รูป แบบการเขียนรายงานการปฏิบัติงาน

1. ความหมายของการเขยี นรายงาน “การเขยี นรายงาน” หมายถึ ง ก าร เขี ยนข้ อมูล ข่ าวส าร เรื่องราวท่ีผ่านการรวบรวมผลวิเคราะห์ ประเมินผล เพื่อนํามาเสนอเป็นข้อมูลท่ี น่าเชื่อถือ ผ่านรูปแบบการเขียนท่ีมีระบบ ระเบยี บวิธีทางการเขียนรายงาน

2. ความสาํ คัญของรายงาน “การเขียนรายงาน” รายงานเป็นเคร่ืองมือสําคั ญที่ทําให้องค์ กร หน่วยงานเกิดความรู้ความเข้าใจร่วมกัน เป็นการ ส ร้า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู ้ใ ห ม่ ที่ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ป รับ ป รุ ง เปลี่ยนแปลง สรา้ งสรรค์ และพฒั นาการปฏิบัติงานให้ มีประสทิ ธภิ าพ ทนั เหตกุ ารณ์ นอกจากน้ีผลการรายงานยังสามารถใช้เป็ น หลักฐานเอกสารอ้างอิง ดังนั้น รายงานที่ดีจะต้อง ละเอียด ทันสมัย มีหลักฐานและข้อเท็จจรงิ ท่ีแม่นยํา ชัดเจน เช่ือถือได้

3. ประเภทของรายงาน 3.1 รายงานเหตุการณ์ รายงาน รายงานเหตุการณ์เป็นการเขียนรายงานเพื่อ บรรยายเห ตุการณ์ ให้ ผู้ บังคั บบัญ ชาทราบถึ ง รายละเอียดของเหตุการณ์ ตลอดจนวิเคราะห์ สรุปผล และให้ข้อเสนอแนะอย่างครบถ้วนลงใน รายงาน การรายงานเหตุการณ์ประกอบด้วย 4 ส่วน สาํ คัญ ได้แก่ 1. ขน้ั สว่ นนํา 2. ขั้นเน้ือหา 3. ข้ันสรุปผล 4. ข้ันการให้ขอ้ เสนอแนะ

3. ประเภทของรายงาน 3.2 รายงานผลการปฏิบัติงาน รายงาน รายงานผลการปฏิบัติงานเป็นงานเขียนที่ไม่กําหนด รูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม ต้องเขียนให้มีรูปแบบสวยงาม คือ 1. รูปแบบการเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ควร ลําดับความสําคัญ เร่ิมท่ีรูปแบบตามที่หน่วยงานน้ัน ๆ กําหนด, เขียนในรูปของจดหมายหรอื บันทกึ ติดต่อ และเขียน ในรูปของรายงานขนาดส้ัน 2. วิธเี ขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ไพรถ เลิศพิรยิ ก มล (2543 : 128) ได้เสนอแนวทางการเขียนไว้ 2 ลักษณะ คือ เขียนอย่างละเอียดทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน และ เขียนแบบสรุปความ

3. ประเภทของรายงาน 3.3 รายงานการประชุม รายงาน ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม จั ด เป็ น ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร ประเภทหนึ่ง เลขานุการในแต่ละหน่วยงานเป็นผู้มี หน้าท่ีในการจดการประชุม และนําเสนอในรูปแบบ รายงานการประชุม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2554 : 999) ให้ความหมายของ การประชุม ไว้ว่า น. รายละเอียด หรอื สาระของการประชุมท่ีจดไว้ เปน็ ทางการ

3. ประเภทของรายงาน 3.3 รายงานการประชุม รายงาน ใน ก า ร ป ร ะ ชุ ม ผู้ เข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม จํ า เป็ น ต้ อ ง เข้าใจคําศัพทเ์ ฉพาะทใ่ี ช้ในการประชมุ เพ่ือช่วยให้ สามารถสอ่ื สารได้เข้าใจและตรงประเด็น ดังน้ี - การประชุมสมัยสามัญ - การประชมุ สมัยวสิ ามัญ - องค์ประชุม - ครบองค์ประชมุ - ญตั ติ - ระเบียบวาระการประชมุ - จดหมายเชญิ ประชุม

3. ประเภทของรายงาน 3.3 รายงานการประชุม รูปแบบรายงานการประชุม รายงาน

3. ประเภทของรายงาน 3.4 รายงานทางวิชาการ รายงาน หมายถึง การนําเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ซ่ึง ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ร้อ ย เรีย ง ข้ อ มู ล อ ย่ า ง มี แบ บ แ ผ น เกี่ยวกับวิชาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงช่วยให้ ผู้รับรายงานทราบผลของการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลอย่างเป็นระบบขั้นตอนของผู้จัดทํารายงาน สามารถนํามาใช้ในการอ้างอิงได้ อีกทั้งยังแสดง ถึงความรูค้ วามสามารถของผู้จัดทํารายงาน อัน จะนําไปสูก่ ารประเมินผลการปฏิบตั ิงานได้

สว่ นประกอบของรายงาน 1. สว่ นต้น 1. ปกนอก เปน็ หน้าบอกรายละเอียดเก่ียวกับชื่อรายงาน ชื่อผ้จู ัดทาํ รายงาน ชือ่ หน่วยงาน 2. ปกใน เปน็ หน้าซง่ึ มีรายละเอียดเชน่ เดียวกับปกนอกแต่ เปน็ กระดาษปอนด์ 3. คํานํา หน้าคํานําจะกล่าวถึงจดุ ประสงค์ ขอบเขต และ อาจกล่าวถึงวิธดี ําเนินการรวบรวมข้อมูลด้วยก็ได้ 4. สารบัญ เปน็ หน้าบอกรายการ หัวขอ้ เรอ่ื งตามลําดับที่ ปรากฏในรายงาน พรอ้ มทง้ั ระบุลําดับหน้าไว้

ส่วนประกอบของรายงาน 2. ส่วนกลาง 1. เน้ือหาส่วนต้น มักกล่าวเกรนิ่ ถึงความเปน็ มาของปัญหา สภาพการณ์ ทวั่ ๆ ไปทป่ี รากฏในด้านต่าง ๆ 2. เน้ือหาส่วนกลาง สาระสาํ คัญของรายงาน ในสว่ นน้ีควรมีการอ้างอิง ขอ้ มูลหลักฐานทไี่ ด้จากการค้นควา้ และสํารวจ 3. เนื้อหาสว่ นทา้ ย บทสรุปและข้อเสนอแนะทผี่ ูจ้ ัดทาํ รายงานมงุ่ เน้นให้ผมู้ ี อํานาจสั่งการและเกี่ยวขอ้ งได้พจิ ารณาเปน็ พิเศษ

ส่วนประกอบของรายงาน 3. สว่ นท้าย 1. บรรณานุกรม เปน็ รายช่ือเอกสาร หนังสอื ต่าง ๆ ทใี่ ช้ประกอบหรอื อ้างอิงในการจัดทาํ รายงาน 2. ภาคผนวก เปน็ ข้อมูลต่าง ๆ ทเี่ พมิ่ เติมนอกเหนือจากสาระสาํ คัญ ของรายงาน 3. ดรรชนี คือ บญั ชคี ําต่าง ๆ ทปี่ รากฏในรายงาน ระบุวา่ คําใดอยู่ หน้าใดบ้าง เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผู้อ่านในการ ค้นหาคําสาํ คัญ ๆ ในรายงานนั้น

สรุปทา้ ยบท การเขียนรายงานถือเป็นส่วนสําคัญส่วนหน่ึงใน ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ทุ ก อ ง ค์ ก ร ผู้ เ ขี ย น ร า ย ง า น จําเป็นต้องมีทักษะทางการสื่อความ จากนั้นกําหนด รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะของรายงาน แล้วจึง ลงมือเขียนโดยเลือกใช้ภาษาที่ส่ือความอย่างตรง ประเด็นและชัดเจน การเขียนรายงานท่ีดี ย่อมจะ ชว่ ยแสดงผลของการปฏิบัติงานให้เปน็ ทปี่ ระจักษ์ได้

วิชา ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี

รหัสวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง

 ขอบคุณเครดติ ภาพ : https://www.freepik.com

หนว่ ยที่ ๑๒

การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน

 ขอบคณุ เครดติ ภาพ : https://www.freepik.com

รายงานการปฏิบัติงานเป็นหลักฐานการปฏิบัติงาน
ท่ีมีข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติ
หรือรับผิดชอบ เพื่อให้ผู้ท่ีมอบหมายหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ได้ทราบขอ้ เทจ็ จริง อนั จะนาไปสู่การพัฒนางาน

๑๒.๑ ความหมายของรายงานการปฏบิ ตั งิ าน

ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความหมายว่า
รายงาน หมายถึง บอกเรื่องของการงาน

ปฏิบตั ิ หมายถึง ดาเนินการไปตามระเบียบแบบแผน

งาน หมายถึง สิ่งหรอื กจิ กรรมทที่ า

นวภรณ์ อุ่นเรือน (ม.ป.ป. : ๑๓๖) ให้ความหมายว่า
รายงานการปฏิบัติงาน หมายถึง การชี้แจงด้วยการแสดง
ข้อมูลต่าง ๆ ที่ตนได้ปฏิบัติหรือรับผิดชอบอยู่ให้บุคคลอ่ืนได้
ทราบข้อเท็จจริง เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติงาน หรือ
ประกอบการตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข้อมูลนั้นอาจ
เป็นข้อมูลดิบหรือข้อมูลเชิงสถิติท่ีแปลความหมายออกมา
เปน็ ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพหรอื อนื่ ๆ

จากความหมายดงั กลา่ วสรุปไดว้ า่
รายงานการปฏบิ ัติงาน หมายถึง การบอกขอ้ มลู เกย่ี วกับ
เรื่องต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติ หรือรับผิดชอบ
เพ่ือให้ผู้ท่ีมอบหมายหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ
ข้อเทจ็ จรงิ อนั จะนาไปสู่การพฒั นางาน

๑๒.๒ ประเภทของรายงานการปฏบิ ัติงาน

รายงานการปฏบิ ัติงานแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังน้ี

๑๒.๒.๑ รายงานแบบธรรมดา

๑๒.๒.๒ รายงานแบบพเิ ศษ

๑๒.๒.๑ รายงานแบบธรรมดา

เป็นรายงานท่ีทาตามระยะเวลาที่กาหนดไว้อย่าง
สม่าเสมอ อาจทาเป็นรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห์
รายเดือน รายปี เพ่ือแสดงความก้าวหน้าหรือความสาเร็จ
ในการปฏิบัติงาน เช่น รายงานงบประมาณประจาปี
ของหน่วยงานต่าง ๆ รายงานความก้าวหน้าของโครงการ
ทดลองตา่ ง ๆ

ตวั อย่าง
รายงานแบบธรรมดา

ตวั อย่าง
รายงานแบบธรรมดา

ตวั อย่าง
รายงานแบบธรรมดา

ตวั อย่าง
รายงานแบบธรรมดา

ตัวอยา่ ง
รายงานแบบธรรมดา
รายงานความก้าวหน้า
โครงการวิจัย

 ขอบคุณเครดติ ภาพ :
http://www.elfar.ssru.ac.th/junjira_mo/pluginfile.php/61/block_html/conten

ตัวอยา่ ง
รายงานแบบธรรมดา
รายงานความก้าวหน้า
โครงการวิจัย

 ขอบคุณเครดติ ภาพ :
http://www.elfar.ssru.ac.th/junjira_mo/pluginfile.php/61/block_html/conten

ตัวอยา่ ง
รายงานแบบธรรมดา
รายงานความก้าวหน้า
โครงการวิจัย

 ขอบคุณเครดติ ภาพ :
http://www.elfar.ssru.ac.th/junjira_mo/pluginfile.php/61/block_html/conten

ตวั อย่าง
รายงานแบบธรรมดา
รายงานประจาปี

 ขอบคณุ เครดิตภาพ : http://acad.msu.ac.th/report-year.html

๑๒.๒.๒ รายงานแบบพิเศษ

รายงานแบบพเิ ศษ เป็นรายงานท่ีจัดทาขึน้ เปน็ คร้ังคราว

ตามความจาเป็นและความต้องการเพอ่ื แสดงรายละเอยี ดของ

การวเิ คราะหอ์ ดตี หรือปจั จบุ นั เพ่ือกาหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิ

ในอนาคต เช่น รายงานการสารวจตลาดของ บริษัท ต่าง ๆ

รายงานผลการสารวจแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ

ตัวอยา่ งรายงานแบบพเิ ศษ

รายงานการสารวจแหลง่
ทรัพยากร

ขอบคณุ เครดติ ภาพ : file:///C:/Users/User/Downloads/1Survey2.pdf

ตัวอยา่ งรายงานแบบพเิ ศษ

รายงานการสารวจแหล่ง
ทรัพยากร

ขอบคณุ เครดิตภาพ : file:///C:/Users/User/Downloads/1Survey2.pdf

ตวั อยา่ งรายงานแบบพเิ ศษ

รายงานการสารวจแหล่ง
ทรพั ยากร

ขอบคณุ เครดิตภาพ : file:///C:/Users/User/Downloads/1Survey2.pdf

๑๒.๓ รปู แบบการนาเสนอรายงานการปฏิบตั ิงาน

ก า ร เ ส น อ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เ พ่ื อ เ ส น อ ใ ห้ ผู้ ที่

มอบหมาย หรอื ผทู้ ี่มีส่วนเกีย่ วข้องไดร้ บั ทราบมวี ธิ ีเสนอ ดงั น้ี

๑๒.๓.๑ เสนอรายงานดว้ ยวาจา

๑๒.๓.๒ เสนอรายงานเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร

๑๒.๓.๑ เสนอรายงานดว้ ยวาจา

เสนอรายงานด้วยวาจาเป็นการบรรยายหรืออธิบายผล

การปฏิบัติต่อหน้าผู้ฟัง อาจใช้อุปกรณ์ประกอบการรายงาน

เพ่ือสร้างความน่าสนใจ และควรเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถาม

หรือแลกเปล่ยี นความคิดเห็น

ตัวอยา่ ง เสนอรายงานดว้ ยวาจา

ขอบคณุ เครดิตภาพ : https://agrosum14.weebly.com/
https://www.tistr.or.th/tistr/newsboard/shownews.php?Category=newsboard&No=512

๑๒.๓.๒ เสนอรายงานเป็นลายลักษณ์อกั ษร

เสนอรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นการรายงานผล

การปฏิบัติงานที่เป็นทางการ มีรูปแบบการเขียนท่ีชัดเจนอาจ

เขียนเปน็ บันทกึ ข้อความ จดหมาย บทความ แบบฟอรม์ หรือ

เขียนรายงานเชิงวชิ าการ

ตัวอยา่ ง การเสนอรายงานเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร

ขอบคุณเครดติ ภาพ : http://online.anyflip.com/hzvur/cqdi/mobile/index.html
https://www.mdh.go.th/view.php?article_id=5539

ตวั อย่าง รปู แบบรายงานการปฏบิ ตั งิ านแบบบันทกึ ข้อความ

๑๒.๔ ลกั ษณะของรายงานการปฏิบตั ิงาน

รายงานการปฏิบัติงานแบ่งได้เปน็ หลายลักษณะตามงาน
ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ดงั นี้

๑๒.๔.๑ รายงานท่วั ไป
๑๒.๔.๒ รายงานเหตุการณ์
๑๒.๔.๓ รายงานความกา้ วหน้า
๑๒.๔.๔ รายงานความเปน็ ไปได้

๑๒.๔.๑ รายงานทั่วไป

รายงานทั่วไปเป็นรายงานข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น

เหตุการณ์ต่าง ๆ ความเคลื่อนไหวหรือสถานการณ์ที่ดาเนิน

ไปแล้วหรือกาลังดาเนินการอยู่ หรือจะดาเนินต่อไป

ให้ผู้สนใจได้ทราบ อาจเสนอเป็นลายลักษณ์อักษรหรือด้วย

วาจาก็ได้

๑๒.๔.๒ รายงานเหตุการณ์

รายงานเหตุการณ์เป็นรายงานท่ีใช้เสนอข้อเท็จจริงท่ี

เกิดข้ึน ซ่ึงเป็นผลทาให้เกิดความเสียหาย เช่น อุบัติเหตุ

ในโรงงาน เครื่องจักรชารุด การทางานล่าช้า ค่าใช้จ่ายสูง

จานวนผลผลิตต่า ปัญหาบุคลากร เป็นต้น รายงานชนิดนี้

ให้ข้อมลู ครบถว้ นและเสนอขอ้ มูลตรงไปตรงมา

๑๒.๔.๒ รายงานเหตกุ ารณ์

ไม่ใช่ภาษาที่แสดงความรู้สึกหรืออารมณ์ ซ่ึงจะทาให้

รายงานน้ันไม่เที่ยงตรง ข้อมูลท่ีได้จากรายงานจะใช้เป็น

พน้ื ฐานในการตีความเพ่ือตดั สินใจ เป็นหลกั ฐานตามกฎหมาย

หรือเป็นส่วนประกอบในการเขียนรายงานอื่น ซ่ึงเป็น

ประโยชนแ์ ก่การพัฒนาองคก์ รต่อไป

๑๒.๔.๓ รายงานความก้าวหน้า

รายงานความก้าวหน้าใช้อธิบายแก่บุคคลหรือบริษัท

เก่ียวกับงานที่ได้ทาไปแล้ว ปัญหาและอุปสรรคที่ทาให้ล่าช้า

และงานทีจ่ ะดาเนินการต่อไป รายงานแบบน้ีช่วยให้ผู้ร่วมงาน

ท่ีทางานในส่วนอื่น ๆ สามารถปรับแผนงาน วิธีทางาน และ

กาลังคนได้

๑๒.๔.๔ รายงานความเปน็ ไปได้

เม่ือหน่วยงานมอบหมายให้บุคคลในหน่วยงานพิจารณา

โครงการใหม่ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ หรอื ซือ้ เครอ่ื งจกั รใหม่ บคุ คลนั้น

ต้องพจิ ารณาความเป็นไปไดใ้ นการจดั การสิ่งเหล่านี้ การเขียน

รายงานต้องแสดงหลักฐานการตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อสรุป

หรือข้อเสนอแนะแก่หนว่ ย

๑๒.๔.๕ รายงานการทดลอง

ในการทดลองวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองจะต้องรายงานโดยบอก

จุดประสงค์ วิธีการหรือกระบวนการทดลอง ระบุผลการทดลอง
สรุปผลและข้อเสนอแนะ แต่ในการปฏิบัติงานภาคอุตสาหกรรมหรือ
ภาคธุรกิจ นอกจากการทดลองแล้ว อาจมีการทดสอบและเขียน
รายงานอย่างเดียวกันได้ การรายงานจะเขียนในรูปบันทึกข้อความ
มากกวา่ จะกาหนดแบบฟอร์มตายตวั

๑๒.๔.๖ รายงานการทางานภาคสนาม

รายงานการทางานภาคสนามใช้ในกรณีท่ีออกไปทางาน

นอกสถานที่ เชน่ วศิ วกรออกสารวจพืน้ ที่นักธุรกิจท่ีไปดูงาน

หรือตรวจงาน หาที่ตั้งโรงงาน นักการตลาดออกสารวจ

ข้อมลู การวางสนิ ค้า

๑๒.๕ วิธีการเขยี นรายงานการปฏบิ ตั งิ าน

รูปแบบการเขียนรายงานการปฏิบัติงานมีท้ังแบบ

ธรรมดาและแบบพเิ ศษ สามารถเขียนรายงานได้ ๒ วิธี ดงั นี้

๑๒.๕.๑ การเขยี นรายงานอยา่ งสนั้ (ไม่เป็นทางการ)

๑๒.๕.๒ การเขียนรายงานอย่างยาว (เป็นทางการ)

๑๒.๕.๑ การเขยี นรายงานอยา่ งส้นั

(ไม่เปน็ ทางการ)
การเขียนรายงานอย่างสั้นหรือไม่เป็นทางการเป็น
รายงานสั้น ๆ เก่ียวกับข้อเท็จจริงข้อคิดเห็น การชี้แจง
เร่ืองราว การขออนุญาตเพื่อดาเนินการ เพื่อพิจารณาส่ังการ
โดยอาจเขียนในรูปของบันทึกข้อความจุดหมาย บทความ
หรือแบบฟอร์มตามท่ีหน่วยงานกาหนด มีองค์ประกอบใน
การเขียน ดังน้ี

องคป์ ระกอบในการเขยี นรายงานอยา่ งส้นั
(ไม่เปน็ ทางการ)

๑. ส่วนนา เขียนถึงสาเหตุหรือจุดมุ่งหมายในการ
ปฏิบัติงาน เช่น ได้รับคาส่ังจากใครให้ไปทาอะไร เม่ือใด
ที่ไหน

องค์ประกอบในการเขยี นรายงานอยา่ งสนั้
(ไม่เป็นทางการ)

๒. ส่วนเนื้อหา เขียนถึงข้อมูลสาคัญของเรื่องท่ีต้องการ
รายงานโดยระบุขอบเขตของเร่ืองท่ีเขียนว่ามีขอบข่าย
รายละเอียดครอบคลุมถึงเร่ืองอะไรบ้าง แล้วเสนอแนะตาม
ขอบเขตของเร่ืองท่ีเขียนนอกจากนั้น อาจเพิ่มความคิดเห็น
สว่ นตวั ของผเู้ ขยี นเองดว้ ยกไ็ ด้

องคป์ ระกอบในการเขียนรายงานอย่างสน้ั
(ไม่เปน็ ทางการ)

๓. ส่วนลงท้าย กล่าวสรุปผลของรายงานอาจมี
ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์หรือแนวทางในการแก้ปัญหา
จบด้วยการเขียนลักษณะเดียวกับจดหมายหรือบันทึก
ข้อความ เช่น จึงเรียนมาเพื่อทราบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรด
พิจารณาอนุญาต จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาส่ังการ
แลว้ ลงชอ่ื ผู้เสนอรายงาน

๑๒.๕.๒ การเขยี นรายงานอยา่ งยาว

(เปน็ ทางการ)

การเขยี นรายงานอย่างยาวหรือเป็นทางการเป็นรายงาน
ขนาดยาว มีรูปแบบการเขียนตามหลักวิชาการสามารถ
ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติและเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้
จัดทาเป็นรปู เล่ม มีองคป์ ระกอบในการเขียน ดงั น้ี

องค์ประกอบในการเขยี นรายงานอย่างยาว
(เป็นทางการ)

๑. ส่วนประกอบตอนต้น ได้แก่ ปกนอก ใบรองปก
ปกใน คานา สารบัญเรื่องสารบัญตาราง (ถ้ามี) สารบัญภาพ
(ถ้าม)ี บทคัดย่อหรือบทสรุปสาระสาคัญของรายงานทง้ั หมด

ตัวอย่างหนา้ ปก

ขอบคุณเครดติ ภาพ : https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2020/03

ตัวอย่างคานา

ขอบคณุ เครดิตภาพ : https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2020/03

ตวั อย่างสารบรรณ

ขอบคุณเครดิตภาพ : https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2020/03

องคป์ ระกอบในการเขียนรายงานอยา่ งยาว
(เปน็ ทางการ)

๒. ส่วนเน้อื หา ไดแ้ ก่
(๑) บทนา เป็นการบอกให้ทราบสาเหตุของการทา

รายงาน วตั ถปุ ระสงค์ และประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ

องคป์ ระกอบในการเขยี นรายงานอย่างยาว
(เปน็ ทางการ)

๒. ส่วนเนอื้ หา ได้แก่
(๒) เน้ือเร่ือง อาจแบ่งออกได้หลายบทตาม

ประเด็นการเขียนรายงาน เนื้อเรอื่ งเป็นรายละเอียดของงานที่
ปฏิบัติ ประกอบด้วย ข้อเท็จจริง บทวิเคราะห์ ภาพประกอบ
ตาราง แผนภมู ิ

(๓) บทสรุปและข้อเสนอแนะ

องคป์ ระกอบในการเขียนรายงานอยา่ งยาว
(เป็นทางการ)

๓. ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ บรรณานุกรม
ภาคผนวก ดัชนี

๑๒.๖ ภาษาทใี่ ช้ในการเขียนรายงานการปฏิบตั ิงาน

ภาษาทีใ่ ช้ในการเขยี นรายงานการปฏบิ ตั ิงาน มดี ังนี้
๑. ใช้ภาษาเขียนทเี่ ป็นแบบแผน
๒. เขียนใหก้ ระชับ ตรงประเด็น
๓. ใช้ภาษาและถ้อยคาสานวนท่ีคงเส้นคงวา

ไม่เปลี่ยนไปเปล่ยี นมา
๔. เขยี นตวั สะกดถูกตอ้ งตามหลกั การเขยี น

๑๒.๗ ประโยชน์ของการเขียนรายงานการปฏิบัตงิ าน

การเขียนรายงานการปฏิบัติงานจะเป็นประโยชน์ในการ
ปรับปรุงและพัฒนางานที่กาลังดาเนินการอยู่ หรือจะ
ดาเนนิ งานครัง้ ตอ่ ไป ซ่ึงประโยชนม์ ดี ังน้ี

๑๒.๗ ประโยชนข์ องการเขียนรายงานการปฏิบัตงิ าน

๑. ใช้กากับดูแลงานประจา โดยนามาใชใ้ นการทบทวน
วา่ มีผ้ปู ฏบิ ตั งิ านตามแผนท่ีวางไวห้ รอื ไม่

๒. ทาให้ทราบเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวของการ
ดาเนินงานทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมท้ังปัญหาและอุปสรรค
ในการปฏิบัติงาน เพื่อนามาปรับปรุงแผนงานในการ
บริหารงานตอ่ ไป


การเขียนรายงานการปฏิบัติงานมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

การนำเสนอรายงานการปฏิบัติงาน : มี ๒ ลักษณะได้แก่ ๑. รายงานปากเปล่า (เช่นการายงานในที่ประชุม) ๒. รายงานเป็นลายลักษณ์อักษร (นิยมมากเพราะใช้เป็นหลักฐานได้)

ข้อใดคือรูปแบบของการเขียนรายงานการปฏิบัติงาน

รูปแบบของการเขียนรายงานการปฏิบัติงาน.
มีความยาวมาเกิน ๑๐ หน้า.
ใช้ในโอกาสเร่งด่วนกับเรื่องราวที่ไม่เป็นทางการนัก.
นิยมเขียนสนรูปบันทึก เป็นการภายใน หรือในรูปแบบของจดหมาย.

เขียนรายงานปฏิบัติงานคืออะไร

การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน เป็นการเขียนเพื่อนาเสนอสิ่งที่ได้ปฏิบัติหรือพบ เห็นต่อ ผู้บังคับบัญชา หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน อาจมีผลต่อการท างานในองค์กรทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน รวมถึงต่อผู้บริหาร หรือ ผู้เกี่ยวข้องอย่างใดอย่างหนึ่ง

การเขียนรายงานการปฏิบัติงานมีส่วนประกอบกี่ส่วนประกอบ

การประเมินผล ส่วนประกอบของรายงานการค้นคว้าทั่วไปแบ่งได้ 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วน ประกอบตอนท้าย ดังนี้ ส่วนประกอบตอนต้น เป็นส่วนประกอบที่อยู่ตอนต้นเล่มของรายงานก่อนถึงเนื้อเรื่องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้