การหมุนเวียนของอากาศ มีอะไรบ้าง

ชั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หน่วย ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

ชั่วโมง การหมุนเวียนของอากาศบนโลก ,การแบ่งเขตการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด

เรื่อง การหมุนเวียนของอากาศบนโลก ,การแบ่งเขตการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด

ปรากฏการณ์ของบรรยากาศทางอุตุนิยมวิทยา ที่เกิดขึ้นนั้นล้วนแล้วเกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนส่วนใหญ่ของอากาศ ในบรรยากาศชั้นโทรพอสเฟียร์(Large scale general circulation) ทฤษฏีของระบบการหมุนเวียนนี้ นับเป็นเรื่องยุ่งยากที่สุดเรื่องหนึ่งในการศึกษาอุตุนิยมวิทยา เนื่องจากสาเหตุการเกิดมาจากปัจจัยที่สำคัญหลายอย่าง คือ

  • อิทธิพลของความร้อนการได้รับความร้อนที่แตกต่างกันของพื้นโลกทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของมวลอากาศ
  • แรงเฉที่เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก( coriolis force)ทำให้เกิดการเบี่ยงเบนทิศทางของกระแสลม
  • คุณสมบัติของพื้นทวีปและมหาสมุทรทำให้เกิดความแตกต่างของอุณหภูมิของแผ่นดิน และพื้นน้ำตามฤดูกาลที่เปลี่ยนไปในฤดูหนาวบริเวณผืนแผ่นดิน จะมีความเย็นมากกว่าบริเวณพื้นน้ำ ส่วนใน ฤดูร้อนบริเวณแผ่นดิน จะมีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณพื้นน้ำ และโดยเหตุที่พื้นโลกมีเนื้อที่เป็นพื้นน้ำและแผ่นดินไม่เท่ากันการหมุนเวียนของบรรยากาศส่วนใหญ่ จึงมีลักษณะยุ่งยากมากยิ่งขึ้น
    นอกจากนี้ความแตกต่างของอุณหภูมิ ยังทำให้เกิดความแตกต่างของความกดอากาศขึ้นในฤดูหนาวความกดอากาศสูงจะเกิดขึ้นเหนือพื้น แผ่นดินของทวีป และในฤดูร้อนความกดอากาศสูงจะเกิดขึ้นเหนือพื้นน้ำบริเวณมหาสมุทร
  • สมดุลความร้อนของโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
    ภาวะสมดุลความร้อนของโลก เกิดจากการที่โลกได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์เท่าไรก็สะท้อนกลับออกไปเท่านั้น โดยคงเก็บความร้อนไว้ในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์ ที่เกิดจากดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเล็ตของก๊าซโอโซนใว้ ทำให้เกิดความอบอุ่นในบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก มีภาวะที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์สัตว์และพันธุ์ไม้

        แถบความกดอากาศต่ำกึ่งขั้วโลก (Subpolar low) ที่บริเวณละติจูดที่ 60° เป็นเขตอากาศยกตัว เนื่องจากอากาศแถบความกดอากาศสูงกึ่งศูนย์สูตร (H) เคลื่อนตัวไปทางขั้วโลก ถูกแรงโคริออริสเบี่ยงเบนให้เกิดลมพัดมาจากทิศตะวันตก เรียกว่า “ลมเวสเทอลีส์” (Westerlies) ปะทะกับ “ลมโพลาร์อีสเทอลีส์” (Polar easteries) ซึ่งพัดมาจากทิศตะวันออก โดยถูกแรงโคริออริสเบี่ยงเบนมาจากขั้วโลก มวลอากาศจากลมทั้งสองมีอุณหภูมิแตกต่างกันมาก ทำให้เกิด ”แนวปะทะอากาศขั้วโลก” (Polar front) มีพายุฝนฟ้าคะนอง อากาศชั้นบนซึ่งสูญเสียไอน้ำไปแล้วจะเคลื่อนตัวไปยังจมตัวลงที่เส้นรุ้งม้าและบริเวณขั้วโลก ทำให้เกิดภูมิอากาศแห้งแล้ง 

การหมุนเวียนของอากาศมีกี่แบบ อะไรบ้าง

โลกมีความกดอากาศแตกต่างกันในแต่ละบริเวณ รวมทั้งอิทธิพลจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้อากาศในแต่ละซีกโลกเกิดการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด แบ่งออกเป็น 3 แถบ โดยแต่ละแถบมีภูมิอากาศแตกต่างกัน ได้แก่ การหมุนเวียนแถบขั้วโลกมีภูมิอากาศแบบหนาวเย็น การหมุนเวียนแถบละติจูดกลางมีภูมิอากาศแบบอบอุ่น และการหมุนเวียนแถบเขตร้อนมี ...

ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการหมุนเวียนของอากาศ

การหมุนเวียนของอากาศเกิดขึ้นจากความกดอากาศที่แตกต่างกันระหว่างสองบริเวณ โดยอากาศเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนในการเคลื่อนที่ของอากาศในแนวราบ และเมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของอากาศในแนวดิ่งจะพบว่าอากาศเหนือบริเวณความกดอากาศต่ำจะมีการยกตัวขึ้น ขณะที่อากาศเหนือบริเวณ ...

การหมุนเวียนอากาศในแนวราบทำให้เกิดสิ่งใด

ลมคือการเคลื่อนที่ของอากาศในแนวราบ สำหรับการเคลื่อนที่ของกาศในแนวดิ่งเรียกว่ากระแสอากาศ สาเหตุของการเกิดลเนื่องจาก เกิดความแตกต่างของความกดอากาศในแต่ละพื้นที่ ทำให้เกิดกระแสลมเคลื่อนที่จากที่ที่มีความกดอาการสูงไปสู่พื้นที่ที่มีความกดอากาศต่ำ แบ่งประเภทของลมตามระดับความสูงจากระดับพื้นดิน ได้ดังน

การหมุนเวียนอากาศแถบขั้วโลกเกิดบริเวณใด

เอเชียตะวันออก และแปซิฟิก 2. กระแสลมกรดบริเวณขั้วโลก (Polar Jet ) เกิดในละติจูด45 ถึง60 องศาเหนือและใต้ มักเกิดที่ระดับความสูง8 ถึง10 กิโลเมตร พบได้ใกล้แนวปะทะอากาศขั้วโลกซึ่งเกิดจากอากาศหนาวจากขั้วโลกเคลื่อนที่มาพบกับอากาศอุ่นจากเขตร้อนและอยู่เหนือแนว