s Concepts and Model)
ตามทัศนะของครอนบาค เช่ือว่าการประเมินเป็นการรวบรวมข้อมูลการใช้สารสนเทศเพ่ือการ

ตัดสินใจเก่ียวกับการจัดโปรแกรมทางการศึกษาในส่วนของการตัดสินใจที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษานั้น
ครอนบาคได้แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื

1.การตดั สนิ ใจเพือ่ ปรบั ปรงุ รายวิชา
2.การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับตวั นักเรยี นเปน็ รายบุคคล
3.การจัดการบรหิ ารโรงเรียน
ซง่ึ ครอนบาคไดม้ ีความเห็นว่า การประเมนิ นัน้ ไม่ควรกระทำโดยใช้แบบทดสอบอยา่ งเดียว จึงได้เสนอ
แนวทางการประเมินเพิม่ เตมิ ไวอ้ ีก 4 แนวทาง คือ
1.การศึกษากระบวนการ (Process Studies) คือการศกึ ษาภาวะตา่ งๆ ที่เกดิ ข้ึนในชั้นเรยี น

15

2.การวัดศักยภาพของผู้เรียน (Proficiency Measurement) ครอนบาคได้ให้ความสำคัญต่อ
คะแนนรายขอ้ มากกว่าคะแนนจากแบบทดสอบทง้ั ฉบับ และให้ความสำคัญต่อการสอนเพ่อื วัดสมรรถภาพของ
ผเู้ รียนระหวา่ งการเรยี นการสอนวา่ มีความสำคัญมากกว่าการสอบประจำปลายภาคเรียนหรือการสอบปลายปี

3.การวัดทศั นคติ (Attitude Measurement) ครอนบาคใหทัศนะวา่ การวดั ทัศนคตเิ ปน็ ผลที่เกิดจาก
การจดั การเรยี นการสอนสว่ นหนึง่ ซงึ่ มคี วามสำคัญเช่นกนั

4.การติดตาม (Follow - Up Studies) เป็นการติดตามผลการทำงาน หรือภาวะการเลือกศึกษาต่อ
ในสาขาตา่ งๆ รวมทั้งการให้บคุ คลทเ่ี รียนในระดับข้นั พ้ืนฐานทผี่ ่านมาแล้วไดป้ ระเมินถึงข้อดี และข้อจำกัดของ
วิชาตา่ งๆ วา่ ควรมกี ารปรับปรงุ เพ่มิ เติมอย่างไรเพื่อช่วยในการพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงรายวชิ าเหลา่ น้ันต่อไป

สรุปแนวคิดของครอนบาคข้างต้นแลวจะเห็นว่าครอนบาคมีความเชื่อว่าการประเมินที่เหมาะสมน้ัน
ต้องพิจารณาหลายๆ ด้าน ดังท่ีกล่าวมาแลวท้ัง 4 ประการ โดยเน้นว่าการประเมินโครงการด้านการเรียนการ
สอนนั้นไม่ควรประเมินเฉพาะแต่จุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้เท่านั้น แต่ควรประเมินหรือตรวจสอบผลข้างเคียงของ
โครงการด้วย ครอนบาคยังมีความเห็นเพิ่มเติมอีกว่า หน้าที่สำคัญประการหนึ่งของการประเมินโครงการด้าน
การเรียนการสอนก็คือการค้นหาข้อบกพร่องของโครงการ เพ่ือจะได้หาทางปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเรียน
การสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพต่อไป

แนวคิด หลกั การและโมเดลการประเมินของ สครฟี เวน
(Scriven’s Evaluation Ideologies and Model) Scriven, 1967 สครีฟเวน ได้ให้นิยามการ

ประเมินไว้วา่ “การประเมิน” เป็นกจิ กรรมท่ีเกย่ี วของกับการรวบรวมข้อมูลการตัดสนิ ใจเลือกใช้เคร่ืองมือเพื่อ
เก็บข้อมูลและการกำหนดเกณฑ์ประกอบในการประเมิน เป้าหมายสำคัญของการประเมินก็คือ การตัดสิน
คุณค่าใหกับกิจกรรมใดๆ ท่ีต้องการจะประเมิน สครีฟเวน ได้จําแนกประเภทและบทบาทของการประเมิน
ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1. การ ประเมินระหว่างดำเนินการ (Formative Evaluation) เป็นบทบาทของการ
ประเมินงานกิจกรรม หรือโครงการใดๆ ที่บ่งชี้ถึงข้อดีและข้อจำกัดท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการดําเนินงานน้ันๆ
อาจเรียกการประเมินประเภทนี้ว่า เป็นการประเมินเพื่อการปรับปรุง 2. การประเมินผลรวม
(SummativeEvaluation) เป็นบทบาทของการประเมินเม่ือกิจกรรมหรือโครงการใดๆ ส้ินสุดลงเพ่ือเป็นตัว
บ่งชี้ถงึ คุณคาความสำเรจ็ ของโครงการนน้ั ๆ จึงอาจเรยี กการประเมินประเภทนี้ว่าเปน็ การประเมนิ สรุปรวม

นอกจากน้ีสครีฟเวน ยังได้เสนอสิ่งท่ีต้องประเมินออกเป็นส่วนสำคัญอีก 2 ส่วน คือ 1. การประเมิน
เกณฑ์ภายใน (Intrinsic Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับคุณภาพของเคร่ืองมือที่ใช้ในการ
เกบ็ ข้อมูลรวมทั้งคณุ ภาพของคุณลักษณะต่างๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การดำเนินโครงการ 2. การประเมินความคุ้มค่า
(Payoff Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของโครงการ ทฤษฎีหรือส่ิงอื่นๆ ของ
โครงการเปน็ การประเมนิ ในส่วนซึ่งเป็นผลท่ีมตี ่อผู้รบั บรกิ ารจากการดำเนนิ โครงการ

สามารถสรุปไดว้ ่า สครีฟเวนให้ความสำคัญต่อการประเมินเกณฑ์ภายในมากแตข่ ณะเดียวกัน จะต้อง
ตรวจสอบผลผลิตในเชงิ สมั พันธ์ของตวั แปรระหวา่ งกระบวนการกับผลผลติ อ่ืนๆ ที่เกิดขน้ึ ด้วย แนวคดิ ทางการ
ประเมินของสครีฟเวนได้พัฒนาไปจากแนวคิดเดิมของการประเมินท่ียึดตามวัตถุประสงค์แต่เพียงอย่างเดียว
มาเปน็ การประเมินที่มุ่งเน้นถึงผลผลิตต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม หรือโครงการใดๆ ในทุกดา้ นโดยให้
ความสนใจต่อผลผลติ ตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นทัง้ ท่เี ป็นผลโดยตรง

16

หลักวงจรคณุ ภาพเดมม่งิ “PDCA”
วงจรการควบคุมคุณภาพ (PDCA Cycle) หรือ วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) คือ แนวคิดการ

พัฒนาการทำงานเพ่ือควบคุมคุณภาพงานให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนามาจากแนวคิดของวอล์ทเตอร์
ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกันมากขึ้นเม่ือ เอด
วาร์ด เดมม่ิง (W.Edwards Deming) นักจัดการบริหารคุณภาพ ได้นำเสนอและเผยแพร่ใช้เป็นเคร่ืองมือ
สำหรับการปรับปรุงกระบวนการทำงานของพนักงานภายในโรงงานให้ดีขึ้นซึ่งจะใช้ในการค้นหาปัญหา
อปุ สรรคในขั้นตอนการทำงานโดยพนกั งาน จนเปน็ ทรี่ ูจ้ ักกนั ในชื่อวา่ วงจรเดมมิง่ หรอื วงจร PDCA

แนวคิดวงจร PDCA เป็นแนวคิดที่ง่ายไม่ซับซ้อน สามารถนำไปใช้ได้ในเกือบจะทุกกิจกรรมจึงทำให้
เปน็ ทรี่ ู้จักกนั อย่างแพร่หลายมากขนึ้ ทั่วโลก PDCA เป็นอกั ษรนำของภาษาองั กฤษ 4 คำคือ
1. การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดการทำงานที่ได้ผลงาน การปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง การพัฒนาสิ่งใหม่การแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน มีส่วนที่สำคัญเช่นการกำหนด
เป้าหมาย วัตถุประสงค์การจัดอันดับความสำคัญของเป้าหมาย กำหนดการดำเนินงานกำหนดระยะเวลาการ
ดำเนินงาน กำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินการ และกำหนดงบประมาณที่จะใช้การวางแผนท่ีดีควรต้องเกิดจาก
การศึกษาทดี่ ีมกี ารวางแผนไวร้ ดั กุมรอบคอบปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมของงานและเหตุการณแ์ ผนทไ่ี ด้
ต้องช่วยในการคาดการณ์ส่ิงท่ีเกิดขึ้นและสามารถช่วยลดความสูญเสียท่ีอาจเกิดข้ึนได้การวางแผนควรมีการ
กำหนด

- การกำหนดเปา้ หมาย
- วตั ถุประสงค์
- กำหนดผรู้ ับผิดชอบ
- ระยะเวลาดำเนนิ การ
- งบประมาณที่กำหนด
- มีการเสนอเพอ่ื ขออนุมตั ิกอ่ นดำเนนิ การ เป็นต้น
2. ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดำเนินการเพ่ือให้ได้ตามแผนที่มีการกำหนดไว้อาจมีการกำหนดโครงสร้าง
คณะทำงานรองรับการดำเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กำหนดวิธีในการดำเนินงานข้ันตอน ผู้ดูแล
รับผดิ ชอบ ผู้ตรวจสอบและทำการประเมนิ ผล การปฏบิ ัตกิ ารควรมี
- มีคณะทำงานคอยควบคมุ กำหนดนโยบาย ตดิ ตามตรวจสอบการทำงาน
- มกี ารกำหนดข้ันตอนทชี่ ัดเจน
- มวี ธิ ีการดำเนนิ การทสี่ ามารถดำเนินการได้จรงิ ไม่ยากจนเกนิ ความสามารถของผู้ท่ีจะทำ
- มีผ้รู บั ผิดชอบดำเนนิ การท่ชี ัดเจน เพยี งพอ
- มรี ะยะเวลาท่กี ำหนดทเี่ หมาะสม
- มีงบประมาณในการทำงาน เปน็ ตน้
3. ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิตามแผน (Check) คือ ขั้นตอนท่เี รมิ่ เมอื่ มีการดำเนนิ โครงการตามข้อ 2 ควรจะต้องทำ
การประเมินผลการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ อาจประเมินในส่วนการประเมินผล
งานการดำเนินการ การประเมินผลการดำเนินตามขั้นตอน และการประเมนิ ผลงานตามเป้าหมายของแผนงาน
ที่ได้มีการกำหนดไว้ในการประเมินนี้เราอาจสามารถทำได้เองโดยใช้คณะกรรมการที่รับผิดชอบในแผนการ
ดำเนินงานภายในเป็นการประเมินตนเอง แต่การใช้คนภายในอาจทำให้ขาดความน่าเช่ือถือหรือประเมินผลได้
ไม่เต็มท่ี จะดีหากมีการตั้งคณะประเมินจากภายนอกมาช่วย เพราะน่าจะได้ผลการประเมินที่ดีกว่าทีมงาน
ภายใน เพราะอาจมีปัญหาชว่ ยกันประเมินผลให้ดีเกนิ จรงิ แนวทางทจี่ ะใช้ในการประเมนิ เชน่
- กำหนดวิธกี ารประเมนิ แยกใหช้ ดั เจนสามารถทำไดง้ า่ ย
- มีรปู แบบการประเมนิ ตรงกับเปา้ หมายในงานท่ที ำ

17
- มีคณะผู้จะเข้าทำการประเมินทมี่ ีความรู้เพยี งพอ
- แนวคำตอบผลของการประเมิน ตอ้ งสามารถตอบโจทยแ์ ละตรงกบั วัตถุประสงคท์ ่วี างไว้
- เน้นการประเมินปญั หา / จดุ ออ่ น / ข้อด/ี จุดแข็ง ท่ีมีในการดำเนินการ เปน็ ตน้
4. ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเนื่อง (Act) คือ การนำผลประเมินที่ได้มาทำการวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแผนในการ
ปรับปรุงต่อไป ในส่วนน้ีควรจะเสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปญั หา หรอื การพัฒนาระบบที่มีอยู่
แล้วใหด้ ียง่ิ ขน้ึ ไปอกี ไม่มีท่ีสิ้นสดุ
- ทำการระดมสมอง เพ่ือหาทางแกไ้ ข ปญั หา / จุดออ่ น / ขอ้ ด/ี จดุ แข็ง ทพ่ี บ ปรับปรงุ ใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ
- นำผลที่ไดจ้ ากการระดมสมองเสนอผูเ้ กย่ี วข้องเพอื่ พิจารณาใชว้ างแผนตอ่ ไป
- กำหนดกลยุทธ์ในการจัดทำแผนคร้งั ต่อไป
- กำหนดผู้รบั ผิดชอบดำเนินงานครง้ั ตอ่ ไป
การพัฒนาระบบ PDCA เป็นการปรับปรุงพัฒนาระบบงานที่มีอยู่แล้วให้ดีย่ิงขึ้นไปอีก โดยควรจะมี
การดำเนนิ การต่อเนือ่ งไม่มีท่ีส้ินสุด จงึ เปน็ ที่มาขอแนวคดิ การควบคมุ คุณภาพและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใน
การปรบั ปรุงพฒั นาตอ่ เนอ่ื งควรมีการดำเนินการ
วงจรคุณภาพ คือ กระบวนการทำงานที่เปรียบกับวงล้อ ที่เต็มไปด้วยข้ันตอน 4 ขั้นตอน คือ การ
วางแผน การดำเนินตามแผน การตรวจสอบ การปรับปรุง แก้ไข เมื่อวงล้อหมุนไป 1 รอบ จะทำให้งาน
บรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้และหากการดำเนินงานน้ันเกิดสะดุด แสดงว่ามีบางข้ันตอนหายไป (โทชา
วะ 2544 : 117-122)

หลกั การประเมนิ โครงการรปู แบบ PDCA ดงั น้ี

ภาพที่ 1 หลกั การ PDCA

18

หลกั การประเมนิ ผลโครงการรปู แบบ CIPP MODEL
“การประเมิน คือ กระบวนการของการระบุหรือ กำหนดข้อมูลท่ีต้องการ รวมถึงการดำเนินการเก็บ

ข้อมูล และนำข้อมูลท่ีเก็บมาแล้วน้ันมาจัดทำให้เกิดสารสนเทศที่มีประโยชน์เพื่อนำเสนอสำหรับใช้เป็น
ทางเลือกในการประกอบการตัดสินใจ” (Danial . L. Stufflebeam) แบบจำลอง(Model) หมายถึง วิธีการ
สื่อสารทางความคิด ความเข้าใจ ตลอดจนจินตนาการที่มีต่อปรากฎการณ์หรือเรื่องราวใดๆ ให้ปรากฏโดยใช้
การส่ือในลักษณะต่างๆ เช่น แผนภูมิแผนผังระบบสมการ และรูปแบบอื่น เป็นต้น เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย และ
สามารถนำเสนอเร่ืองราวได้อย่างมีระบบ การประเมินผลโครงการนั้น มีแนวคิดและโมเดลหลายอย่าง ณ ท่ีนี้
ขอเสนอแนวคิดและโมเดล การประเมินแบบซิปป์หรือ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Danial . L.
Stufflebeam) เพราะเป็นโมเดลทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั กันทวั่ ไปในปัจจบุ นั

แนวคิด การประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971สตัฟเฟิลบีม
และคณะ ได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเล่ม ช่ือ “Educational Evaluation and decision
Making” หนังสือเล่มน้ีได้เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง เพราะให้แนวคิดและวิธีการทางการวัดและ
ประเมินผล ได้อย่างน่าสนใจและทันสมัยด้วย นอกจากน้ันสตัฟเฟิลบีมก็ได้เขียนหนังสือเก่ียวกับการประเมิน
และรูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ท่านผู้น้ีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการ
พัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นท่ียอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่า “CIPP Model”“CIPP MODEL”
เป็นการประเมินที่เป็นกระบวนการต่อเนื่อง มีจุดเน้นท่ีสำคัญ คือ ใช้ควบคู่กับการบริหารโครงการ เพ่ือหา
ข้อมูลประกอบการตดั สนิ ใจ อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลา วตั ถุประสงคก์ ารประเมิน คือ การใหส้ ารสนเทศเพ่ือการ
ตัดสินใจ เน้นการแบ่งแยกบทบาทของการทำงานระหว่างฝ่ายประเมินกับ ฝา่ ยบริหารออกจากกันอย่างเดน่ ชัด
กล่าวคือฝ่ายประเมินมีหน้าท่ีระบุจัดหา และนำเสนอสารสนเทศให้กับฝ่ายบริหาร ส่วนฝ่ายบริหารมีหน้าท่ี
เรียกหาข้อมูล และนำผลการประเมินที่ได้ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เพื่อดำเนินกิจกรรมใดๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
แล้วแต่กรณีท้ังนี้เพ่ือป้องกันการมีอคติในการประเมิน และ เขาได้แบ่งประเด็นการประเมินผลออกเป็น 4
ประเภท คือ

1. การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C) เป็นการประเมินให้ได้
ข้อมูลสำคัญ เพ่ือชว่ ยในการกำหนดวตั ถุประสงค์ของโครงการ ความเปน็ ไปได้ของโครงการ เปน็ การตรวจสอบ
ว่าโครงการที่จะทำสนองปัญหาหรือความต้องการจำเป็นที่แท้จริงหรือไม่วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจน
เหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ หรือ นโยบายหน่วยเหนือหรือไม่ เป็นโครงการท่ีมีความเป็นไป
ไดใ้ นแงข่ องโอกาสที่จะได้รับการสนับสนนุ จากองคก์ รตา่ งๆ หรือไม่ เป็นตน้

การประเมินสภาวะแวดล้อมจะช่วยในการตัดสินเกี่ยวกับเรื่อง โครงการควรจะทำในสภาพแวดล้อม
ใด ตอ้ งการจะบรรลเุ ปา้ หมายอะไร หรือตอ้ งการบรรลวุ ตั ถุประสงค์เฉพาะอะไร เปน็ ต้น

2. การประเมนิ ปจั จยั เบ้อื งต้นหรือปัจจัยปอ้ น (Input Evaluation : I) เป็นการประเมินเพอื่ พจิ ารณา
ถึง ความเป็นไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรที่จะใช้ในการดำเนิน
โครงการ เช่น งบประมาณ บคุ ลากร วสั ดุอปุ กรณเ์ วลา รวมท้ังเทคโนโลยีและแผนการดำเนินงาน เปน็ ต้น

การประเมินผลแบบน้ีจะทำโดยใช้เอกสารหรืองานวิจัยท่ีมีผู้ทำไว้แล้ว หรือใช้วิธีการวิจัยนำร่องเชิง
ทดลอง (Pilot Experimental Project) ตลอดจนอาจให้ผู้เช่ียวชาญ มาทำงานให้อย่างไรก็ตาม การ
ประเมินผลนี้จะต้องสำรวจสิ่งที่มีอยู่เดิมก่อนว่ามีอะไรบ้าง และตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการใดใช้แผนการ
ดำเนนิ งานแบบไหน และต้องใชท้ รัพยากรจากภายนอกหรอื ไม่

3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P) เป็นการประเมินระหว่างการดำเนินงาน
โครงการ เพ่ือหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการ ที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไขปรับปรุง ให้การ
ดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากข้ึน และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลาทรัพยากรท่ีใช้ในโครงการ
ภาวะผู้นำ การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานทุกข้ันตอน การประเมิน

19

กระบวนการนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหาจุดเด่น หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดด้อย
(Weakness) ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ มักจะไมส่ ามารถศึกษาได้ภายหลงั จากสนิ้ สดุ โครงการแล้ว

การประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสำคัญในเรื่องการให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นระยะๆ เพื่อการ
ตรวจสอบการดำเนินของโครงการโดยทั่วไป การประเมนิ กระบวนการมีจดุ มุง่ หมาย คือ

3.1 เพอ่ื การหาขอ้ บกพรอ่ งของโครงการ ในระหวา่ งทม่ี กี ารปฏบิ ตั กิ าร หรอื การดำเนินงานตามแผนน้ัน
3.2 เพอ่ื หาขอ้ มูลตา่ งๆ ท่ีจะนำมาใช้ในการตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั การดำเนนิ งาน ของโครงการ
3.3 เพอื่ การเกบ็ ขอ้ มูลต่างๆ ทไ่ี ด้จากการดำเนนิ งานของโครงการ

4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตท่ีเกิด
ขี้นกบั วัตถุประสงค์ของโครงการ หรือความต้องการ/ เป้าหมายทก่ี ำหนดไว้รวมท้ังการพจิ ารณาในประเด็นของ
การยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ์
(Outcomes ) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ โดยอาศัยข้อมูลจากการประเมินสภาวะแวดล้อม ปัจจัย
เบ้ืองต้นและกระบวนการร่วมด้วย จะเห็นได้ว่า การประเมินแบบ CIPP เป็นการประเมินที่ครอบคลุม
องค์ประกอบของระบบทั้งหมด ซ่ึงผู้ประเมินจะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินท่ีครอบคลุมท้ัง 4
ด้าน กำหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวช้ีวัดกำหนดแหล่งข้อมูลผู้ให้ข้อมูล กำหนดเคร่ืองมือการประเมิน
วิธีการท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกำหนดแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมินท่ีชัดเจนเมื่อ
พิจารณาถึงช่วงเวลาของการประเมินผลโครงการ เพ่ือจำแนกประเภทของการประเมินผลโครงการโดย
ละเอยี ดแลว้ เราสามารถจำแนกได้ว่าการประเมินผลโครงการมี 4 ระยะดังตอ่ ไปน้ี

1) การประเมินผลโครงการก่อนการดำเนนิ งาน (Pre-evaluation) เป็นการประเมนิ ว่ามีความจำเป็น
และความเป็นไปได้ในการกำหนดให้มีโครงการหรือแผนงานนั้นๆหรือไม่ บางคร้ังเรียกการประเมินผล
ประเภทน้ีว่า การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หรือการประเมินความต้องการที่จำเป็น (Need
Assessment)

2) การประเมินผลโครงการขณะดำเนินงาน (On-going Evaluation) เป็นการประเมินผลโครงการ
เพอ่ื ติดตามความก้าวหนา้ ของการดำเนนิ งาน (Monitoring) และการใช้ทรัพยากรต่างๆ

3) การประเมินผลโครงการเมอื่ สิ้นสดุ การดำเนนิ งาน (Post-evaluation) เป็นการประเมินวา่ ผลของ
การดำเนนิ งานนนั้ เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการท่ีวางไวห้ รือไม่

4) การประเมินผลกระทบจากการดำเนินโครงการ (Impact Evaluation) เป็นการประเมินผล
โครงการ ภายหลังจากการส้ินสุดการดำเนินโครงการหรือแผนงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลการ
ดำเนินงานทีเ่ กดิ ขนึ้ ซง่ึ อาจจะได้รบั อทิ ธพิ ลจากการมโี ครงการหรือปัจจัยอ่นื ๆ

20

หลักการ CIPP MODEL มีรปู แบบดังน้ี

ภาพท่ี 2 หลักการประเมนิ ผลรูปแบบ CIPP MODEL

ตัวแปรต้น กรอบแนวคดิ การประเมนิ ผลโครงการ

ข้อมลู ทัว่ ไป ตวั แปรตาม
1.เพศ
2.อายุ ประเมนิ ผลโครงการตามวงจรเดมมิ่ง
3.อาชพี PDCA ตามแนวคดิ CIPP MODEL
4.รายได้ ของสตฟั เฟลบีม ( D.L. Stufflebeam,
5.การศกึ ษา 1997 , P. 261-265 )

1.ประเมินสภาวะแวดล้อม
2.ประเมนิ การปจั จัยเบ้อื งตน้
3.ประเมนิ กระบวนการ
4.กระประเมนิ ผลผลติ

ภาพท่ี 3 กรอบแนวคิดการประเมินผลโครงการ

บทท่ี 3

วิธกี ารประเมินโครงการ

วิธกี ารประเมนิ ของโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูด มกี ระบวนการขัน้ ตอนใน
การวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้

1. รปู แบบการประเมนิ โครงการ
2. วธิ กี ารประเมนิ โครงการ
3. ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ ง
4. เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ โครงการ
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
6. การวิเคราะหผ์ ลการประเมินงาน

รปู แบบการประเมนิ โครงการ

การประเมนิ โครงการนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ใช้รูปแบบการประเมนิ โครงการ
แบบ CIPP MODEL ของสตฟั เฟลบมี ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดังนี้

ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม • หลกั การ
( Context Evaluation ) • วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
• เป้าหมายของโครงการ
• การเตรียมการภายในโครงการ

ประเมินการปัจจยั เบ้ืองตน้ • บุคลากร
( Input Evaluation ) • วสั ดุอุปกรณ์
• เคร่ืองมือเคร่ืองใช้
• งบประมาณ

ประเมินกระบวนการ • การดาเนินโครงการ
( Process Evaluation ) • กิจกรรมการดาเนินงานตาม

โครงการ
• การนิเทศติตามกากบั
• การประเมินผล

22

การประเมินผลผลิต • ผลการดาเนินโครงการ
( Product Evaluation ) • คุณภาพผเู้ รียน

ภาพท่ี 4 รูปแบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL

วิธกี ารประเมนิ โครงการ

โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด มีวิธีการประเมินโครงการแบบ การประเมิน
โครงการคุณภาพ โดยใชห้ ลักการวงจรเดมมงิ่ “PDCA” ตามแนวคดิ “CIPP” ของสตฟั เฟลบมี ในการติดตาม
และประเมนิ ผลโครงการ

ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
ประชากรและกลุม่ ตวั อย่างที่ใช้ในการตดิ ตามและประเมินผลโครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอก

อัญชนั และมะกรูด มดี ังน้ี

ประชากร จำนวน
10 คน
1. ประชากรในพนื้ ทผ่ี ทู้ ่ีเกย่ี วข้อง
กบั การดำเนนิ โครงการน้ำยาเช็ด
กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด

กลุ่มตัวอยา่ ง จำนวน
10 คน
1. ประชากรในพืน้ ทผี่ ู้ทสี่ นใจใน
โครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอก
อัญชันและมะกรูด

ประชากร คือ ประชาชนในพ้ืนที่ ผู้ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การดำเนนิ โครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชัน
และมะกรดู ในหมู่ท่ี 7 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอเมอื งสุราษฎรธ์ านี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 10 คน

กลมุ่ ตวั อย่าง คอื ประชาชนในพื้นท่ี ผทู้ ีส่ นใจในโครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู
ในหมู่ท่ี 7 ตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี จำนวน 10 คน

โดยใชว้ ธิ สี มุ่ ตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง

เครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการประเมนิ โครงการ
การประเมินโครงการใช้กระบวนการศึกษาคุณภาพ จึงมีเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินโครงการน้ำยา

เช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต การมีส่วนร่วมและการ
บนั ทกึ ภาพ

23

โดยเครอื่ งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ โครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูด มจี ำนวน 10 ฉบับ ดงั น้ี
ส่วนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แก่ เพศ อายุอาชีพ การศึกษา

รายได้ โดยเป็นแบบปลายเปิดให้เลือกตอบในช่องทกี่ ำหนด
ส่วนที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณ์ประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด โดยใช้

แบบประเมนิ CIPP MODEL มี 4 ดา้ น จำนวน 12 ข้อ ดงั นี้
1.1 สภาวะด้านส่ิงแวดล้อม ( Context ) จำนวน 3 ข้อ โดยผู้ตอบสามารถเขียนรายละเอยี ดการตอบ

ไดอ้ ยา่ งอิสระ
1.2 ดา้ นปัจจัย ( Input ) จำนวน 3 ข้อ โดยผู้ตอบสามารถเขยี นรายละเอียดการตอบไดอ้ ย่างอสิ ระ
1.3 ด้านกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ โดยผตู้ อบสามารถเขียนรายละเอียดการตอบได้
อยา่ งอสิ ระ
1.4 ดา้ นผลผลติ ( Product ) จำนวน 3 ข้อ โดยผตู้ อบสามารถเขียนรายละเอยี ดการตอบได้อย่าง
อสิ ระ
ส่วนท่ี 3 ปัญหาหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานในการจัดทำโครงการ โดยเป็นแบบ

ปลายเปดิ ใหต้ อบแบบบรรยาย

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้จัดทำได้ทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีรายละเอียดใน

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั นี้
1. แจ้งใหท้ ราบลว่ งหน้าว่าจะทำการตดิ ตอ่ สัมภาษณเ์ พ่ือในการประเมนิ ผลโครงการ
2. ใชเ้ วลาสมั ภาษณ์ 5-10 นาทีตอ่ คนโดยประมาณ
3. ผู้สัมภาษณท์ ำการตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบรู ณเ์ พ่อื นำไปใช้ในการเคราะหข์ อ้ มลู ของโครงการ
ต่อไป

การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ
วเิ คราะห์ผลการประเมนิ โครงการ โดยใชก้ ารวเิ คราะหเ์ ชงิ คุณภาพ

การวิเคราะหข์ ้อมลู เชงิ คุณภาพ
ข้ันตอนที่ 1 การทำใหข้ ้อมลู ที่เกบ็ รวบรวมได้มาอยูใ่ นสภาพที่สะดวกและง่ายต่อการนำไปวเิ คราะห์
ข้ันตอนท่ี 2 ทำดัชนีหรือกำหนดรหัสของข้อมูล ซ่ึงเป็นการจัดระเบียบของเน้ือหา คือ การจัดข้อมูล

โดยการใช้คำหลักซ่ึงอาจมีลกั ษณะเป็นวลีหรือข้อความหน่ึงมาแทนขอ้ มูลที่บนั ทึกไวใ้ นบันทกึ ภาคสนาม ส่วนที่
เป็นการบันทึกพรรณนา หรือบันทึกละเอียดส่วนใดส่วนหน่ึง เพื่อแสดงให้เห็นข้อมูลในการบันทึกพรรณนา
ส่วนนั้นเป็นเรื่องเก่ียวกับอะไร คำหลัก (วลีหรือข้อความ) ท่ีกำหนดขึ้นน้ันจะมีลักษณะเป็นมโนทัศน์
(concep) ซึ่งมีความหมายแทนข้อมูลบันทึกละเอียดส่วนน้ัน การจัดทำดัชนีหรือกำหนดรหัสของข้อมูลนั้น
สามารถทำได้สองลักษณะคือ จัดทำไว้ล่วงหน้าก่อนเช้า สนามวิจัยและจัดทำตามข้อมูลที่ปรากฎในบันทึก
ภาคสนาม หรือบางคร้ังเรียกว่า การจัดทำดัชนีข้อมูลแบบนิรนัย (deductive coding) และแบบอุปนัย
(inductive coding)

ข้ันตอนที่ 3 การกำจดั ข้อมูลหรือสร้างข้อสรุปชั่วคราว น้ีคือการสรุปเช่อื มโยงดัชนีคำหลักเข้าดว้ ยกัน
ภายหลังจากผ่านกระบวนการทำดัชนีหรือกำหนดรหัสข้อมูลแล้ว การเชื่อมโยงคำหลักเข้าด้วยกันจะเขียนเป็น
ประโยคข้อความท่ีแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคำหลัก และจากการเช่อื มโยงดชั นคี ำหลักในตัวอยา่ งเขา้ ดว้ ยกัน
จะเห็นวา่ ทำให้ข้อมูลในส่วนที่เป็นบันทึกละเอยี ดท่ีมีอยู่มากน้ันถูกลดทอนหรือตัดทิ้งไปจนกระทั่งเหลือเฉพาะ
ประเด็นหลกั ๆ ท่นี ำมาผกู โยงกันเท่าน้ัน

24

ขั้นตอนที่ 4 สร้างบทสรุป คือ การเขียนเช่ือมโยงข้อสรุปช่ัวคราวท่ีผ่านการตรวจสอบยืนยันแล้วเข้า
ด้วยกัน การเชอ่ื มขอ้ สรุปช่ัวคราวน้ันจะเชื่อมโยงตามลำดับข้อสรุปแต่ละข้อสรุปเป็นบทสรุปย่อยและเชอื่ มโยง
บทสรปุ ย่อยแตล่ ะบทสรปุ เข้าด้วยกันเป็นบทสรุปสุดทา้ ย

ขน้ั ตอนท่ี 5 พสิ ูจน์ความน่าเช่ือถือของผลการวิเคราะห์เพอื่ พสิ ูจน์ว่าบทสรุป นั้นสอดคล้องกันหรือไม่
ซ่ึงโดยทั่วไปแล้วการพิสูจน์นับทสรุปก็มักจะเปน็ การพจิ ารณาวิธีการเก็บข้อมูลน้ันวา่ ดำเนินการอย่างรอบคอบ
หรอื ไมเ่ พยี งไร และข้อมลู ท่ีเก็บรวบรวมไดม้ านั้นเป็นข้อมูลทีม่ คี ุณภาพนา่ เชื่อถอื หรือไม่

บทท่ี 4

ผลการประเมนิ โครงการ

การนำเสนอผลการประเมนิ โครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการไดน้ ำเสนอผลการประเมินโครงการ
จำนวน 4 ตอน ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด หลังการดำเนนิ
โครงการแสดงดังตารางต่างๆ คือ
ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นสภาวะแวดล้อม
ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นปจั จัย
ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ
ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการด้านผลผลิต

ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
ตารางท่ี 1 ผลการประเมินโครงการดา้ นสภาวะแวดล้อม

ดา้ นท่ี 1 ด้านสภาวะแวดล้อม สรปุ จากขอ้ คำถามท่ี 1
คนท่ี 1 ดอกอญั ชันและมะกรดู ในท้องถ่นิ มีเพยี งพอตอ่ การทำ
นำ้ ยาเชด็ กระจก
คนที่ 2 ดอกอัญชันและมะกรดู ในท้องถ่ินมีเป็นจำนวนมาก
คนท่ี 3
คนที่ 4 ดอกอัญชันในทอ้ งถนิ่ มแี ทบจะทุกบ้าน

คนท่ี 5 ดอกอัญชันและมะกรูดมเี พยี งพอตอ่ การทำน้ำยาเชด็
คนท่ี 6 กระจก

คนท่ี 7 ดอกอญั ชันในทอ้ งถ่ินมีเยอะมาก
มดี อกอัญชนั เพยี งพอต่อการทำนำ้ ยาเช็ดกระจกจาก
คนท่ี 8 ดอกอัญชันและมะกรดู
คนที่ 9 ดอกอญั ชันมเี ปน็ จำนวนมากเพยี งพอต่อการทำนำ้ ยา
เชด็ กระจก
คนที่ 10 ดอกอญั ชันมีเยอะมากดอกอัญชนั สามารถเก็บมาใช้ได้

ดอกอัญชันมีเพียงพอตอ่ การทำนำ้ ยาเชด็ กระจกเยอะ
พอสมควร

ดอกอัญชันมีเยอะมากท่จี ะทำนำ้ ยาเช็ดกระจก

สรปุ ผลจากข้อคำถามที่ 1 ผตู้ อบแบบสอบถามตอบวา่ ผลการประเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด ในท้องถ่ินมีเพียงพอต่อการทำน้ำยาเช็ดกระจก จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่า ดอก
อัญชันและมะกรูดมีเพียงพอมีเป็นจำนวนมาก ในหมู่บ้านมีแทบทุกหลังหาได้ง่ายไม่ต้องซื้อ แถมยังประหยัด
ค่าใชจ้ า่ ย

26

ด้านที่ 1 ดา้ นสภาวะแวดล้อม สรุปจากขอ้ คำถามที่ 2
คนท่ี 1
คนที่ 2 ดอกอัญชนั และมะกรูดเป็นประโยชนต์ ่อการทำนำ้ ยา
คนท่ี 3 เชด็ กระจก
คนที่ 4
คนท่ี 5 ดอกอญั ชันและมะกรูดเป็นสว่ นผสมทส่ี ำคญั ต่อการ
คนท่ี 6 ทำน้ำยาเชด็ กระจก
คนท่ี 7
คนท่ี 8 ดอกอัญชันและมะกรดู เป็นส่งิ ทีส่ ามารถนำมาทำ
คนที่ 9 นำ้ ยาเช็ดกระจก
คนท่ี 10
ดอกอญั ชนั และมะกรูดมปี ระโยชนเ์ พราะเป็น
ผลิตภณั ฑ์ท่ีทำให้กระจกสะอาดข้ึน

ดอกอัญชนั และมะกรูดเปน็ สิ่งสำคัญตอ่ การใชท้ ำ
นำ้ ยาเช็ดกระจก

ดอกอญั ชนั และมะกรูดเปน็ ประโยชนต์ อ่ การนำมาทำ
น้ำยาเช็ดกระจกเป็นสว่ นประกอบสำคัญ

ดอกอัญชนั และมะกรดู เป็นส่วนผสมทส่ี ำคญั ทจี่ ะ
นำมาทำน้ำยาเชด็ กระจก

ดอกอัญชันและมะกรูดเป็นสง่ิ ทสี่ ามารถนำมาทำ
นำ้ ยาเช็ดกระจกได้

ดอกอญั ชนั และมะกรดู มปี ระโยชน์ในการทำนำ้ ยา
เชด็ กระจก

ดอกอัญชันและมะกรูดเปน็ สง่ิ สำคญั ตอ่ การใชท้ ำ
น้ำยาเชด็ กระจก

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 2 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบวา่ ผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด เป็นประโยชน์ต่อการนำมาทำน้ำยาเช็ดกระจก จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่า ดอก
อญั ชนั และมะกรูดเปน็ ประโยชน์และเป็นส่วนผสมสำคัญต่อการใช้นำมาทำน้ำยาได้ดีและเป็นประโยชน์ในการ
นำวตั ถุดบิ มาทำนำ้ ยาเช็ดกระจก

27

ด้านท่ี 1 ดา้ นสภาวะแวดล้อม สรปุ จากขอ้ คำถามท่ี 3
คนท่ี 1 ดอกอญั ชันและมะกรดู ท่มี ีอยู่ในท้องถิ่นเปน็ การปลูก
เพอื่ ทำอาหารและขนม
คนท่ี 2 ดอกอญั ชนั และมะกรูดที่มอี ยูใ่ นท้องถิน่ สง่ เสริมการ
เพื่อใช้ในการนำไปทำงานและทำอาหาร
คนท่ี 3 ดอกอญั ชันและมะกรดู ที่มอี ย่ใู นท้องถิ่นปลูกขี้นเพอ่ื
เก็บมาทำน้ำดื่ม
คนที่ 4 ดอกอญั ชนั และมะกรดู ทีม่ อี ยใู่ นท้องถิ่นปลูกเพอ่ื
สง่ เสรมิ การอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
คนที่ 5 ดอกอญั ชนั และมะกรูดที่มอี ยู่ในท้องถิน่ ท่ีปลกู ไวเ้ ปน็
จำนวนมาก
คนที่ 6 เป็นการปลูกดอกอัญชันและมะกรดู เพือ่ ทำอาหาร
และขนม
คนท่ี 7 ส่งเสรมิ การปลกู เพ่อื ใชใ้ นการนำไปทำอาหาร
คนที่ 8
คนท่ี 9 ดอกอัญชนั ปลูกข้ีนเพอื่ เก็บมาทำน้ำดม่ื ดอกอญั ชัน
คนท่ี 10
ปลูกเพอ่ื ส่งเสรมิ การอนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม
ปลกู เพ่ือส่งเสริมการอนุรักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม

สรปุ ผลจากขอ้ คำถามที่ 3 ผตู้ อบแบบสอบถามตอบวา่ ผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอญั ชนั และมะกรดู ในทอ้ งถิ่นสร้างเสรมิ การอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อม จากการสอบถามน้นั สรุปไดว้ ่า ดอก
อัญชนั และมะกรูดเปน็ การปลูกไวต้ ามธรรมชาติและปลูกไวท้ ำอาหารเครือ่ งดมื่ และปลูกไว้อนุรักษว์ ง่ิ แวดลอ้ ม
แตบ่ างพืน้ ทีห่ ายาก

28

ตารางท่ี 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปจั จยั

ด้านท่ี 2 ดา้ นปัจจัย สรปุ จากข้อคำถามที่ 1
ประหยดั ค่าใช้จา่ ยภายในบ้านได้
คนที่ 1 ลดค่าใชจ้ ่ายภายในบ้านได้
คนท่ี 2 ไมต่ อ้ งนำเงนิ ไปซอ้ื น้ำยาเชด็ กระจกแบบทวั่ ไป
คนท่ี 3 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู แบบ
คนที่ 4 ผลิตเอง ลดคา่ ใชจ้ า่ ยภายในบ้าน
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู
คนที่ 5 ประหยดั และไม่ต้องซอ้ื น้ำยาเช็ดกระจกทแ่ี พง
ประหยัดค่าใช้จา่ ยได้เยอะในการซอื้ น้ำยาเชด็ กระจก
คนท่ี 6 แบบท่วั ไป
ลดค่าใช้จา่ ยภายในบา้ นได้
คนท่ี 7 ไม่ตอ้ งนำเงนิ ไปซอ้ื น้ำยาเชด็ กระจกทมี่ ีราคาแพง
คนท่ี 8 ลดคา่ ใช้จ่ายในการซ้อื น้ำยาเช็ดกระจก
คนท่ี 9 ไม่ตอ้ งซอื้ น้ำยาเชด็ กระจกท่แี พง
คนท่ี 10

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด ลดค่าใช้จ่ายจากการซ้ือน้ำยาเช็ดกระจกแบบทั่วไป จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่า
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไม่ต้องไปซ้ือน้ำยาเช็ดกระจกท่ีมีราคา
แพง

29

ดา้ นที่ 2 ดา้ นปจั จยั สรุปจากขอ้ คำถามที่ 2
บรรจุภัณฑข์ องผลติ ภัณฑ์เล็กใชง้ านง่าย เกบ็ วางง่าย
คนท่ี 1 บรรจภุ ัณฑ์ของผลติ ภัณฑ์มีความเหมาะสม
คนท่ี 2 บรรจุภณั ฑข์ องผลิตภัณฑ์มีความสวยงาม
คนที่ 3 บรรจภุ ณั ฑข์ องผลิตภณั ฑม์ ีความเหมาะสมดกี ับการ
คนที่ 4 ใชง้ าน
บรรจุภัณฑข์ องผลติ ภัณฑ์มีความเลก็ กะทดั รัด
คนท่ี 5 ขวดเล็กใช้งานงา่ ย พกพาสะดวก
คนที่ 6 เหมาะสมกบั ขวดใส่น้ำยาเชด็ กระจก
คนท่ี 7 มคี วามเหมาะสมดเี ป็นขวดสเปรย์ ใช้ฉีดง่าย
คนท่ี 8 เหมาะสมดกี บั การใชง้ านฉดี ได้สะดวก
คนท่ี 9 ขวดเหมาะสมไมใ่ หญเ่ กนิ ไป
คนที่ 10

สรุปผลจากขอ้ คำถามที่ 2 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจาก
ดอกอญั ชันและมะกรูด บรรจภุ ัณฑ์ของผลติ ภัณฑม์ ีความเหมาะสมกะทดั รัด จากการสอบถามนนั้ สรปุ ไดว้ ่า มี
ความเหมาะสมและกะทัดรดั เหมาะกับการใช้งานและเก็บได้งา่ ย

ดา้ นท่ี 2 ด้านปจั จัย 30
คนท่ี 1
สรุปจากขอ้ คำถามที่ 3
คนท่ี 2 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดเป็น
คนที่ 3 ประโยชนแ์ กช่ มุ ชนสำหรับคนที่แพ้นำ้ น้ำยาเช็ด
คนท่ี 4 กระจกแบบทวั่ ไป
คนที่ 5 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู เป็น
คนที่ 6 ประโยชนต์ ่อชุมชน
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดทำให้คน
คนท่ี 7 ชมุ ชนประหยัดค่าใชจ้ ่ายและเป็นประโยชน์
คนท่ี 8 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู ทำให้คน
คนที่ 9 ในชมุ ชนไมต่ อ้ งซือ้ นำ้ ยาเชด็ กระจกราคาแพง
คนที่ 10 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดเป็น
ประโยชนม์ าก
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู เปน็
ประโยชนแ์ ก่ชุมชนคนท่ีแพ้นำ้ ยาเชด็ กระจกแบบมี
สารเคมี
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดเปน็
ประโยชน์ สามารถใช้ไดแ้ บบปลอดสารเคมี
เปน็ ประโยชน์ที่ทำให้คนในชุมชนไมต่ ้องซื้อนำ้ ยาเชด็
กระจกราคาแพง
ทำใหค้ นชมุ ชนประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการซอ้ื น้ำยาที่
แพงเป็นประโยชน์
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดเป็น
ประโยชน์มาก

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี3 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่าเป็นประโยชน์ต่อคนในชุมชนช่วยให้คนในชุมชน
ประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยทำให้คนในชมุ ชนไม่ตอ้ งเสยี เงนิ ซอื้ นำ้ ยาเช็ดกระจกท่ีมรี าคาแพง

31

ตารางท่ี 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ

ด้านท่ี 3 ด้านกระบวนการ สรุปจากขอ้ คำถามที่ 1
ดอกอัญชันและมะกรดู หาได้งา่ ย
คนท่ี 1 ดอกอญั ชันและมะกรูดหาได้งา่ ยมมี ากในชุมชน
คนที่ 2 ดอกอัญชนั และมะกรูดหาไดเ้ กือบทกุ บ้าน
คนท่ี 3 ดอกอัญชนั และมะกรดู บา้ นส่วนใหญ่ปลูกไว้
คนท่ี 4 ดอกอัญชันและมะกรูดหางา่ ยเปน็ พชื ทไ่ี ม่ตอ้ งซื้อ
คนที่ 5 ดอกอญั ชนั และมะกรูดหาได้ง่ายในท้องถิ่น
คนท่ี 6 ดอกอัญชนั และมะกรดู หาได้งา่ ยในทอ้ งถนิ่
คนที่ 7 ดอกอัญชันและมะกรดู หาได้เกือบทกุ บ้านในท้องถิ่น
คนที่ 8 ดอกอัญชนั และมะกรดู คนในท้องถน่ิ ปลกู ไว้
คนท่ี 9 ดอกอญั ชนั และมะกรดู หางา่ ยเปน็ ส่ิงทีไ่ มต่ อ้ งหาซือ้
คนที่ 10

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบวา่ ผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูดเป็นวัตถุดิบท่ีหาได้ในท้องถิ่น จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่าเป็นวัตถุดิบท่ีหาได้ง่าย
และเปน็ พืชทีไ่ มต่ ้องซ้ือหาไดท้ ุกบ้าน และหาได้ง่ายในชุมชนในทอ้ งถิ่น

32

ดา้ นท่ี 3 ดา้ นกระบวนการ สรุปจากข้อคำถามที่ 2
คนที่ 1
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู ผลิตแบบ
คนท่ี 2 ธรรมชาติ

คนท่ี 3 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดไม่ใช้
สารเคมผี สม
คนท่ี 4
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู ผลติ งา่ ย
คนท่ี 5 ไมต่ อ้ งใชส้ ารเคมี

คนท่ี 6 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดผลิตท่ี
คนท่ี 7 บ้านเองไดง้ ่ายและมีความเปน็ ธรรมชาติ

คนที่ 8 น้ำยาเชด็ กระจกทำจากดอกอัญชนั และมะกรูดทเี่ ป็น
คนที่ 9 ธรรมชาติ
คนท่ี 10
น้ำยาเชด็ กระจกเป็นการผลิตแบบธรรมชาติ

นำ้ ยาเช็ดกระจกไม่ใชส้ ารเคมผี สมในการทำนำ้ ยาเช็ด
กระจก

น้ำยาเช็ดกระจกผลิตงา่ ยใช้วัตถุดบิ แบบธรรมชาติ

น้ำยาเชด็ กระจกเป็นการผลิตท่ีง่ายทำไดเ้ องท่ีบ้าน

นำ้ ยาเชด็ กระจกทำจากวตั ถดุ บิ ท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ
จากดอกอัญชนั และมะกรูด

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 2 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด ผลิตจากธรรมชาติ จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่าน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชัน
และมะกรูด ผลิตแบบธรรมชาติไมใ่ ช้สารเคมี ผลติ เองงา่ ยจากวตั ถุดิบธรรมชาติ

33

ด้านที่ 3 ดา้ นกระบวนการ สรปุ จากข้อคำถามที่ 3
คนที่ 1
คนที่ 2 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดไม่มีสาร
คนท่ี 3 ที่เปน็ อันตราย
คนท่ี 4
คนที่ 5 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ไม่มี
คนที่ 6 สารเคมี
คนท่ี 7
คนที่ 8 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
คนที่ 9 สมั ผัสเเลว้ ไมแ่ พไ้ ม่คนั
คนที่ 10
น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู ไม่มี
สารเคมผี สม

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ไมม่ ี
อาการแพเ้ มอ่ื สมั ผัส

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดไมม่ ี
สารเคมี

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดไมม่ ี
สารเคมี

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดไมม่ ีสาร
ทเ่ี ป็นอนั ตราย

น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด
สมั ผสั เเล้วไม่แพไ้ มค่ นั

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดไม่มีสาร
ทีเ่ ปน็ อนั ตราย

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 3 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด ไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายและใช้งานได้สะดวก จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่าไม่
สารเคมีในน้ำยาเช็ดกระจกใช้งานแล้วไม่แพ้ เหมาะสมกับการใชง้ านกับทุกวยั ท่ีจะใช้เพราะไม่สารอันตรายทำ
ให้แพแ้ ละระคายเคือง

34

ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการด้านผลผลติ

ด้านที่ 4 ด้านผลผลติ สรปุ จากข้อคำถามที่ 1

คนท่ี 1 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เชด็ แลว้
คนที่ 2 สะอาด
คนที่ 3
คนท่ี 4 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดเช็ดแลว้
คนที่ 5 กระจกแวว
คนที่ 6
คนที่ 7 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู เชด็ ฝุน่
คนที่ 8 ออกไดด้ ี
คนท่ี 9
คนท่ี 10 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เช็ดทำ
ความสะอาดกระจกได้

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดเช็ดฝุ่น
ออกไดส้ ะอาด

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู เช็ดฝุ่น
ออกไดส้ ะอาด

น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู เช็ดทำ
ความสะอาดกระจกได้

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดเชด็ ฝุน่
ออกไดด้ ี

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เช็ดแล้ว
กระจกแวว

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เช็ดแล้ว
สะอาด

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด ใช้เช็ดกระจกได้สะอาดและนำใช้ในชีวิตประจำวันได้ จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่า
เชด็ กระจกได้สะอาดฝนุ่ ทเี่ กาะออกดีทำใหก้ ระจกหายหมอง

ดา้ นที่ 4 ดา้ นผลผลติ 35

คนที่ 1 สรุปจากขอ้ คำถามที่ 2
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู มีกลน่ิ
คนที่ 2 หอม
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู มกี ลนิ่
คนท่ี 3 หอมจากมะกรดู
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดมกี ลน่ิ
คนท่ี 4 หอมจากมะกรดู
คนท่ี 5 มะกรูดกับอันชนั มีกลน่ิ ทห่ี อมตามธรรมชาติ
คนที่ 6 มะกรดู กบั อนั ชันมกี ลิ่นหอมอ่อนๆ
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดมกี ลิน่
คนท่ี 7 หอมจากมะกรดู
คนท่ี 8 มะกรดู กับอนั ชนั มกี ลน่ิ ท่ีหอมตามธรรมชาติ
คนท่ี 9 มะกรูดกบั อนั ชันมกี ล่ินหอมออ่ นๆ
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดมกี ลน่ิ
คนที่ 10 หอมจากมะกรดู
น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดมกี ลิน่
หอม

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 2 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูดมีกลิ่นหอม จากการสอบถามน้ัน สรปุ ไดว้ ่าน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
มีกลน่ิ หอมอ่อนๆ จากมะกรูดเปน็ กลนิ่ ธรรมชาติ ไม่แตง่ กล่นิ เปน็ กล่ินหอมจากธรรมชาติ

ด้านที่ 4 ด้านผลผลติ 36

คนท่ี 1 สรปุ จากขอ้ คำถามที่ 3
คนท่ี 2 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ไม่มกี าร
คนที่ 3 แพ้
คนที่ 4 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดใชแ้ ล้วไม่
คนท่ี 5 คัน
คนท่ี 6 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ไมม่ ี
คนท่ี 7 สารเคมี
คนที่ 8 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดใช้แล้วไม่
คนท่ี 9 ระคาย
คนท่ี 10 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดไมม่ ี
สารเคมีปนเปอ้ื น
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดไม่มี
สารเคมีปนเปอื้ น
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ใชแ้ ลว้ ไม่
ระคาย
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดไม่มี
สารเคมี
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดใชแ้ ล้วไม่
คัน
น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ไม่มกี าร
แพ้

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 3 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชนั และมะกรดู ไร้สารเคมที ี่ทำใหเ้ กดิ อันตราย จากการสอบถามนน้ั สรุปไดว้ ่านำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอก
อญั ชันและมะกรดู ไมม่ ีสารเคมที ่ีเกิดอนั ตราย ไม่มีแพ้ระคายเคือง ไม่มีสารเคมีปนเปื้อนผลติ แบบธรรมชาติไมม่ ี
สารเคมี

บทท่ี 5

สรปุ ผล อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ

รปู แบบการประเมนิ

การประเมนิ โครงการนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู ในรูปแบบการประเมนิ แบบ CIPP
MODEL โดยประเมนิ ในด้านสภาวะแวดล้อม (Context) ด้านปัจจัย (Input) ดา้ นกระบวนการ (Process)
และดา้ นผลผลติ (Product)

1. ด้านสภาวะแวดล้อม
ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม ดอกอัญชันและมะกรูดมีเพียงพอ เพราะในชุมชน

นิยมปลูกกันไว้เป็นจำนวนมาก และยังหาใช้งานได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย ดอกอัญชันและมะกรูดเป็น
ประโยชน์และเป็นส่วนผสมสำคัญตอ่ การใช้นำมาทำน้ำยาเช็ดกระจกไดด้ ี และเป็นประโยชน์ในการนำวัตถุดิบ
มาทำน้ำหมักดอกอัญชันและมะกรูด ซ่ึงดอกอัญชันและมะกรูดเป็นการปลูกไว้ตามธรรมชาติและปลูกไว้
ทำอาหารเครื่องดืม่ อกี ทั้งยังปลูกไวเ้ พื่ออนรุ กั ษว์ ิ่งแวดลอ้ มอีกด้วย

2. ดา้ นปจั จยั
ผลการประเมินโครงการด้านปัจจัย น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ทำให้ประหยัด

ค่าใช้จ่ายไม่ต้องไปซ้ือน้ำยาเช็ดกระจกที่มีราคาแพง น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดมีราคาท่ีถูก
กว่าน้ำยาเช็ดกระจกท่ัวไป มีความเหมาะสมและกะทัดรัดเหมาะกับการใช้งานและเก็บได้ง่าย เป็นประโยชน์
ต่อคนในชุมชนช่วยให้คนในชุมชนประหยัดค่าใช้จ่าย ทำให้คนในชุมชนไม่ต้องเสียเงินซื้อน้ำยาเช็ดกระจกท่ีมี
ราคาแพง

3. ดา้ นกระบวนการ
ผลการประเมนิ โครงการด้านกระบวนการ ดอกอัญชันและมะกรูด เป็นวัตถุดิบท่ีหาได้ง่ายและเป็น

พืชที่ไม่ต้องซ้ือ หาได้ง่าย เพราะในชุมชน ในท้องถิ่นนิยมปลูก น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
ผลิตแบบธรรมชาติไม่ใช้สารเคมี ผลิตเองได้ง่ายเพราะผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ ใช้งานแล้วไม่แพ้สารเคมี
เหมาะสมกบั การใช้งานและทุกวยั ท่ีจะใชไ้ ม่มสี ารอนั ตรายทำให้แพ้และระคายเคือง

4. ดา้ นผลผลติ
ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด เช็ดกระจกได้

สะอาดทั้งทำความสะอาดฝุ่นที่เกาะออกได้ดี น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด มีกลิ่นหอมอ่อนๆ
จากมะกรดู ไม่มีแต่งกล่ินเป็นกลิ่นหอมจากธรรมชาติ ไม่มีสารเคมที ่ีเกดิ อันตรายไม่แพร้ ะคายเคือง ไม่มีสารเคมี
ปนเปอ้ื น จากการผลิตแบบธรรมชาติ

38

สรุปผลการประเมินโครงการ

ผลการประเมินโครงการหลังการดำเนินงานสรุปได้ว่า น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
เม่ือนำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันไปใช้ทำความสะอาดกระจกเงา ผลปรากฏวา่ กระจกเงา มีความเงาวาว
ไม่มีคราบสกปรกเหลืออยู่นอกจากน้ันน้ำมันหอมจากผิวมะกรูดยังมีสรรพคุณในการไล่แมลงต่างๆ รวมทั้งยุง
อกี ดว้ ย

ขอ้ เสนอแนะสำหรบั นำผลการประเมนิ ไปใช้ มดี งั นีค้ ือ

1. ควรโฆษณาให้ผู้คนรบั รแู้ ละเขา้ ถึงมากกว่าน้ี
2. นำน้ำหมกั ชวี ภาพจากดอกอญั ชันไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งอืน่ ได้ เชน่ ทำป๋ยุ บำบัดน้ำเสยี แก้ไขทอ่ ตนั กำจดั
กลน่ิ ลา้ งหอ้ งนำ้ เป็นต้น
3. นำพืชผกั ผลไม้ ดอกไม้ชนดิ อน่ื ท่ีมีอยู่ในท้องถนิ่ มาทำเป็นน้ำหมักชีวภาพ

ข้อเสนอแนะสำหรบั หัวขอ้ การประเมินต่อไป คือ

1. วิเคราะหว์ ตั ถุดิบในชุมชนท่มี ี
2. วางแผนและคำนวณการทำงาน
3. วางแผนการผลิต

บรรณานกุ รม

แนวคดิ และทฤษฎีดา้ นการบริหารจัดการ. (2562). [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://bit.ly/3nWHcmq
(วนั ที่คน้ ขอ้ มูล : 20 ตลุ าคม 2564).

แนวคิดทฤษฎกี ารเรยี นรู้. (2556). [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://bit.ly/2ZRZFYO
(วนั ทค่ี ้นขอ้ มูล : 20 ตลุ าคม 2564).

แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3bDuYt8
(วันทค่ี น้ ข้อมูล : 20 ตลุ าคม 2564).

น้ำยาเชด็ กระจกจากอัญชันและมะกรดู . (2561). [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://sites.google.com/
site/kailuet09/prawati-phu-cad-tha (วนั ทค่ี ้นข้อมลู : 17 ตลุ าคม 2564).

สรรพคณุ และประโยชน์ของดอกอัญชัน. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://bit.ly/3k5lDPv
(วนั ที่ค้นข้อมูล : 19 ตลุ าคม 2564).

สรรพคุณและประโยชนข์ องมะกรูด. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://bit.ly/3bIjaFP
(วันทคี่ น้ ข้อมลู : 19 ตลุ าคม 2564).

Unknown. (2557). โครงานวทิ ยาศาสตร์ [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://bit.ly/3bIhBHX
(วนั ที่ค้นข้อมูล : 18 ตลุ าคม 2564).

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

แบบประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด

42

คำชี้แจง แบบประเมนิ
โครงการนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู
*******************************************************************

แบบประเมินโครงการผมสวยดว้ ยแชมพมู ะกรดู มีจำนวน 3 ตอน ดงั น้ี
ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสัมภาษณไ์ ดแ้ ก่ เพศ อายุ อาชีพ

การศึกษา รายไดโ้ ดยเป็นแบบปลายเปดิ ให้เลอื กตอบในชอ่ งทก่ี ำหนด
ตอนท่ี 2 เปน็ แบบสัมภาษณป์ ระเมนิ โครงการ โดยใช้แบบประเมิน CIPP MODEL มี 4 ด้าน

จำนวน 12 ข้อ ดงั นี้
1. สภาวะดา้ นแวดลอ้ ม ( Context ) จำนวน 3 ข้อ
2. ดา้ นปจั จยั ( Input ) จำนวน 3 ข้อ
3. ด้านกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ
4. ดา้ นผลผลิต ( Product ) จำนวน 3 ข้อ
โดยในทง้ั 4 ด้าน ผู้ตอบสามารถเขยี นไดอ้ ยา่ งอิสระ
ตอนที่ 3 ปญั หาหรือขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั การดำเนนิ งานในการจดั ทำโครงการ โดยเป็นแบบ
ปลายเปิดใหเ้ ลือกเขยี นบรรยายในการตอบ

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ
อายุ .................. ปี
อาชีพ .................................................................................................
ระดับการศึกษา ..................................................................................
รายได้ .................................................................................................

ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณป์ ระเมินโครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด โดยใชแ้ บบประเมนิ
CIPP MODEL มี 4 ด้าน จำนวน 12 ข้อ

ดา้ นที่1 การประเมินบรบิ ทหรือสภาวะแวดล้อม
1.ดอกอัญชนั และมะกรดู ในทอ้ งถ่ินมเี พยี งพอตอ่ การทำน้ำยาเชด็ กระจก
................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................